จากสถานการณ์ภัยแล้งที่ทวีความรุนแรงตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2562 มีแนวโน้มขยายวงกว้างอย่าง ต่อเนื่อง ทำให้พื้นที่ตำบลนามะเขือประสบปัญหา แหล่งน้ำผิวดินแห้งขอด ขุ่น และเป็นพื้นที่ที่ไม่มีแม่น้ำสาย ใหญ่ไหลผ่าน ไม่มีแหล่งน้ำผิวดินขนาดใหญ่ ซึ่งประชาชนอาศัยใช้น้ำ...
ขอบเขตของงานxxxxก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยxxxxอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
1. ความเป็นมา
จากสถานการณ์ภัยxxxxxxxxxxความรุนแรงตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2562 มีแนวโน้มขยายวงกว้างอย่าง ต่อเนื่อง ทำให้พื้นที่ตำบลนามะเขือประสบปัญหา แหล่งน้ำผิวดินแห้งขอด ขุ่น และเป็นพื้นที่ที่ไม่มีแม่น้ำสาย ใหญ่ไหลผ่าน ไม่มีแหล่งน้ำผิวดินขนาดใหญ่ ซึ่งประชาชนอาศัยใช้น้ำ จากลำห้วย หนอง xxxx บึง ตาม xxxxxxxxส่งผลให้ประชาชนได้รับความxxxxxxxxxหนัก ไม่มีแหล่งน้ำเพียงพอในการผลิตระบบประปาหมู่บ้าน ที่ ผ่านมาองค์การบริหารส่วนตำบลนามะเขือ xxxxxxxxxแก้ไขปัญหาความขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคตลอดมา แต่กลับพบว่าแหล่งน้ำxxxxxxxxxxในการผลิตประปาให้กับหมู่บ้านในความดูแลได้ ด้วยข้อจำกัดของน้ำบาดาล ในพื้นที่ตำบลนามะเขือซึ่งบางส่วนสะสมตัวอยู่ในชั้นตะกอนxxxxxxxxวางxxxxxxxบนหมวดหินมหาสารคาม ที่ทำให้ เกิดปัญหาน้ำบาดาลมีคุณภาพกร่อย xxxx xxxxxxxxxxxx หากต้องการพัฒนาน้ำบาดาลให้ได้น้ำจืด ต้องอาศัย ข้อมูลจากการสำรวจธรณีฟิสิกส์โดยการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ (Resistivity survey) น้ำบาดาลใน พื้นที่ศึกษาสะสมอยู่ระดับตื้นๆที่เป็นชั้นน้ำไร้แรงดัน (Unconfined Aquifer) ซึ่งได้รับxxxxxไปเติมชั้นน้ำ โดยตรงดังนั้น การพัฒนาน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ประโยชน์ในพื้นที่ดังกล่าว ต้องใช้ความรู้ในหลายแขนง ทั้งความรู้ ด้านธรณีวิทยา อุทกธรณีวิทยา ธรณีฟิสิกส์ และความรู้ด้านวิศวกรรมในการออกแบบระบบประปาบาดาล ขนาดใหญ่ จำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้และเทคโนโลยีจากหน่วยงานที่มีความxxxxxxxxxเฉพาะ คือ กรม ทรัพยากรน้ำบาดาล เพื่อให้มีน้ำบาดาลเป็นแหล่งน้ำต้นทุนxxxxxxxxxและเพียงพอสำหรับความต้องการในการ ผลิตประปาหมู่บ้าน xxxxxxแก้ไขปัญหาความขาดแคลนน้ำทั้งในด้านการอุปโภค บริโภค ให้กับพื้นที่ตำบลนา มะเขือ ทั้ง 11 หมู่บ้าน ประชากรได้รับประโยชน์กว่า 1,632 ครัวเรือน หรือประมาณ 6,620 คน
สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จึงได้จัดทำ “โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่ แก้ปัญหาภัยxxxxอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม” เพื่อ
ออกแบบและพัฒนาระบบประปาบาดาลขนาดใหญ่ โดยxxxxxความต้องการใช้น้ำและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้ำบาดาลสำหรับอุปโภค บริโภค และแนวทางการบริหารจัดการน้ำบาดาล ที่มุ่งเน้นการใช้ น้ำบาดาลในเชิงxxxxxxxx ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีxxxxxxxxxxxxxxx xxxxในภาครัฐและเอกชนเพื่อช่วย xxxxxxและแก้ไขปัญหาความขาดแคลนน้ำของประชาชนในพื้นที่อย่างยั่งยืนต่อไป
2. วัตถุประสงค์
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี มีความxxxxxxxจะxxxxxxx ก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยxxxxอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (งบกลาง) เพื่อให้การxxxxxxความxxxxxxxxxแก่ราษฎรจากภาวะวิกฤติภัยxxxx xxxเข้าถึงแหล่งน้ำอย่างxxxxxxxxxxxxxx ทัน ต่อสถานการณ์ภาวะวิกฤติภัยxxxxxxxได้อย่างxxxxxxxxx ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย จากการเข้าถึงแหล่งน้ำสะอาด มั่นคง เพื่อการอุปโภคบริโภค และxxxxพระราชxxxxxx พระบาทสมเด็จxxx xxxxอยู่หัว ทรงสืบสาน รักษา xxxxxx โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนครพนม
3. คุณสมบัติผู้ยื่นข้อเสนอ
3.1 มีความxxxxxxตามกฎหมาย
2.2 ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
3.3 ไม่อยู่ระหว่างเลิกกิจการ
3.4 ไม่เป็นบุคคลซึ่งอยู่ระหว่างถูกระงับการยื่นข้อเสนอหรือทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐ ไว้ ชั่วคราวเนื่องจากเป็นผู้xxxxxxผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการตามxxxxxxxxxx รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามที่ประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของ กรมบัญชีกลาง
3.5 ไม่เป็นบุคคลซึ่งถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานและได้แจ้งเวียนชื่อให้เป็นผู้ทิ้งงานของ หน่วยงานของรัฐในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง ซึ่งรวมถึงนิติบุคคลที่ผู้ทิ้งงานเป็นหุ้นส่วน ผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้xxxxxxxในการxxxxxxงานในกิจการของนิติบุคคลนั้นด้วย
3.6 มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามที่คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อxxxxxxxและ การบริหารพัสดุภาครัฐกำหนดในราชกิจจานุเบกษา
3.7 เป็นนิติบุคคล ผู้มีอาชีพรับจ้างงานที่ประกวดราคาด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว
3.8 ไม่เป็นผู้มีxxxxxxxxxxร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่นที่เข้ายื่นข้อเสนอให้แก่กรมทรัพยากรน้ำ บาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี ณ วันประกาศประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่ เป็นผู้กระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ในการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้
3.9 ไม่เป็นผู้ได้รับxxxxxxxxxหรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้นศาลไทย เว้นแต่รัฐบาล ของผู้ยื่นข้อเสนอxxxxxxxสั่งให้สละxxxxxxxxxและความxxxxxxxxxxxว่านั้น
3.10 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องมีผลงานก่อสร้างประเภทเดียวกันกับงานด้านก่อสร้างระบบประปาบาดาล (ผลงานก่อสร้างจะต้องใช้แหล่งน้ำต้นทุนมาจากน้ำบาดาล) ซึ่งผลงานดังกล่าวของผู้รับจ้างต้องเป็นผลงานไม่เกิน 5 ปี ในสัญญาเดียวเท่านั้น วงเงินไม่น้อยกว่า 25,000,000.00 (ยี่สิบห้าล้านบาทถ้วน) เป็นสัญญาที่ผู้รับจ้างได้ ทำงานแล้วเสร็จxxxxxxxxซึ่งได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว และเป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญา โดยตรงกับหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานเอกชนที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลเชื่อถือ
3.11 ผู้ยื่นข้อเสนอที่ยื่นข้อเสนอในรูปแบบของ “กิจการร่วมค้า” ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
กรณีที่ข้อตกลงฯ กำหนดให้ผู้เข้าร่วมค้ารายใดรายหนึ่งเป็นผู้เข้าร่วมค้าหลัก ข้อตกลงฯจะต้อง มีการกำหนดสัดส่วนหน้าที่และความรับผิดชอบในปริมาณงาน สิ่งของ หรือxxxxxxxxxxxxxxของผู้เข้าร่วมค้า หลักมากกว่าผู้ร่วมค้ารายอื่นทุกราย
กรณีที่ข้อตกลงฯ กำหนดให้ผู้เข้าร่วมค้ารายใดรายหนึ่งเป็นผู้เข้าร่วมค้าหลัก กิจการร่วมค้านั้น ต้องใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าหลักรายเดียวเป็นผลงานของกิจการร่วมค้าที่ยื่นข้อเสนอ
กรณีที่ข้อตกลงฯ กำหนดให้ผู้เข้าร่วมค้ารายใดรายหนึ่งเป็นผู้เข้าร่วมค้าหลัก ผู้เข้าร่วมค้าหลัก จะต้องเป็นผู้ประกอบการที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมบัญชีกลาง ในส่วนของผู้เข้าร่วมค้าที่ไม่ใช่ผู้เข้าร่วมค้าหลัก จะต้องเป็นผู้ประกอบการที่ขึ้นทะเบียนในสาขางานก่อสร้างไว้กับกรมบัญชีกลางหรือxxxxxxxx
สำหรับข้อตกลงฯ xxxxxxได้กำหนดให้ผู้เข้าร่วมค้ารายใดเป็นผู้เข้าร่วมค้าหลัก ผู้เข้าร่วมค้า ทุกรายจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในเอกสารxxxxxxx
3 .12 ผู้ยื่น ข้อเสนอต้องลงทะเบียนในระบบจัดซื้อxxxxxxxภาครัฐด้วยอิ เล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) ของกรมบัญชีกลาง
4. เงื่อนไขการเสนอราคา
4.1 ราคาที่เสนอจะต้องเป็นราคาxxxxxxภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีอื่นๆ (ถ้ามี) รวมทั้งค่าใช้จ่ายทั้งปวง ไว้ด้วยแล้ว โดยจะต้องเสนอกำหนดยืนราคาไม่น้อยกว่า 120 วัน นับแต่xxxxxxเสนอราคา โดยภายในกำหนดยืน ราคา ผู้ยื่นข้อเสนอตองรับผิดชอบราคาที่ตนได้เสนอไว้และจะถอนการเสนอราคามิได้
4.2 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องส่งสำเนาหนังสือรับรองผลงานก่อสร้างประเภทเดียวกันกับงานด้านก่อสร้าง ระบบประปาบาดาล (ผลงานก่อสร้างจะต้องใช้แหล่งน้ำต้นทุนมาจากน้ำบาดาล) ซึ่งผลงานดังกล่าวของผู้รับจ้าง ต้องเป็นผลงานไม่เกิน 5 ปี ในสัญญาเดียวเท่านั้น และเป็นสัญญาที่ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จxxxxxxxx ซึ่งได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว และเป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานเอกชนที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลเชื่อถือ (รายละเอียดตามขอบเขตของงาน ข้อ 3.10) โดยแนบมา พร้อมเอกสารเสนอราคา
4.3 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องขีดเส้นใต้หรือแรเงา พร้อมระบุที่บ่งxxxxxxรายการที่ยื่นเสนอเป็นไปตาม TOR ข้อใดให้ชัดเจน ในรายละเอียดเอกสารที่แนบหรือแคตตาล็อกที่ยื่นเสนอราคา และระบุหมายเลขหน้า ของเอกสารที่ยื่นเสนอราคาแต่ละรายการให้ชัดเจน
4.4 เครื่องสูบน้ำแบบไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่มใต้น้ำ (Submersible Pump) และมอเตอร์ต้องเป็น ผลิตภัณฑ์จากโรงงานxxxxxxรับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 14001:2015 และมี เครื่องหมาย CE หรือ UL บนผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์แสดงอย่างชัดเจน พร้อมแนบสำเนาหลักฐานการ รับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015, ISO 14001:2015, หนังสือรับรอง CE หรือ UL และต้องแนบหนังสือ รับรองจากโรงงานผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทยเครื่องสูบน้ำด้วยว่าเครื่องสูบน้ำและมอเตอร์ เมื่อประกอบกันเป็นชุดแล้ว มีคุณสมบัติตามข้อกำหนดของทางราชการ โดยต้องรับรองว่ากราฟแสดงคุณสมบัติ ต่างๆ ของเครื่องสูบน้ำ (Performance Curve) ที่แนบเป็นกราฟxxxxxxจากการทดลองเครื่องสูบน้ำและมอเตอร์ ที่ยื่นข้อเสนอ หนังสือรับรองจากโรงงานผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทยจะต้องxxxxxxที่ตั้ง อย่างชัดเจน ให้ทางราชการxxxxxxตรวจสอบและติดต่อได้ เอกสารรับรองสำเนาลงนามโดยผู้xxxxxxx ครบถ้วนถูกต้องโดยผู้xxxxxxxครบถ้วนถูกต้อง โดยแนบมาพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.5 เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้าสำหรับเครื่องสูบน้ำ (Solar Pump Inverter) ต้องเป็นผลิตภัณฑ์จาก โรงงานxxxxxxรับการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001: 2015 และผลิตภัณฑ์ต้องได้รับเครื่องหมาย CE หรือ UL และอุปกรณ์ต้องผ่านมาตรฐาน EN 00000-0-0—Semiconductor inverters พร้อมด้วย มาตรฐาน EN 61800-3 พร้อมทั้งแนบผลรายงานการทดสอบ CE หรือ UL ประกอบการพิจารณา โดยแนบ มาพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.6 เครื่องสูบน้ำชนิด Vertical Multistage Pump สำหรับสูบน้ำขึ้นหอถังสูงชนิดรักษาแรงดัน ต้อง เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตและประกอบเป็นชุดสำเร็จจากโรงงานผู้ผลิตxxxxxxรับการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2015, และมีเครื่องหมาย CE หรือ UL บนผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์แสดงอย่างชัดเจน โดยผู้ยื่น ข้อเสนอจะต้องแนบสำเนาหลักฐานการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015, และหนังสือรับรอง CE หรือ UL โดยแนบมาพร้อมกับเอกสารเสนอราคาด้วย
4.7 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแจ้งชื่อและสถานที่ตั้งของโรงงานผู้ผลิตถังเหล็กเก็บน้ำ โดยต้องเป็น โรงงานที่ มีอาชีพผลิตถังเหล็กเก็บน้ำ โดยถังเหล็กเก็บน้ำความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร (ถังเหล็กเก็บxxx xxxกระบอก ขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ความสูง 7.5 เมตร) ต้องออกแบบตามมาตรฐาน API Standard 650 ทั้งนี้ โรงงานผู้ผลิตต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015, มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัย และ
ความปลอดภัย ISO 45001:2018, มาตรฐาน AISC (American Institue of Steel Construction Certification) และได้รับการรับรองมาตรฐาน AWS (AMERICAN WELDING SOCIETY) หรือมาตรฐาน EWF (European Federation for Welding, Joining and Cutting) ทั้งนี้ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องแนบเอกสารรายการคำนวณ ตามมาตรฐาน API Standard 650, สำเนาหนังสือรับรองมาตรฐาน ISO 9001 : 2015, ISO 45001:2018, ม าต x x xน AISC (American Institue of Steel Construction Certification) และม าต x x xน AWS (AMERICAN WELDING SOCIETY) ห รื อมาตรฐาน EWF (European Federation for Welding, Joining and Cutting) ใบประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) หรือ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน และกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยพร้อมตราประทับรับรองโดยโรงงานผู้ผลิตหรือ ตัวแทนจำหน่าย ในประเทศไทยพร้อมลงชื่อโดยผู้xxxxxxxลงนามให้ครบถ้วนและประทับตรา โดยแนบมาพร้อมกับ เอกสารเสนอราคา ทั้งนี้ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดย สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี ขอxxxx xxxxxxที่จะให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมอบหมายเป็นลายลักษณ์xxxxx เข้าไปตรวจสอบกระบวนการผลิตได้ตลอดระยะเวลาที่xxxxxxการก่อสร้าง โดยผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องแนบหนังสือ ยินยอมของโรงงานผู้ผลิตถังเหล็กเก็บน้ำมาพร้อมเอกสารเสนอราคาด้วย
4.8 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแจ้งชื่อและสถานที่ตั้งของโรงงานผู้ผลิตหอถังเหล็กเก็บน้ำ ชนิดรักษาแรงดัน ความจุ 300 ลูกบาศก์เมตร ความxxxxxxหัวถัง 30 เมตร ทั้งนี้โรงงานผู้ผลิตต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015, ม า ต x x x น AISC (American Institue of Steel Construction Certification) และได้รับการรับรองมาตรฐาน AWS (AMERICAN WELDING SOCIETY) หรือมาตรฐาน EWF (European Federation for Welding, Joining and Cutting) ทั้งนี้ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องแนบเอกสารรายการคำนวณตาม มาตรฐาน ISO 9001:2015, มาตรฐาน AISC (American Institue of Steel Construction Certification) และได้รับการรับรองมาตรฐาน AWS (AMERICAN WELDING SOCIETY) หรือมาตรฐาน EWF (European Federation for Welding, Joining and Cutting), ใบประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) หรือใบอนุญาต ประกอบกิจการโรงงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานและกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พร้อมตราประทับรับรองโดยโรงงานผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทยพร้อมลงชื่อโดยผู้xxxxxxxลงนาม ให้ครบถ้วนและปะทับตรา โดยแนบมาพร้อมกับเอกสารเสนอราคา ทั้งนี้ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดย สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี ขอxxxxxxxxxxที่จะให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ที่ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมอบหมายเป็นลายลักษณ์xxxxx เข้าไปตรวจสอบกระบวนการผลิตได้ตลอด ระยะเวลาที่xxxxxxการก่อสร้าง โดยผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องแนบหนังสือยินยอมของโรงงานผู้ผลิตหอถังเหล็กเก็บน้ำ มาพร้อมเอกสารเสนอราคาด้วย
4.9 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแจ้งชื่อและสถานที่ตั้งของโรงงานผู้ผลิตถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ โดยต้อง เป็นโรงงานที่มีอาชีพผลิตถังกรองสนิมเหล็ก ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 : 2015 และมาตรฐาน ISO 45001 : 2018 และต้องแนบสำเนาหนังสือรับรองมาตรฐาน ISO 9001 : 2015 และ สำเนาหนังสือ รับรองมาตรฐาน ISO 45001 : 2018 และใบประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) หรือใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานและกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พร้อมลงชื่อ โดยผู้xxxxxxxลงนามให้ครบถ้วนและประทับตรา โดยผู้ผลิตหรือผู้แทนจำหน่ายในประเทศไทย โดยแนบมา พร้อมกับเอกสารเสนอราคา ทั้งนี้ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี xxxxxxxxxxที่จะให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมอบหมายเป็นลายลักษณ์
xxxxx เข้าไปตรวจสอบกระบวนการผลิตได้ตลอดระยะเวลาที่xxxxxxการก่อสร้างโดยผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องแนบ หนังสือยินยอมของโรงงานผู้ผลิตถังกรองสนิมเหล็ก มาพร้อมเอกสารเสนอราคาด้วย
4.10 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแนบแคตาล็อกหรือเอกสารแสดงรายละเอียดของหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิด รักษาแรงดัน ความจุ 300 ลูกบาศก์เมตร ความxxxxxxหัวถัง 30 เมตร และถังเหล็กเก็บxxxxxxกระบอกขนาด ความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ความสูง 7.5 เมตร ตามที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี กำหนด โดยแนบมาพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.11 ชุดหัวจ่ายน้ำของชุดแท่นจ่ายน้ำดื่มจะต้องผลิตจากผู้ผลิตxxxxxxรับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001:2015 หรือมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) โดยผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องแนบเอกสาร แสดงรายละเอียด แบบ และสำเนาหลักฐาน ISO หรือ มอก. โดยแนบพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.12 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแสดงรายการคำนวณแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงขาเข้าของ Inverter (DC input voltage) และแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับขาออก (AC Output voltage) ในการกำหนดอุปกรณ์ดังกล่าว ว่าเป็นขนาดที่เหมาะสมกับการออกแบบระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแนบมาพร้อมเอกสารเสนอราคา ด้วย
4.13 โรงงานผู้ผลิตตู้สวิทช์บอร์ดจะต้องได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ มาตรฐาน มอก. 1436-2540 โดยผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องแนบสำเนาหลักฐานการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และมาตรฐาน มอก. 1436-2540 มาพร้อมเอกสารเสนอราคาด้วย
4.14 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแนบแคตตาล็อกของอุปกรณ์ ดังนี้
1) เครื่องสูบน้ำไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่มใต้น้ำ
2) เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้าสำหรับเครื่องสูบน้ำ (Solar Pump Inverter)
3) เครื่องสูบน้ำไฟฟ้าชนิด Vertical Multistage
4) อุปกรณ์ภายในชุดปรับปรุงคุณภาพน้ำ ประกอบด้วย
4.1 ถังบรรจุน้ำดิบ
4.2 เครื่องสูบน้ำแบบอัตโนมัติสำหรับสูบน้ำเข้าเครื่องกรอง
4.3 ชุดกรองละเอียดขนาด 1 ไมครอน
4.4 ชุดเครื่องกรองระบบ REVERSE OSMOSIS (RO) อัตราการกรอง 500 ลิตรต่อชั่วโมง
4.5 เครื่องวัดและควบคุมค่าปริมาณสารละลายรวม (TDS Controller)
4.6 ถังบรรจุน้ำดี
4.7 เครื่องสูบน้ำแบบอัตโนมัติสำหรับสูบน้ำเข้าเครื่องบรรจุ
4.8 ระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยxxxตร้าไวโอเลต (UV) โดยผู้ยื่นข้อเสนอต้องแนบแคตตาล็อกมาพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.15 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแนบแคตตาล็อกหรือเอกสารแสดงรายละเอียดของถังกรองสนิมเหล็ก สาร กรองในถังกรองสนิมเหล็ก ชุดxxxxxxน้ำ ท่อรวมน้ำและชุดท่อกรองน้ำตามที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดย สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี กำหนด และวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างมาตรฐาน มอก. ประกอบด้วยแผ่นเหล็กกล้าxxxxxxx, เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต, วัสดุผสมคอนกรีตหรือคอนกรีตผสมเสร็จ, สายไฟฟ้า, ท่อxxxxxx, ท่อxxxxxxแข็งสำหรับใช้ร้อยสายไฟฟ้า, ท่อเหล็กอาบสังกะสี, อีพ็อกซี่สำหรับเคลือบท่อ เหล็กกล้าส่งน้ำ, ข้อต่อและอุปกรณ์ท่อxxxxxx และข้อต่อและอุปกรณ์ท่อเหล็กกล้าอาบสังกะสี โดยให้แนบมา พร้อมเอกสารการยื่นข้อเสนอ
4.16 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นเสนอแผนการxxxxxxงานซึ่งจะต้องก่อสร้างให้แล้วเสร็จ พร้อมจะส่งมอบ ภายในระยะเวลาที่กำหนด เพื่อแสดงถึงขีดความxxxxxxของผู้ยื่นข้อเสนอและยืนยันxxxxxxการก่อสร้างได้ สำเร็จถูกต้องครบถ้วนทุกแห่ง สำหรับแผนการxxxxxxการก่อสร้างจะมีผลต่อการติดตามควบคุมงาน และมีผล ผูกพันกับสัญญาxxxxด้วย โดยแนบมาพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.17 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องจัดทำแผนการใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ xxxxxxพัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างทั้งหมดxxxxxxxx และแผนการใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณเหล็กที่ต้องใช้ทั้งหมดxxxxxxxx โดยแนบพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.18 ผู้ยื่นข้อเสนอที่เป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจxxxxxxxxและขนาดย่อม (SMEs) ต้องแนบสำเนา ใบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการวิสาหกิจxxxxxxxxและขนาดย่อม (SMEs) (ถ้ามี) มาพร้อมเอกสารเสนอราคา
4.19 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องแนบสำเนาหนังสือรับรองสินค้า Made in Thailand มาพร้อมเอกสารเสนอ ราคา (ในกรณีที่เป็นพัสดุที่ผลิตภายในประเทศ)
4.20 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องส่งตัวอย่างละ 1 ชุด (ประกอบด้วย 1. เครื่องสูบน้ำไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่ม ใต้น้ำ พร้อมชุดควบคุมการทำงาน 2. ชุดxxxxxxน้ำ ท่อรวมน้ำและชุดท่อกรองน้ำของถังกรองสนิมเหล็ก) ของรายการที่เสนอ ภายใน 3 วันทำการนับถัดจากวันเสนอราคา ณ สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10
อุดรธานี และสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี ขอxxxxxxxxxxที่จะนำตัวอย่างเครื่องสูบน้ำไฟฟ้าชนิด มอเตอร์จุ่มใต้น้ำพร้อมอุปกรณ์ที่จัดส่งไปทำการทดสอบประสิทธิภาพ เพื่อประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับผู้ยื่นข้อเสนอรายใดไม่ส่งตัวอย่างจะxxxxxxรับ การพิจารณา
5. หลักเกณฑ์การพิจารณา
5.1 กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 10 อุดรธานี จะพิจารณาผู้xxx xxxเสนอราคาโดยเลือกใช้หลักเกณฑ์ราคา (Price) และพิจารณาเป็นราคารวม
5.2 หากผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็นผู้ประกอบการ SMEs เสนอราคาสูงกว่าราคาต่ำสุดของผู้ยื่นข้อเสนอ รายอื่นxxxxxxเกินร้อยละ 10 กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จะxxx xxxxจากผู้ประกอบการ SMEs ดังกล่าว โดยจัดเรียงลำดับผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็นผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งเสนอ ราคาสูงกว่าราคาต่ำสุดของผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น ไม่เกินร้อยละ 10 ที่จะเรียกมาทำสัญญาไม่เกิน 3 ราย
ผู้ยื่นข้อเสนอที่เป็นกิจการร่วมค้าที่จะได้xxxxxตามวรรคหนึ่ง ผู้เข้าร่วมค้าทุกรายจะต้องเป็น ผู้ประกอบการ SMEs
5.3 หากผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งมิใช่ผู้ประกอบการ SMEs แต่เป็นบุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทย หรือนิติ บุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยเสนอราคาสูงกว่าราคาต่ำสุดของผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาxxxxxxxxถือ สัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศไม่เกินร้อยละ 3 กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดย สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จะxxxxxxxจากผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทย หรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยดังกล่าว
ผู้ยื่นข้อเสนอที่เป็นกิจการร่วมค้าที่จะได้รับxxxxxตามวรรคหนึ่ง ผู้เข้าร่วมค้าทุกรายจะต้องเป็น ผู้ประกอบการที่เป็นบุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
6. รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
6.1 รายละเอียดทั่วไป
การxxxxก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่ แก้ปัญหาภัยxxxxอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม ตามสถานxxxxxx กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 10 อุดรธานี กำหนด
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 10 อุดรธานี จะxxxxxxการจัดหา แหล่งน้ำดิบโดยการขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล สำหรับผู้รับจ้างเป็นผู้xxxxxxการก่อสร้างระบบประปาบาดาลและ ระบบxxxxxxน้ำ ประกอบด้วย
1) งานติดตั้งเครื่องสูบน้ำแบบไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่มใต้น้ำขนาด 3 แรงม้า พร้อมอุปกรณ์
2) งานเดินท่อส่งน้ำจากปากบ่อน้ำบาดาลไปยังถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์ เมตร ความสูง 7.5 เมตร
3) งานก่อสร้างฐานรากพร้อมติดตั้งถังเหล็กสำเร็จรูปขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ความ
สูง 7.5 เมตร
4) งานติดตั้งอาคารสูบน้ำสำเร็จรูปพร้อมปั้มหอยโข่งชนิด Vertical Multistage ขนาด
20 แรงม้า พร้อมระบบควบคุม
5) งานติดตั้งxxxxxxไฟฟ้า Distribution Board (MDB)
6) งานก่อสร้างฐานรากพร้อมติดตั้งหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน ขนาดความจุ 300 ลูกบาศก์เมตร ความxxxxxxหอถัง 30 เมตร
7) งานก่อสร้างฐานรากพร้อมติดตั้งถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่
8) งานเดินท่อระบบประปาส่งน้ำจากถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ไปยัง
อาคารสูบน้ำสำเร็จรูป หอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน และถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่
9) งานเดินท่อระบบประปาส่งน้ำจากถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ ไปยังจุดจ่ายน้ำxxxx อาคารศูนย์เรียนรู้ด้านน้ำบาดาล และงานวางท่อเข้าสู่ชุมชน
10) งานติดตั้งอาคารศูนย์เรียนรู้ด้านน้ำบาดาล
11) งานติดตั้งจุดจ่ายน้ำxxxx
12) งานติดตั้งป้ายโครงการ
13) งานติดตั้งรั้ว
14) งานปรับพื้นที่พร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์
ทั้งนี้ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างทั้งระบบต้องเป็นของใหม่ชนิดxxxxxยังไม่เคยใช้งานxx xxxxและหากเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ผู้รับจ้างจะต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์xxxxxxรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) เป็นสำคัญเท่านั้น
6.2 คุณลักษณะเฉพาะ ประกอบด้วย รายละเอียดดังนี้
6.2.1 คุณลักษณะเฉพาะเครื่องสูบน้ำไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่มใต้น้ำขนาด 3.0 แรงม้า พร้อม
อุปกรณ์
เป็นเครื่องสูบน้ำแบบไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่มใต้น้ำ (Submersible Pump) พร้อมมอเตอร์
ขนาด 3.0 แรงม้า xxxxxxติดตั้งกับบ่อน้ำบาดาลตามขนาดที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำ
บาดาล เขต 10 อุดรธานี กำหนด เครื่องสูบเป็นแบบ Multi-stage pump มีเช็ควาล์วในตัว ขับด้วยมอเตอร์ ไฟฟ้าชนิดกระแสสลับ 220 โวลท์ 3 เฟส 50 Hz พร้อมอุปกรณ์หรือชุดควบคุมที่xxxxxxสลับการทำงานxxx xxxxกระแสตรง หรือไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องสูบน้ำและมอเตอร์จะต้องเป็นผลิตภัณฑ์จากโรงงานxxxxxxรับการ รับรองระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001: 2015 และได้รับเครื่องหมาย CE หรือ UL บนผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์อย่างชัดเจน
1. เรือนสูบ (Pump Casing) ประกอบด้วย เพลา (Shaft) ข้อต่อเพลา (Coupling) แผง ปะกับสายไฟ (Cable Guard) ทางน้ำออก (Discharge Head) และ Motor Adapter ทำจากเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel, D/N W,-Nr 1.4301, 1.4057, 1.4308, AISI 304, AISI 431 หรือดีกว่า)
2. xxxxxจะต้องผลิตด้วยวัสดุที่xxxxxxทนต่อการxxxxxของทราย และต้องไม่มี สารละลายเป็นพิษละลายปนไปกับน้ำที่ใช้บริโภค หากxxxxxxxxได้ทำจากเหล็กกล้าไร้สนิม ในแต่ละชั้นของ xxxxxจะต้องติดตั้งแหวนกันสึก (Wear Resistant Ring) ที่ทำจากเหล็กกล้าไร้สนิม และต้องมีแผ่นยางสะบัด ทราย (Anti Sand Rubber) เพื่อป้องกันทรายอุดตันxxxxxหรือxxxxxมีการออกแบบเพื่อการสลัดทรายด้วย ระบบxxxxx Flat Wearing เมื่อจุ่มมอเตอร์ลงใต้น้ำไม่มีการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า
3. มีกราฟแสดงลักษณะการทำงาน (Performance Curve) หรือตารางแสดงสมรรถนะ การทำงาน และความxxxxxxในการสูบน้ำต้องไม่น้อยกว่า 7.5 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมงที่แรงส่งรวม (Total Dynamic Head) ไม่น้อยกว่า 70 เมตร และมีประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องสูบไม่น้อยกว่า 60%
4. มอเตอร์ไฟฟ้ามีขนาดกำลัง 3.0 แรงม้า (2.2 กิโลวัตต์) ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) 220 โวลต์ 3 เฟส 50 ไซเกิ้ล ระบายความxxxxด้วยน้ำ (Water cooled) ชุดขดลวดในสเตเตอร์ถูกxxxxxxxด้วย เรซิ่นอย่างมิดชิดเป็นเนื้อเดียวกัน (Hermetically Sealed Winding and Encapsulated Stator) อากาศ และน้ำไม่xxxxxxผ่านเข้าได้ มาตรฐาน IP68 ภายในหล่อลื่นด้วยน้ำ (Water Lubricate) ความเร็วรอบ มอเตอร์ระหว่าง 2,700 – 3,000 รอบต่อนาที และสายไฟสำหรับต่อที่ขั้วมอเตอร์ (Motor Lead) ถูก ออกแบบให้ป้องกันน้ำไหลเข้ามอเตอร์โดยผ่านทางขั้ว ได้อย่าง 100% (Water Block) โดยเป็นผลิตภัณฑ์จาก โรงงานxxxxxxรับการรับรอง มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 หรือ ISO 14001:2016 กรณีเกลียวที่ทางน้ำออกมีขนาดไม่เท่ากับท่อส่ง จะต้องมีข้อต่อลด-xxxxxขนาดให้อีกชุดละ 1 ตัว
5. ท่อสูบส่งของเครื่องสูบน้ำแบบไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่มใต้น้ำ
5.1 ท่อส่งพร้อมข้อต่อ ขนาดระบุ 50 ม.ม. (2 นิ้ว) เป็นท่อเหล็กอาบสังกะสี ผลิตตามมาตรฐาน มอก. 277 - 2532 ประเภท 2 ยาวท่อนละ 3 เมตร มีข้อต่อผลิตตามมาตรฐาน มอก. 249 - 2540 และที่กันเกลียว (Threaded protector) ทำด้วยวัสดุxxxxxxxxxxครอบคลุมเกลียวทั้งหมดได้ จำนวน 20 ท่อน
5.2 ท่อ ขนาดระบุ 50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว) มาตรฐานเดียวกับท่อสูบส่ง ยาวท่อนละ
6 นิ้ว ทำเกลียวหัว–ท้าย จำนวนไม่น้อยกว่า 3 ท่อน (สำหรับชุดประกอบปากบ่อน้ำบาดาล)
5.3 สายไฟฟ้าชนิดกันน้ำ(VCT) ผลิตตามมาตรฐาน มอก. 11-2553 ขนาด 4x4.00 ตารางมิลลิเมตร ยาวไม่น้อยกว่า 80 เมตร
5.4 วาล์วxxxxxxxชนิดทองเหลือง ขนาด Ø 2 นิ้ว ทนแรงดันไม่น้อยกว่า 125 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จำนวน 1 ตัว (ปากบ่อน้ำบาดาล)
5.5 ยูเนี่ยนเหล็กเคลือบสังกะสีพร้อมประเก็นยางขนาดเดียวกับท่อสูบส่ง จำนวน 1 ชุด
5.6 ข้องอ 90 องศา เหล็กเคลือบสังกะสี ขนาดเดียวกับท่อสูบส่ง จำนวน 1 ชุด
น้ำบาดาล)
1.8 เมตร จำนวน 2 ม้วน
5.7 นิปxxxxxเหล็กเคลือบสังกะสี ขนาดเดียวกับท่อสูบส่ง จำนวน 1 ชุด
5.8 ข้อลดกลมชนิดเหล็กชุบสังกะสี ขนาด 3 นิ้ว ลด 2 นิ้ว จำนวน 1 ตัว (ปากบ่อ
5.9 เทปพันสายไฟชนิดกันน้ำ ขนาดกว้าง 19 มิลลิเมตร ยาวม้วนละ 6 ฟุต หรือ
6. ฝาปิดปากบ่อ ประกอบด้วย
6.1 ฝาปิดปากบ่อ (ฝาบน) แผ่นฝาทำด้วยเหล็กเหนียว หน้าแปลนมาตรฐาน DIN PN10 หรือ JIS 10k เส้นผ่านศูนย์กลาง 285 มิลลิเมตร ความหนาไม่น้อยกว่า 11 มิลลิเมตร xxxxxxxxฝาใช้ ท่อเหล็กเหนียว ที่ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก. 277 - 2532 ประเภท 4) หรือ ASTM A53 ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางขนาดระบุ 50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว) มีเกลียวหัวท้ายครอบพลาสติกป้องกันเกลียว ประกอบกับ แผ่นฝากับท่อโดยวิธีการเชื่อม ที่ระยะเส้นผ่านศูนย์กลาง 240 มิลลิเมตร เจาะรูขนาด 20 มิลลิเมตร จำนวน 8 รู ที่ระยะเส้นผ่านศูนย์กลาง 125 มิลลิเมตร เจาะรูทำเกลียว ขนาด 7/8 NS สำหรับติดตั้ง Cable Gland สำหรับร้อยสายไฟฟ้า และตรงกันข้ามเจาะรูทำเกลียวสำหรับติดตั้งปลั๊กอุดเหล็กชุบสังกะสี (กัลวาไนซ์) ขนาด 3/4 นิ้ว ทาสีรองพื้นดวยสีกันสนิม และสีจริงใช้สีบรอนซ์เงิน
6.2 สลักเกลียว น็อตและแหวนแสตนxxx ทำด้วยแสตนxxx (Stainless Steel Type 304) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15.6 มิลลิเมตร ยาว 62.5 มิลลิเมตร (5 หุน ยาว 2 1/2 นิ้ว) เกลียว ไม่ตลอดพร้อมแหวนและน็อต (ฝาปิดปากบ่อ 1 ชุด ใช้สลักเกลียวและน็อต 8 ชุด)
6.3 ประเก็นยางข้อต่อแบบหน้าจาน (Gasket Ring) ทำด้วยยางชนิดยืดหยุ่นได้ ขนาดเท่ากับฝาปิดปากบ่อมีรูร้อยสลักเกลียวขนาดเดียวกับรูร้อยสลักเกลียวฝาปิดปากบ่อ จำนวน 8 รู ความ หนาไม่น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร จำนวน 1 แผ่น
6.4 ชุด Cable Grand (ชุดป้องกันน้ำสายไฟ) ชนิดพลาสติกแข็งหรือไนล่อน xxxxxxใช้ได้กับสายไฟฟ้าชนิดกันน้ำ (VCT) ขนาด No. 4x4.0 ตารางมิลลิเมตร และขนาดเกลียวxxxxxxขัน เข้าxxxxxxxกับเกลียวฝาปิดปากบ่อพร้อมแหวนยางกันน้ำ จำนวน 1 ตัว
6.5 ปลั๊กอุดเหล็กชนิดเกลียวนอก ขนาด 1/2 นิ้ว
6.6 ชุดประกอบปากบ่อน้ำบาดาล (ฝาล่าง) ชนิด PVC ข้อต่อตรงหน้าจานชนิด PVC ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว มาตรฐาน FLANGE เป็นไปตาม ISO/R 13 หน้าจานมีรูสำหรับร้อยสกรูยึดติดกับ ฝาปิดปากบ่อ (ฝาบน) จำนวน 8 รู
6.7 สายไฟฟ้าชนิดกันน้ำ (VCT) สำหรับมอเตอร์ขนาด 3 แรงม้า ขนาดไม่น้อยกว่า 4x4.0 ตารางมิลลิเมตร ผลิตตาม มอก. 11 เล่ม 101-2553 ตารางที่ 7-9 ความยาวสายไฟฟ้าเริ่มจากกล่อง xxxสายถึงตู้ควบคุมเครื่องสูบน้ำไฟฟ้าฯ โดยให้เดินสายในท่อxxxxxxสำหรับร้อยสายไฟฟ้าผลิตตามมาตรฐาน มอก. 216-2524
6.7.1 เมื่อติดตั้งตู้ควบคุมเครื่อสูบน้ำไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ประกอบต่างๆ เสร็จ
เรียบร้อยแล้วให้ทำที่เก็บสายไฟฟ้าชนิดกันน้ำ (VCT) ส่วนที่พ้นจากบ่อน้ำบาดาลให้เรียบร้อย โดยเดินสาย ภายในท่อxxxxxxจนถึงตู้ควบคุมเครื่องสูบน้ำไฟฟ้า
6.7.2 ผู้รับจ้างต้องแจ้งผู้ควบคุมงาน เพื่อให้ตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะของ อุปกรณ์ควบคุมการทำงานของเครื่องสูบน้ำต่างๆ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดงานของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ก่อนการติดตั้งทุกแห่ง
6.8 อุปกรณ์อนๆ
6.8.1 มาตรวัดน้ำ ใช้มาตรวัดน้ำระบบxxxxxขับเคลื่อนด้วยแม่เหล็ก ขนาด 2 นิ้ว หรือ 3 นิ้ว (ตามแบบ) ชนิดหน้าแปลน มีสมรรถนะในการวัดxxxxxxxxxxxx ทำจากวัสดุxxxxxคุณภาพสูง ทนต่อการ กัดกร่อน ชุดเครื่องบันทึกxxxxxxถอดเปลี่ยนได้ง่าย ชุดเครื่องบันทึกผนึกด้วยระบบสุญญากาศ ติดตงตามแบบ
6.9 การทดลองเครื่องและอุปกรณ์ไฟฟ้าในตู้สวิทช์ควบคุม เมื่อได้ทำการติดตั้ง ตู้ควบคุมเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องทำการทดสอบอุปกรณ์ที่ใช้กับระบบตู้ควบคุมให้ครบถ้วนทุกรับว่าxxxxxx ทำงานได้เป็นxxxx โดยให้เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมงานของผู้xxxxxxxเป็นผู้ควบคุมการทดสอบและรับรองรายงาน
7. คุณลักษณะเฉพาะชุดควบคุมการทำงานของเครื่องสูบน้ำแบบไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่ม
ใต้น้ำ
เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (อินเวอร์เตอร์) ต้องได้รับการออกแบบและพัฒนามาเพื่อให้
ใช้งานสำหรับระบบสูบไฟฟ้ากระแสสลับ และพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นผลิตภัณฑ์จากโรงงานxxxxxxรับการรับรอง คุณภาพ ISO 9001:2015 และได้รับเครื่องหมาย CE หรือ UL
7.1 ตัวอุปกรณ์ต้องxxxxxxรองรับแหล่งจ่ายระหว่างไฟฟ้ากระแสตรงหรือไฟฟ้า กระแสสลับ เพื่อให้xxxxxxเลือกใช้แหล่งพลังงานจากแสงอาทิตย์หรือพลังงานไฟฟ้าจากการไฟฟ้าได้โดย อัตโนมัติ รวมทั้งxxxxxxใช้พลังงานพร้อมกันxxxxxxxพลังงานจากแสงอาทิตย์หรือพลังงานไฟฟ้าจากการไฟฟ้า
7.2 xxxxxxควบคุมการจ่ายแรงดันไฟฟ้าจากไฟฟ้ากระแสตรงจากแผงเซลล์ แสงอาทิตย์และไฟฟ้ากระแสสลับ แล้วแปลงให้เป็นไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) 3 เฟส 0-220 โวลท์ แบบความถี่ สูงบนความถี่พื้นฐานแบบปรับค่าได้ 0-60 เฮิรตซ์ ได้ โดยระบบต้องทำงานได้ต่อเนื่องไม่มีการตัดต่อ โดยที่ xxxxxxกำหนดความพี่ด้านออกต่ำสุดได้ตั้งแต่ 0-60 เฮิรตซ์ เพื่อxxxxxxกำหนดค่าปั้มทำงานแล้วน้ำไหลขึ้น จากบ่อได้แม้มีแสงแดดน้อยเพื่อเหมาะสมตามพื้นที่ใช้งานจริง (กรณีใช้กับแผงเซลล์แสงอาทิตย์)
7.3 กรณีใช้กับระบบสูบน้ำพลังจะต้องมีฟังก์ชัน MPPT (Maximum Power Point Tracking) เพื่อให้เครื่องสูบน้ำ ทํางานได้ประสิทธิภาพสูดสุดตามสภาพพลังงานแสงอาทิตย์และต้องมี ประสิทธิภาพไม่น้อยกว่า ๙๙.๙%
7.4 เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า(อินเวอร์เตอร์) จะต้องมีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่า
96%
7.5 แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงขาเข้าของ Inverter (DC input voltage) และ
แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับขาออก (AC Output voltage) เป็นขนาดที่เหมาะสมกับการออกแบบระบบสูบน้ำ พลังงานแสงอาทิตย์
7.6 ตัวอุปกรณ์ต้องมีการป้องกันแรงดันไฟฟ้าเกิน และแรงดันไฟฟ้าตกพิกัด (Overvoltage and under voltage protection)
7.7 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีการป้องกัน หากมีภาระโหลดเกินกําลังพิกัด
(Overload protection)
7.8 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีการป้องกัน หากมอเตอร์เครื่องสูบน้ำมี
กระแสไฟฟ้า เกินพิกัด (Over Current protection)
7.9 ตัวอุปกรณ์ต้องมีระบบป้องกัน การลัดวงจรระหว่างมอเตอร์กับกราวด์ เมื่อ จ่ายไฟเข้าเครื่องได้โดยที่ยังไม่สั่งทํางาน (Motor short-circuit to ground detection while electrify)
phase loss protection)
7.10 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีการป้องกัน ไฟด้านออกไม่ครบเฟส (Output
7.11 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีการป้องกัน หากอุณหภูมิของอินเวอร์เตอร์สูงเกิน
พิกัด (Over temperature protection)
7.12 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีฟังก์ชันป้องกัน การตรวจจับกระแสเลื่อนศูนย์ (current detection Zero drift protection) ป้องกันในกรณีที่เครื่องถูกใช้งานมาเป็นเวลานาน ตัวอุปกรณ์ วัด กระแสอาจจะมีค่าความผิดเพี้ยน ฟังก์ชันนี้จะชดเชยค่ากระแสให้แม่นยําขึ้นและป้องกันระบบxxxxxขึ้น
7.13 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีการป้องกันการทํางานหากไม่มีภาระ (No-load/ Dry run protection) หรือมอเตอร์ทำงานแบบไร้ภาระโหลด (Load drop) เพื่อป้องกันมอเตอร์และปั้ม เสียหาย โดยเมื่อเกิดสภาวะทำงานไร้ภาระโหลด อินเวอร์เตอร์จะต้องลดรอบมอเตอร์ลงเหลือ 7% ของพิกัด แล้วxxxxxxทำงานอัตโนมัติที่พิกัดความถี่เมื่อในระบบมีน้ำเพียงพอ
7.14 มีหน้าจอแสดงผล ค่ากระแส (A) ของมอเตอร์ ค่าแรงดันไฟฟ้า (V) ค่าความถี่ (Hz) ของมอเตอร์ พร้อมปุ่มควบคุม (LED/ Graphic display/ keypad buttons)
7.15 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีการแสดงผลเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นมาและมี หน่วยความจําภายในเพื่อเก็บข้อมูลประวัติข้อผิดพลาด เพื่อxxxxxxตรวจสอบย้อนหลังได้ (alarm and fault history) เพื่อให้xxxxxxแก้ปัญหาได้
7.16 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีคุณสมบัติการป้องกันฝุ่น-น้ำ IP๒๐ หรือดีกว่า
7.17 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องรองรับการต่ออุปกรณ์ภายนอก เพื่อให้xxxxxxxxxx xxxทํางานหรือหยุดด้วยลูกลอยหรือสวิตช์แรงดันได้
7.18 มีระบบการหน่วงสตาร์ท หากxxxxxxxเดินเครื่องโดยไม่มีน้ำ (Restart delay
after dry run)
7.19 อินเวอร์เตอร์หรือคอนเวอร์เตอร์ชนิดติดตั้งภายนอกนี้ ทํางานได้อย่าง
ปลอดภัย ให้ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้ากระชากด้วย AC/DC Surge protection AC/DC เบรกเกอร์ สวิทช์แรงดัน (Pressure switch) เพื่อให้ปั้มหยุดทํางานเมื่อน้ำเต็มถังเก็บ
7.20 มีหน่วยความจําภายในอินเวอร์เตอร์เพื่อเก็บข้อมูลประวัติการทํางาน (Operation history memory)
- ตัวอุปกรณ์ต้องมีระบบระบายความxxxxแบบ Fan Cooling ที่มีอยู่ในตัวอุปกรณ์
- อุปกรณ์xxxxxxใช้งานในอุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส ถึง 50 องศาเซลเซียส
- อุปกรณ์xxxxxxทำงานที่ความชื้นสัมพัทธ์ได้สูงสุด 95% RH โดยที่ไม่มีการเกาะตัว
เป็นหยดน้ำ
- อุปกรณ์ต้องมีระยะเวลาในการรับประกันคุณภาพการใช้งานไม่น้อยกว่า 2 ปี
7.21 ตัวอุปกรณ์แปลงไฟฟ้าต้องมีคู่มือภาษาไทย แนบประกอบส่งงานด้วย
คุณลักษณะทางเทคนิคของตู้ควบคุมไฟฟ้าชนิดกันน้ำ
ตู้ควบคุมไฟฟ้าชนิดกันน้ำ เพื่อใช้ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมระบบ จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ
(1) เป็นตู้โลหะฝา ๒ ชั้น(กระจก/หีบ) ขนาดไม่น้อยกว่า ๔๕๐x600x300 มิลลิเมตร
ความหนาไม่น้อยกว่า ๑.0 มิลลิเมตร โดยชั้นที่ ๒ ต้องทําจากแผ่นโลหะ พ่นสีกันสนิมและพ่นสีพื้นเป็นสีเทา หรือสีxxxxxxxxx ด้านหลังตู้เป็นโครงเหล็กเจาะรูสําหรับใช้ยึดติดตั้งกับโครงเหล็กอาคารโรงสูบน้ำ
(2) ตู้ควบคุมต้องมีระดับการป้องกันไม่น้อยกว่า IP: ๕๕ หรือดีกว่า
(3) ต้องมีช่องระบายอากาศพร้อมที่ครอบกันน้ำแบบโลหะที่ด้านบนและด้านล่าง ใน ทิศทางตรงกันข้าม พร้อมติดตั้งพัดลมระบายอากาศขนาด ๔ นิ้วหรือตามความเหมาะสมxxxxxxxระบายอากาศ ชุดบน และต้องทํารูตะแกรงพัดลมxxxxxxแมลงขนาด ๓.๒ มิลลิเมตร
(4) ตำแหน่งการติดตั้งตควบคุมให้ติดตั้งในบริเวณที่ผู้ควบคุมงานกำหนด
(5) ตู้ควบคุมจะต้องกุญแจล็อคฝาปิดแบบเขาควาย อย่างน้อย ๑ จุด
(6) ภายในตู้ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมดังนี้
- อินเวอร์เตอร์
- เบรกเกอร์สําหรับไฟกระแสสลับ
- เบรกเกอร์สําหรับไฟกระแสตรง
- อุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกแบบกระแสสลับ (AC Surge protection)
- อุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกแบบกระแสตรง (DC Surge protection
- xxxxxxอลสําหรับxxxสาย
(7) ควบคุมต้องมีสวิตช์เลือกโหมดทํางานแบบอัตโนมัติ (สั่งงานด้วยลูกลอย) หรือแบบ
เปิด-ปิด ด้วยมือ
(8) ตู้ควบคุมต้องมีสวิตช์เลือกโหมดทํางานแบบไฮบริด (ใช้ไฟจากเซลล์แสงอาทิตย์ และไฟ
จากการไฟฟ้าพร้อมกันได้ตลอดเวลา) หรือแบบกึ่งไฮบริด (ใช้ไฟจากเซลล์แสงอาทิตย์และไฟจากการไฟฟ้า พร้อมกันเฉพาะตอนที่แสงแดดxxxxxxxxxx โดยxxxxxxปรับค่าความเข้มแสงที่ต้องการให้ไฟการไฟฟ้า เข้ามา ช่วยจ่ายxxxxxxตัวอินเวอร์เตอร์)
(9) ตัวอุปกรณ์ต้องมีระยะเวลาในการรับประกันคุณภาพการใช้งานไม่น้อยกว่า ๒ ปี
(10) อุปกรณ์ควบคุมการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ควบคุม จำนวน 1 ชุด ต่อ 1 ระบบ เพื่อให้ระบบทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ควบคุมการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า ประกอบด้วย
1 ติดตั้งตู้ควบคุมระบบการทำงานเพื่อให้เครื่องสูบน้ำทำงานอัตโนมัติ โดยรับคำสั่ง จากสวิทซ์ควบคุมระดับของเหลวแบบลูกลอย
2 AC Circuit Breaker จำนวน 1 ตัว มีรายละเอียดคือ เป็นชนิด MCB หรือ MCCB จำนวนขั้วต่อสาย 2 Poles เป็นชนิดใช้กับกระแสไฟฟ้า 1 เฟส ความถี่ 50 Hz มีพิกัดกระแสลัดวงจร Icu ไม่ น้อยกว่า 15 kA และพิกัดกระแส Ampere trip (AT) ไม่น้อยกว่า 25 A ใช้ติดตั้งสำหรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า ระหว่างอินเวอร์เตอร์กับไฟฟ้าหลัก
3 DC Circuit Breaker จำนวน 2 ตัว มีรายละเอียดคือ เป็นชนิด MCB หรือ MCCB จำนวนขั้วต่อสาย 2 Poles เป็นชนิดใช้กับระบบไฟฟ้ากระแสตรง 500 VDC มีพิกัดกระแสลัดวงจร Icu ไม่ น้อยกว่า 6 kA และพิกัดกระแส Ampere trip (AT) ไม่น้อยกว่า 16 A ใช้ติดตั้งสำหรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า ระหว่างโซล่าเซลล์กับอินเวอร์เตอร์ (กรณีใช้พลังงานแสงอาทิตย์)
4 มีอุปกรณ์ป้องกันคลื่นไฟฟ้ากระโชก (AC Surge Protector) จำนวน 1 ตัว ต่อ ระบบ เป็นชนิดที่ใช้กับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส 220 V, 50 Hz xxxxxxป้องกันคลื่นไฟฟ้ากระโชก แบบ Transient และแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำในสายตัวนำเนื่องจากฟ้าผ่าที่กระแสไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 20 kA และมีสัญญาณแสดงสภานภาพการทำงานในสภาวะผิดxxxx
5 มีอุปกรณ์ป้องกันคลื่นไฟฟ้ากระโชก (DC Surge Protector) จำนวน 1 ตัว ต่อ ระบบ เป็นชนิดที่ใช้กับระบบไฟฟ้ากระแสตรงไม่น้อยกว่า 500 VDC. xxxxxxป้องกันคลื่นไฟฟ้ากระโชกแบบ Transient และแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำในสายตัวนำเนื่องจากฟ้าผ่าที่กระแสไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 20 kA และ มีสัญญาณแสดงสถานภาพการทำงานในสภาวะผิดxxxx
6 อุปกรณ์สายดิน เป็นแท่งทองแดง ขนาด 5/8 นิ้ว พร้อมสายและสายต่อหลักดิน (เข้ากับหลักดิน) ต้องใช้วิธีเชื่อมด้วยความxxxx (Exotermic Welding) เท่าน้น
7 ตัวอุปกรณ์ต้องมีระยะเวลาในการรับประกันคุณภาพการใช้งานไม่น้อยกว่า 2 ปี
ลักษณะการทำงานของเครื่องสูบน้ำไฟฟ้าชนิดจุ่มใต้น้ำ
1) ต้องออกแบบให้ชุดควบคุมเครื่องสูบน้ำทั้งหมดมี Circuit Breaker สำหรับป้องกัน มอเตอร์ครบตามจำนวนมอเตอร์ทั้งหมด
2) ต้องออกแบบวงจรไฟฟ้า ให้เครื่องสูบน้ำทำงานร่วมกับสวิทซ์ลูกลอย (Float Switch) และ Flow switch โดยให้ทำงานเป็นระบบ Manual และ Automatic ได้ (การทำงานระบบ Manual ขณะ เปิดเครื่องทดสอบเครื่องสูบน้ำให้น้ำไหลผ่านท่อสามทาง โดยไม่ผ่านเข้าถังเก็บน้ำ และระบบต้องไม่ตัดการ ทำงาน ขณะน้ำไม่ไหลผ่าน Flow Switch)
3) การทำงาน ระบบ Automatic ให้ใช้ลูกลอย (Float Switch) ควบคุมการทำงานของเครื่องสูบ น้ำ และมี Flow Switch ป้องกันน้ำไม่ไหลผ่านเครื่องสูบน้ำแยกกันแต่ละชุด และจะต้องใช้อุปกรณ์ลด แรงดันไฟฟ้าที่ผ่านลูกลอย (Float Switch) ลง เพื่อความปลอดภัยจากการถูกไฟฟ้าดูด
จบข้อ 6.2.1
6.2.2 คุณลักษณะเฉพาะงานเดินท่อส่งน้ำจากปากบ่อน้ำบาดาลไปยังถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาด ความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ความสูง 7.5 เมตร
1. ชนิดท่อ
1) ใช้ท่อเหล็กอาบสังกะสี มอก. 277-2532 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50
มิลลิเมตร (2 นิ้ว) ความยาวท่อนละ 6 เมตร
2) ใช้ท่อxxxxxxแข็งแบบปลายบานชนิดต่อด้วยน้ำยา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว) ชั้นคุณภาพ 8.5 ผลิตตาม มอก. 17-2561 ความยาวท่อนละ 4 เมตร
3) ใช้ท่อxxxxxxแข็งแบบปลายบานชนิดต่อด้วยน้ำยา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80 มิลลิเมตร (3 นิ้ว) ชั้นคุณภาพ 8.5 ผลิตตาม มอก. 17-2561 ความยาวท่อนละ 4 เมตร
2. การต่อท่อและเดินท่อสูบน้ำบาดาล
1) อุปกรณ์ต่อท่อต้องเป็นไปตามมาตรฐาน วสท. สำหรับงานท่อเหล็กและอุปกรณ์ ต่อท่อ ข้อต่อต่างๆ ใช้วัสดุที่ผลิตตาม มอก. 1131-2535 ชั้นคุณภาพ 13.5 สำหรับงานท่อxxxxxx
2) ยูเนี่ยนเหล็กเคลือบสังกะสี Ø 3 นิ้ว (ตามแบบ)
3) วาล์วxxxxxxxทองเหลือง Ø 3 นิ้ว (ตามแบบ)
4) นิปxxxxxเหล็กเคลือบสังกะสี Ø 3 นิ้ว (ตามแบบ)
5) ติดตั้ง Flow switch ขนาด 3 นิ้ว (ตามแบบ)
6) ประตูน้ำ(xxxวาล์ว)ทองเหลือง Ø 3 นิ้ว (ตามแบบ)
7) สามทางท่อเหล็กเคลือบสังกะสี Ø 3 นิ้ว (ตามแบบ)
แบบ)
8) ข้องอลดเกลียวในเหล็กเคลือบสังกะสี 90 องศา ขนาด 3 นิ้ว ลด 2 นิ้ว (ตาม
9) ข้องอ 90 องศา เหล็กเคลือบสังกะสี Ø 3 นิ้ว หรือ 6 นิ้ว (ตามแบบ)
10) ท่อที่ต่อจากปากบ่อน้ำบาดาลไปยังถังเหล็กเก็บน้ำ ต้องฝังให้ลึกจากผิวดินให้
เป็นไปตามแบบกำหนด การกลบดินให้ใช้ทรายและดินxxxxxxxขุดขึ้นมากลบกลับลงไปตามแบบกำหนด ห้ามใช้ หินหรืออิฐหรือวัสดุอื่นใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ก่อนทำการกลบดิน
11) ให้ผู้รับจ้างทำการขุดแนววางท่อและฝังกลบ ตามที่ผู้ควบคุมงานของผู้xxxxxxx
กำหนด
จบข้อ 6.2.2
6.2.3 คุณลักษณะเฉพาะงานก่อสร้างฐานรากและติดตั้งถังเหล็กขนาดความจุ 500
ลูกบาศก์เมตร ความสูง 7.5 เมตร
1) เป็นถังเหล็กเก็บน้ำ รูปแบบทรงกระบอกหลังคาทรงกรวยมีขนาดความจุไม่น้อยกว่า 500 xx กบาศก์เมตร ความสูงของถังประมาณ 7.5 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9.3 เมตร โดยหอถังเหล็กเก็บน้ำ ต้องออกแบบตามมาตรฐาน API Standard 650 ทั้งนี้โรงงานผู้ผลิตต้องได้รับการ รับ รองมาตรฐานระบบจัดการอาชีวxxxมั ยและความปลอดภัย ISO 45001:2018, มาตรฐาน AISC(American Institute of Steel ConstructionCertification), มาตรฐาน AWS (American Welding Society Certification) หรือมาตรฐาน EWF (European Federation for Welding, Joining and Cutting) และโรงงานผู้ผลิตจะตองผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015
2) วัสดุสร้างหอถัง xxxxxxxxเหล็กกล้าxxxxxxx เกรด SS-400 (มอก.1479-2558)
3) ทางน้ำเข้าหอถัง จำนวน 5 ชุด โดยติดตั้งทางน้ำเข้าสูงจากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตรโดยทำเป็นหน้าแปลนเหล็กเหนียวมาตรฐาน JIS10K ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80 มิลลิเมตร (ขนาด 3 นิ้ว) จำนวน 5 ชุด ภายนอกหอถังเชื่อมต่อกับท่อเหล็กเหนียว (มอก.427 หรือเทียบเท่า) ขนาดxxxxxxxx ศูนย์กลาง 80 มิลลิเมตร (ขนาด 3 นิ้ว) จำนวน 5 ชุด เดินขึ้นไปบนถังให้ท่อทางน้ำเข้าถังสูงจากฐานหอถังไม่ น้อยกว่า 660 เซนติเมตร การเดินท่อต้องติดตั้งถูกต้องตามหลักวิชาการ
4) ทางน้ำออกหอถัง จำนวน 1 ชุด โดยติดตั้งทางน้ำออกสูงจากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตรโดยทำเป็นหน้าแปลนเหล็กเหนียว ตามมาตรฐาน JIS10K ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 200 มิลลิเมตร (ขนาด 8 นิ้ว) จำนวน 1 ชุดการเดินท่อต้องติดตั้งถูกต้องตามหลักวิชาการ
5) ทางน้ำออกเชื่อมต่อระหว่างถังเหล็กเก็บน้ำ จำนวน 1 ชุด โดยติดตั้งทางน้ำออกสูง จากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร โดยทำเป็นหน้าแปลนเหล็กเหนียว ตามมาตรฐาน JIS10K ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 200 มิลลิเมตร (ขนาด 8 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด การเดินท่อต้องติดตั้งถูกต้องตามหลักวิชาการ
6) ทางน้ำล้น จำนวน 1 ชุด โดยติดตั้งปลายท่อทางน้ำล้นสูงจากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร โดยทำเป็นข้อต่อเหล็กเหนียวแบบเกลียวในตามมาตรฐาน BSPT ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร (ขนาด 4 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด ภายนอกหอถังเชื่อมต่อกับท่อเหล็กเหนียว (มอก.427 หรือเทียบเท่า
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร (ขนาด 4 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด เดินขึ้นไปบนถัง ให้ท่อทางน้ำล้นถังต่อ สูงจากฐานหอถังประมาณ 670 เซนติเมตร การเดินท่อต้องติดตั้งถูกต้องตามหลักวิชาการ
7) ทางน้ำทิ้ง จำนวน 1 ชุด โดยติดตั้งทางน้ำทิ้งใกล้กับฐานหอถัง โดยทำเป็นข้อต่อ เหล็กเหนียวแบบเกลียวในตามมาตรฐาน BSPT ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร (ขนาด 4 นิ้ว) พร้อม ประตูน้ำทองเหลือง (Gate Valve) จำนวน 1 ชุดการเดินท่อต้องติดตั้งด้วยความชำนาญ
8) ท่อระบายอากาศ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว จำนวน 1 ชุด ภายนอกเชื่อมข้องอ 180 องศา พร้อมตะแกรงกันแมลง
9) ทางคนลอดเข้า-ออก (Manhole) ขนาด 600 มิลลิเมตร จำนวน 1 ชุด บริเวณ ด้านล่างหอถังเหล็ก โดยxxxxxxxxทางคนลอดสูงกว่าระดับแผ่นฐาน 80 เซนติเมตร
10) ทางคนลอดเข้า-ออก (Roof Manhole) ขนาด 600 มิลลิเมตร จำนวน 1 ชุด
11) บันไดภายนอก พร้อมราวกันตก ทำจากเหล็กเหนียว จำนวน 1 ชุด
12) บันไดภายในถังทำจากxxxxxxx เกรด 304 ความยาว 7.50 เมตรจำนวน 1 ชุด
13) ราวกันตกด้านบนหอถัง เส้นผ่านศูนย์กลาง 9.3 เมตร จำนวน 1 ชุด
14) สวิทซ์ควบคุมระดับน้ำ (Pressure Control) และเครื่องวัดแรงดัน (Pressure Gauge) ติดตั้งไวในกล่องเหล็กมาตรฐานบริเวณด้านล่างหอถัง โดยสูงจากฐานหอถังประมาณ 120 เซนติเมตร
- สวิทซ์ควบคุมระดับน้ำ แบบมีสเกลแสดงxxxxการวัด (Range) xxxxxxปรับต่อให้ (Cut In) และให้ตัด (Cut Out) หน้าปัดแสดงหน่วยวัด 2 หน่วย เป็นหน่วย psi และ kpa xxxxxxปรับตั้งเพื่อ ตัดการทำงานที่ความดันน้ำระหว่าง 2-15 psi หรือ 15-100 kpa มีสวิทซ์สะพานไฟฟ้า โดยปรับตั้งระดับน้ำ ให้เครื่องสูบน้ำทำงานที่ระดับน้ำลดลงไม่ต่ำกว่า 2 เมตร นับจากแผ่นเหล็กฐานหอถัง และให้เครื่องสูบน้ำหยุด การทำงานที่ระดับน้ำไม่เกินกว่าระดับความสูงของท่อน้ำล้นเป็นไปอย่างอัตโนมัติ และเป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับการ รับรองจากมาตรฐาน ANSI, NEMA, JIS, UL หรือ SA
- เครื่องวัดแรงดัน (Pressure Gauge) ขนาดหน้าปัดไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว (50 มิลลิเมตร) xxxxxxอ่านค่าความดันน้ำในหอถังที่ระดับ 0-4 kg/cm2 (60psi) หรือที่ความสูง 5-30 เมตร ได้ อย่างชัดเจน
15) มาตรวัดระดับน้ำเป็นแบบท่อน้ำใส PFA ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร ต่อกับวาล์ว 2 ตัว มีแผ่นสเกลอ่านได้จากภายนอก
16) การทาสี ให้xxxxxxการตามกรรมวิธีของผู้ผลิตสี หรือตามหลักวิชาการงานทาสี
- พื้นที่ภายในหอถัง ผิวโลหะให้ขัดรอยต่อเชื่อม ให้เรียบปราศจากสนิม ทำความ สะอาดผิวหน้าไม่ให้มีไขมันหรือน้ำมันจับทาสีรองพื้นอีพ๊อกซี่สำหรับเคลือบท่อเหล็กกล้าส่งน้ำบริโภค ที่ผลิต ตามมาตรฐาน มอก.1048-2551 จำนวน 3 ครั้ง
- พื้นที่ภายนอกหอถัง ผิวโลหะให้ขัดรอยต่อเชื่อม ให้เรียบปราศจากสนิม ทำ ความสะอาดผิวหน้าไม่ให้มีไขมันหรือน้ำมันจับแล้วทาสีรองพื้นกันสนิมประเภท Anti-corrosive primer Pigmented จำนวน 2 ครั้งทาทับหน้าด้วยสีประเภท Alkyd Based Semi-Gloss Enamel จำนวน 2 ครั้ง
17) การก่อสร้างฐานรากถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ให้ xxxxxxการตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด การติดตั้งถังเหล็กเก็บน้ำ ต้องตั้งอยู่บนฐานxxxxxxxxxx
- ให้ใช้ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดตอกเสาเข็ม โดยใช้เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง รูปสี่เหลี่ยมตันขนาด 0.20 เมตร x 0.20 เมตร ยาว 16 เมตรหรือดีกว่า xxxxxxรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย ไม่น้อยกว่า 25 ตันต่อต้น จำนวนไม่น้อยกว่า 81 ต้น ความยาวของเสาเข็มให้วิศวกรโยธาที่ทำการทดสอบ SPT เป็นผู้คำนวณและรับรองผลการคำนวณออกแบบเสนอ และให้ผู้รับจ้างxxxxxxการตามที่วิศวกรโยธา คำนวณออกแบบให้ โดยตอกxxxxxxทั่วฐานของคอนกรีต และให้เหล็กเสาเข็มผูกยึดติดกับเหล็กตะแกรงของ ฐานคอนกรีต โดยที่ฐานรากทั้งหมดฝังอยู่ใต้ดินการก่อสร้างฐานรากทั้งหมดจะต้องก่อสร้างสถานที่ก่อสร้าง ระบบประปาบาดาลเท่านั้น กรณีความยาวของเสาเข็มที่คำนวณให้รับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยไม่น้อยกว่า 25 ตันต่อต้น มีความยาวมากกว่า 16 เมตร ให้ผู้รับจ้างเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมด
- การทดสอบความxxxxxxรับน้ำหนักของดินรองรับฐานรากให้ทำการทดสอบ โดยมีวิศวกรผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาโยธา ไม่ต่ำกว่าระดับสามัญวิศวกร เป็น ผู้ทำการทดสอบ และให้ส่งผลการทดสอบ รายการคำนวณพร้อมทั้งลงนามรับรองถึงผู้ควบคุมงาน ก่อนเข้า xxxxxxการก่อสร้างฐานราก รวมทั้งให้แนบรายงานผลการทดสอบในการส่งมอบงานด้วย โดยผู้รับจ้างเป็นผู้รับ ภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมด
จบข้อ 6.2.3
6.2.4. คุณลักษณะเฉพาะงานติดตั้งอาคารสูบน้ำสำเร็จรูปพร้อมปั้มหอยโข่งชนิด Vertical Multistage ขนาด 20 แรงม้า พร้อมระบบควบคุม
1) อาคารสูบน้ำเป็นอาคารสำเร็จรูป ลักษณะอาคารโรงบรรจุเครื่องสูบน้ำและชุดควบคุม ให้ผู้รับจ้างเสนอแบบให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นชอบก่อนก่อสร้างหรือติดตั้งโรงสูบน้ำ เป็นตู้คอน เทรนเนอร์สำเร็จรูป กว้าง 3.5 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 2.5 เมตร พร้อมxxxxxสด้านหน้ายื่น 1.5 เมตร เพื่อ ป้องกันแดดและฝน และxxxxxxเคลื่อนย้ายได้โดยการหิ้ว และต้องผลิตจากโรงงานผู้ผลิตxxxxxxรับมาตรฐาน ISO 9001:2015 ขอบข่ายการผลิตและจำหน่ายตู้คอนเทนเนอร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบโรงงาน (รง 4)
(1) โครงสร้าง ผลิตด้วยเหล็กรูปพรรณขึ้นรูปหนา 6 มิลลิเมตร ป้องกันสนิมและ การผุกร่อน เชอมต่อกันทุกจุดพร้อมหูสำหรับยกเคลื่อนย้ายได้ (Pad eye)
(2) ผนัง เป็นเหล็กแผ่นขึ้นรูปเป็นลอน หนา 2.0 มิลลิเมตร กรุxxxxกันความxxxx
(3) พื้น ทำด้วยเหล็กแผ่นลาย หนา 4.0 มิลลิเมตร เคลือบป้องกันการกัดกร่อน โดยผลิตมาจากเหล็กรูปพรรณชุบxxxxxวาไนซ์ (HDG) เป็นไปตามมาตรฐาน ASTM A123
(4) ประตู ติดตั้งประตูกระจกบานสวิงบานคู่ ขนาด 1,000x1,000x2,200
มิลลิเมตร จำนวน 1 ชุด
(5) ติดตั้งหน้าต่าง
- หน้าต่างกระจกบานเลื่อน ขนาด 900x1,200 มิลลิเมตร จำนวน 1 ชุด
- หน้าต่างกระจกบานเกล็ด ขนาด 500x1,300 มิลลิเมตร จำนวน 2 บาน
(6) งานทำสี เตรียมพื้นผิวโดยวิธีการกำจัดสนิมและทำสีด้วยสีกันสนิมด้วย Epoxy
และทับหน้าด้วยสี Polyurethane ความหนาสีตามมาตรฐานผู้ผลิต
ระบบไฟฟ้า
- ตู้โหลดเซ็นเตอร์แบบตู้ติดลอยชนิดเหล็ก สำหรับติดตั้งลูกเซอร์กิตเบรกเกอร์ 1 เมน
4 ย่อย ภายในอาคาร ดังนี้
1) เบรกเกอร์เมน มีกระแสไม่น้อยกว่า 30 A
2) เบรกเกอร์ย่อย สำหรับพัดลมดูดอากาศติดผนัง ขนาด 8 นิ้ว จำนวน 1 ชุด
3) เบรกเกอร์ย่อย สำหรับไฟฟ้าแสงสว่าง ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างภายในโรงสูบน้ำ ขนาดไม่น้อยกว่า 36 W จำนวน 4 จุด
2) รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเครื่องสูบน้ำชนิด (Vertical Multistage)สำหรับสูบ น้ำขึ้นหอถัง ขนาด 20 แรงม้า เป็นเครื่องสูบน้ำชนิดสูบน้ำผิวดิน (Serface pump) ชนิด Vertical multistage พร้อมมอเตอร์ขนาด 20 แรงม้า เป็นเครื่องสูบแบบ Multistage Pump เครื่องสูบน้ำและมอเตอร์ จะต้องเป็นผลิตภัณฑ์จากโรงงานxxxxxxรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO9001:2015 และมีเครื่องหมาย CE หรือ UL บนผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
(1 ) เรือนเครื่องสูบน้ำ (Pump Casing) ประกอบด้วย เพลา (Shaft) xxxxx (Impeller) ครีบ ผัน น้ ำ (Diffuser) ทำจากเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel, D/N W-Nr. 1.4301, 1.4308, AISI 304, AISI 431 หรือดีกว่า)
(2) มีกราฟแสดงลักษณะการทำงาน (Performance Curve) หรือตารางแสดง สมรรถนะการทำงานและความxxxxxxในสูบน้ำต้องไม่น้อยกว่า 70 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ที่แรงส่งรวม (Total Dynamic Head) ไม่น้อยกว่า 50 เมตร และประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องสูบไม่น้อยกว่า 75%
(3) มอเตอร์ที่ใช้กับไฟฟ้า 3 เฟส 380/600 โวลท์ 50 เฮิร์ท ให้กำลังไม่น้อยกว่า
20 แรงม้า (15 กิโลวัตต์) ที่ความเร็วรอบไม่เกิน 3,000 รอบ/นาที
(4) Mechanical Seal ออกแบบให้xxxxxxใช้งานกับน้ำ ที่อุณหภูมิใช้งานสูงสุด 110 0C
(5) ค่า NPSHr ของเครื่องสูบน้ำ ณ จุดทำงาน ไม่เกิน 3.0 เมตร
(6) มอเตอร์เป็นแบบ TEFC (Totally Enclosed, Fan-Cooled), Insulation Class F มีระดับป้องกัน IP55 หรือสูงกว่า
(7) ประสิทธิภาพมอเตอร์ ระดับ IE3
3) ระบบแท่นฐานที่รองรับชุดเครื่องสูบน้ำ ประกอบดวย
(1) ท่อทางดูดเครื่องสูบน้ำ ประกอบด้วย
รั่วซึม
- หน้าแปลนประกบที่เชื่อมต่อกับข้อต่อท่อเกลียวเพื่อความแข็งแรงและป้องกันการ
- Silent Check Valve ชนิด Wafer type ที่ให้ปริมาณน้ำสูงผ่านได้โดยมี Friction
loss ที่ต่ำมาก โดยลิ้นวาล์ววิ่งขึ้นลงตาม Valve Guide และดันกลับด้วยระบบสปริงตัวเรือนทำจากเหล็กหล่อ ,
ลิ้นวาล์วทำจาก Stainless 304 หรือ Bronze และแหวนผลิตจาก Bronze โดยซีลของวาล์วเป็นยางและ xxxxxxถอดเปลี่ยนได้โดยต้องxxxxxxรับแรงดันใช้งานไม่น้อยกว่า 10 บาร์
- ข้อต่อท่อเกลียวที่ประกบตัวประตูน้ำปีกผีเสื้อด้วยหน้าแปลนทั้ง 2 ด้านของตัว
ประตูน้ำด้วยระบบเชื่อม
- ประตูน้ำปีกผีเสื้อที่มีแผ่น Valve เป็นปีกผีเสื้อ ซึ่งxxxxxxให้ปริมาณน้ำผ่านเข้า
ออกในปริมาณมากได้โดยลิ้นปีกผีเสื้อทำจากวัสดุxxxxxxxอย่างดี
(2) ท่อดูดร่วม (Suction Header) ขนาด 8 นิ้ว
- ทำจากท่อเหล็ก Galvanize High Strength xxxxxxด้วย Galvanize หนาพิเศษ เพื่อป้องกันการเกิดสนิม เชื่อมติดหัวท้ายด้วยหน้าแปลน PN16
- หน้าแปลนประกบตาบอด 1 ชิ้น ปิดการไหลของน้ำ 1 ด้าน ขนาด 8 นิ้ว PN16
- ท่อ Flexible แบบ Stainless Steel ชนิดหน้าแปลนขนาด 8 นิ้ว PN16
- หน้าแปลนประกบบนท่อ Flexible ขนาด 8 นิ้ว PN 16
(3) ท่อส่งร่วม (Discharge Header) ขนาด 8 นิ้ว
- ทำจากท่อเหล็ก Galvanize High Strength xxxxxxด้วย Galvanize หนาพิเศษ เพื่อป้องกันการเกิดสนิม เชื่อมติดหัวท้ายด้วยหน้าแปลน PN16
- หน้าแปลนประกบตาบอด 1 ชิ้น ปิดการไหลของน้ำ 1 ด้าน ขนาด 8 นิ้ว PN16
- ท่อ Flexible แบบ Stainless Steel ชนิดหน้าแปลนขนาด 8 นิ้ว PN16
- หน้าแปลนประกบบนท่อ Flexible ขนาด 8 นิ้ว PN16
(4) ท่อทางส่งของเครื่องสูบน้ำ ประกอบด้วย
- หน้าแปลนประกบ PN16 ขนาด 4 นิ้ว เชื่อมต่อด้วยข้อต่อท่อตรงที่มีการเชื่อมต่อ ด้วยข้อต่อขนาด 4 หุน เพื่อติดตั้งxxxวาล์วและ Pressure Gauge โดยกลึงเกลียวด้านปลาย
- Pressure Gauge ขนาด 4 นิ้ว Body เป็น Stainless ทั้งตัวชนิดมีน้ำมัน Glycerin
เพื่อป้องกันสั่นของเข็มในตัวเกจ
- xxxวาล์ว 4 หุน เพื่อเปิด ปิดการทำงานของ Pressure Gauge
- Check Valve เป็นชนิด Disco ที่ให้ปริมาณน้ำสูงไหลผ่านได้โดยมี Friction loss ที่ต่ำ ลิ้นวาล์วจะวิ่งขึ้นลงโดยใช้ตัวเรือนเป็น Guide และมีสปริงช่วยในการดันปิด, ตัววาล์วจะมี Spring Cap เพื่อจัดตำแหน่งของสปริงให้อยู่ในตำแหน่งxxxxxxxx ชิ้นส่วนวาล์วผลิตจากxxxxxxxทุกชิ้นเพื่อป้องกันสนิมและ วาล์วจะต้องทนแรงดันได้สูง PN 50
- ข้อต่อท่อเกลียวที่ประกบตัวประตูน้ำปีกผีเสื้อด้านหน้าแปลนทั้ง 2 ด้าน ของ
ประตูน้ำด้วยระบบเชื่อม
- ประตูน้ำปีกผีเสื้อที่มีแผ่น Valve เป็นแบบปีกผีเสื้อ ซึ่งxxxxxxให้ปริมาณน้ำผ่าน
เข้าออกในปริมาณมากได้โดยปีกผีเสื้อทำจากวัสดุxxxxxxxอย่างดี
- Pressure Transmitter เพื่อบอกระดับน้ำในหอถังสูงเก็บน้ำ โดยจะต้องมีสัญญาณ
Analog 4-20mA
(5) แท่นฐานเหล็กที่รองรับเครื่องสูบน้ำทั้ง 2 ชุดและอุปกรณ์ ทำจากเหล็ก U-
Channel ขนาด 8 xxxx xxxมีคุณภาพ Tensile Strength สูงxxxxxxxxxxบิดงอเมื่อยึดด้วยอุปกรณ์การยึดใดๆ
4) ตู้ควบคุมการทำงานเครื่องสูบน้ำชนิด Vertical Multistage สำหรับสูบน้ำขึ้นหอถัง สูงจำนวน 1 ชุด สำหรับควบคุมการทำงานเครื่องสูบน้ำชนิด Vertical Multistage จำนวน 2 เครื่อง
(1) รายละเอียดทั่วไปรายการข้อกำหนดระบบไฟฟ้ากำลังทั่วไป ใช้สำหรับมอเตอร์ ไฟฟ้า ขนาด 20 แรงม้า ใช้กับไฟ 3 เฟส 380 โวลท์ 50 เฮิร์ตช์
(2) ตู้ควบคุมการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า แบบ STAR – DELTA ทำด้วยเหล็กแผ่น พับขึ้นรูป มีฝาปิด-เปิดด้านหน้าพร้อมกุญแจล็อค ตัวตู้เป็นชนิดติดตั้งภายในอาคาร มีขนาดxxxxxxxxxxจะใส่ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ทำให้ตู้ควบคุมทำงานได้อย่างxxxxxxx ผ่านกรรมวิธีล้างทำความสะอาดและพ่นทับด้วยสีฝุ่น EPOXY โดยจะต้องผลิตจากโรงงานผลิตตู้สวิทซ์บอร์ด xxxxxxรับมาตรฐาน ISO 9001:2015 และมาตรฐาน มอก. 1436/2540
(3) ระบบควบคุมภายในตู้ประกอบเป็นวงจร STAR - DELTA จะต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานxxxxxx ประกอบด้วยอุปกรณ์ ดังนี้
- สวิทซ์ตัดตอนอัตโนมัติ เป็นชนิด Molded Case Circuit Breaker ชนิด 3 Pole มีค่า Interrupting Capacity (Icu) ไม่น้อยกว่า 25 KA ที่ 380 โวลท์และค่า Ampare Trip 100 AT เป็น Main Breaker จำนวน 1 ตัว
- มีBreaker ย่อย ( Branch Breaker ) มีค่า Interrupting Capacity (Icu) ไม่น้อยกว่า
10KA ที่ 380V และค่า Ampare Trip 50AT ป้องกัน สำหรับมอเตอร์ในตู้ควบคุมให้ครบทุกตัว
- Magnetic Contactor สำหรับ Main Contactor , Delta Contactor และ Star Contactor เป็นชนิด 3 ขั้ว 50 เฮิร์ทซ์ ควบคุมการทำงานด้วยระบบไฟฟ้า 220 โวลท์ 50 เฮิร์ท โดยมี ค่า Max. Rated Current ( ชนิด AC3 ) ที่ 380 ~ 440 VAC ของ Contactor ทุกตัว ตามมาตราฐาน JIS C8201-4-1 And JEM1038 และ IEC 00000-0-0 ไม่น้อยกว่าค่า Full Load Current ของมอเตอร์ พร้อมมีอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง สำหรับประกอบเป็นวงจรแบบ STAR – DELTA
- Thermal Overload Relay xxxxxxปรับค่ากระแสให้เหมาะกับขนาดมอเตอร์ได้ และเป็นชนิด Manual Reset
- Motor Protector ใช้กับไฟฟ้า 3 เฟส 380 โวลท์ ป้องกันมอเตอร์ในกรณี ดังนี้
- แรงดันไฟฟ้าไม่xxxxxหรือขาดเฟส (Unbalanced Voltage/PhaseLoss) โดย จะต้องปรับค่าได้ และรีเซ็ตอัตโนมัติเมื่อเหตุการณ์xxxxxxxxxx
- แรงดันไฟฟ้าเกิน (Over Voltage) ปรับค่าได้ 10~20%
- แรงดันไฟฟ้าตก (Under Voltage) ปรับค่าได้ 2~20 %
- ตั้งค่าหน่วงเวลาตัดได้ (Time Delay Off) ปรับค่าได้ 0 - 5 วินาที
- xxxxxxเลือกแรงดัน input ระหว่าง 380 Vac, 400 Vac และ 415 Vac
- ฟิวส์xxxxx จำนวน 3 ตัว ไว้ในตู้ควบคุม
- Power Meter ใช้อ่าน ค่ าแรงดันไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, พ ลั งงาน ที่ ใช้ไป
โดยเป็นหน้าจอ LCD
- Fuse Control ชนิด Rack Type พร้อมลูกฟิวส์ขนาด 10x38 ม.ม. 4 Amp
- Selector Switch ชนิดปิด-เปิดได้ 3 ตำแหน่ง มีxxxxxเลือก MAN – OFF – AUTO
- Push Button สำหรับ Start – Stop
- หลอดไฟ ( Pilot Lamp ) แสดงสถานะของเครื่องสูบน้ำ ชนิดใช้กับระบบไฟฟ้า 220 โวล ท์ ไส้ หลอดเป็นชนิดหลอด LED โดยให้ สี ของหลอด ( Run สี xxx ยว ), ( Stop ห รือ น้ำแห้งสีแดง ), ( Overload สีxxxxxx ), ( มีกระแสไฟ สีขาว )
- แรงดันไฟฟ้าที่ต่อไปยังสวิทซ์ลูกลอย ( Float Switch ) จะต้องไม่ถูกต่อเข้ากับไฟ 220 VAC โดยตรง จะต้องใช้วิธีต่อผ่านอุปกรณ์เพื่อให้แรงดันไฟฟ้าต่ำเท่านั้น เพื่อความปลอดภัยจากการถูก ไฟฟ้าดูด
- วงจร Control ใช้สายชนิด H05V-K,H07V-Kขนาดไม่น้อยกว่า 1 ตาราง มิลลิเมตรเดินในรางพลาสติก ( Wire Duct ) การเดินสายระหว่างอุปกรณ์ฝาตู้กับในตู้ ให้ใช้อุปกรณ์ท่อกระดูกงู และปลายสายไฟต้องย้ำด้วยหางปลาและใช้ปลอก Wire Marker เป็น PVC สีขาวพิมพ์ตัวxxxxxสีดำ ติดที่ปลาย สายทั้ง 2 ข้างด้วย
ไม่เกิน 450/750โวลท์ พร้อมกับตู้ควบคุม
- สาย Power ใช้สายชนิด THW ขนาดตามมาตราฐาน มอก. 11-2553 แรงดัน
- ต้องมีผังวงจรไฟฟ้า คำอธิบายวิธีการใช้งาน xxxxxxxต่าง ๆ เป็นภาษาxxxxx
5) การทำงานของเครื่องสูบน้ำชนิด Vertical Multistage
(1) ต้องออกแบบวงจรไฟฟ้า ให้เครื่องสูบน้ำ ทั้ง 2 ตัว ทำงานร่วมกับ สวิตซ์แรงดัน ( Pressure Switch/Transmitter ) ที่ถังเก็บน้ำ และ สวิทซ์แรงดัน ( Pressure switch ) ที่หอถังสูงเก็บน้ำชนิด รักษาแรงดันโดยให้ทำงานเป็นระบบ Manual และ Automatic โดยมี Circuit Breaker ป้องกันครบตาม จำนวนเครื่องสูบน้ำทั้ง 2 ตัว และให้เครื่องสูบน้ำทั้ง 2 ตัว สลับกันเป็นตัวหลัก ในการทำงานแต่ละรอบการ ทำงาน
(2) กรณีระดับน้ำในถังเก็บน้ำ มีระดับต่ำกว่าระดับที่ตั้งไว้ เครื่องสูบน้ำจะ ไม่ทำงาน พร้อมทั้งมีสัญญาณไฟเตือน และจะทำงานได้เมื่อระดับน้ำxxxxxxสู่สภาวะxxxxเพื่อป้องกันปั้ม Run dry
(3) การทำงาน ระบบแมนนวล ( Manual ) จะเป็นการปิด-เปิด โดยการกดปุ่มเปิด
( Start ) และปิด ( Stop ) เอง จากหน้าตู้ควบคุมเครื่องสูบน้ำ
(4) การทำงานของระบบ Automatic ใช้สวิทซ์แรงดัน ( Pressure Switch/ Transmitter ) ควบคุมการทำงานเครื่องสูบน้ำ
- เครื่องสูบน้ำทั้ง 2 ตัว xxxxxxเลือกให้ทำงานตัวใดตัวหนึ่ง หรือ สลับกันทำงานได้
- เครื่องสูบน้ำทั้ง 2 ตัว จะสลับรอบการทำงานกัน
- เครื่องสูบน้ำทั้ง 2 ตัว จะทำงานพร้อมกัน เมื่อมีปริมาณการใช้น้ำมาก
- หากเครื่องสูบน้ำเครื่องใดเครื่องหนึ่ง Fault เครื่องสูบน้ำอีกเครื่องจะทำงานแทน
อัตโนมัติ
- มี Function ป้องกันเครื่องสูบน้ำ Run dry โดยใช้ร่วมกับ Flow Switch
- ระบบจะตรวจสอบน้ำในถังเก็บน้ำบนดิน ถ้าระดับน้ำต่ำกว่าที่กำหนด
จะสั่งตัดการทำงานของเครื่องสูบน้ำ
- เมื่อxxxxสั่งให้ปั้มทำงาน เครื่องสูบน้ำจะค่อยๆxxxxxรอบจนถึงรอบสูงสุด โดยมอเตอร์ จะต้องไม่กระชากระหว่างเริ่มทำงาน
- ในขณะxxxxxxxสั่งหยุดการทำงาน เครื่องสูบ น้ ำจะต้องค่อยๆลดรอบลง และหยุด โดยจะต้องxxxxxxปรับตั้งเวลาหน่วงการหยุดได้ เพื่อป้องกันอุปกรณ์เสียหายเนื่องจากการกระแทก ของน้ำ Water Hammer
จบข้อ 6.2.4
6.2.5 คุณลักษณะงานติดตั้งxxxxxxไฟฟ้า Distribution Board
1) รายละเอียดทั่วไป
รายการข้อกำหนดระบบไฟฟ้ากำลังทั่วไป ใช้สำหรับแรงดันไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย 380/220 Volt. 50 Hz
2) ตู้ควบคุม
ทำด้วยเหล็กแผ่น พับขึ้นรูป มีฝาปิด-เปิดด้านหน้าพร้อมกุญแจล็อค ตัวตู้เป็นชนิดติดตั้ง ภายใน หรือ ภายนอกอาคาร ตามความเหมาะสมในสถานที่ก่อสร้าง มีขนาดxxxxxxxxxxจะใส่อุปกรณ์ต่างๆ ที่ ทำให้ตู้ควบคุมทำงานได้อย่างxxxxxxx ผ่านกรรมวิธีล้างทำความสะอาดและพ่นทับด้วยสีฝุ่น EPOXY โดย จะต้องผลิตจากโรงงานผลิตตู้สวิทซ์บอร์ด xxxxxxรับมาตราฐาน ISO 9001:2015 และมาตราฐาน มอก.1436/2540
3) อุปกรณ์ประกอบภายในตู้ จะต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานxxxxxx ประกอบด้วยอุปกรณ์ดงนี้
(1) สวิทซ์ตัดตอนอัตโนมัติตัวเมน ( MAIN BREAKER ) เป็นชนิด Molded Case Circuit Breaker ชนิด 3 Pole มีค่า Interrupting Capacity( Icu ) ไม่น้อยกว่า 30KA ที่ 380V. และค่า Ampare Trip 150AT เป็น Mian Breaker 1 ตัว
(2) สวิทซ์ตัดตอนอัตโนมัติ ตัวย่อย ( Branch Breaker) เป็นชนิด Molded Case Circuit Breaker ชนิด 3 Pole มีค่า Interrupting Capacity( Icu ) ไม่น้อยกว่า 25KA ที่ 380V. และค่า Ampare Trip100AT จำนวน 1 ตัว
(3) สวิทซ์ตัดตอนอัตโนมัติ ตัวย่อย ( Branch Breaker) เป็นชนิด Molded Case Circuit Breaker ชนิด 2 Pole มีค่า Interrupting Capacity ( Icu ) ไม่น้อยกว่า 10KA ที่ 220V. และค่า Ampare Trip 25AT จำนวน 11 ตัว
(4) โวลท์มิเตอร์ จะต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 96 X 96 มม. มีสเกลอ่านค่าได้ตั้งแต่ 0 ~ 500 โวลท์ xxxxxxวัดค่าแรงดันไฟฟ้าxxxxxxxจาก เฟสถึงเฟส และ จากเฟสถึงนิวตรอล xxxxxxx 3 เฟส
(5) แอมป์มิเตอร์ จะต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 96 X 96 มม. ต่อผ่านหม้อแปลง กระแส xxxxxxวัดกระแสได้ตามพิกัดของขนาดมอเตอร์ที่ติดตั้งทั้งหมด และอ่านค่าxxxxxxx 3 เฟส
(6) หลอดไฟ ( Pilot Lamp ) แสดงแรงดันไฟฟ้าแต่ละเฟส ชนิดใช้กับไฟระบบ ไฟฟ้า 220 โวลท์ ไส้หลอดเป็นชนิดหลอด LED ประกอบด้วยฝาครอบ สีxxx xxxxxxxx สีน้ำเงิน ตามลำดับ หรือฝาครอบสีขาว ทั้ง 3 เฟส
(7) บัสบาร์ทองแดง จะต้องเป็นทองแดงขนาดทนกระแสได้ตามพิกัดเบรคเกอร์ และบัสบาร์นิวตรอล และ บัสบาร์กราวน์ ขนาดเท่าเมนบัสบาร์ ยึดด้วยลูกถ้วยxxxx xxxออกแบบให้xxxxxxทน กระแสลัดวงจรได้โดยไม่เกิดความเสียหาย บัสบาร์ต้องมีสีกำกับด้วย สีน้ำตาล สีดำ สีเทา ตามลำดับ xxxxx สำหรับนิวตรอล และสีเขียว สำหรับบาร์กราวน์
จบข้อ 6.2.5
6.2.6 คุณลักษณะงานก่อสร้างฐานรากพร้อมติดตั้งหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน ขนาดความจุ 300 ลูกบาศก์เมตร ความxxxxxxหอถัง 30 เมตร
1) เป็นหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดันสำเร็จรูป รูปแบบทรงแชมเปญ มีขนาดความ จุที่หัวถัง 300 ลูกบาศก์เมตร ระดับความxxxxxxหัวถัง 30 เมตร xxxxxxถอดประกอบและเคลื่อนย้ายได้ โรงงานผู้ผลิตต้องได้รับการับรองมาตรฐานมาตรฐาน ISO 9001:2015, มาตรฐาน AISC (American Institue of Steel Construction Certification) และได้ รับ การรับ รองมาตรฐาน AWS (AMERICAN WELDING SOCIETY) หรือมาตรฐาน EWF (European Federation for Welding, Joining and Cutting)
2) วัสดุสร้างหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน xxxxxxxxเหล็กกล้าxxxxxxx เกรด SS - 400 (มอก.1479 - 2558) (แนบหลักฐานการรับรองมาพร้อมการส่งงาน)
3) ทางน้ำเข้า ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 นิ้ว จำนวน 1 ชุด ภายนอกติดตั้งทางน้ำเข้า สูงจากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร โดยทำเป็นหน้าแปลนเหล็กเหนียว มาตรฐาน JIS 10K ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 200 มิลลิเมตร (ขนาด 8 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด ภายในหอถังส่วนล่างของหอถังxxxxxxได้แช่น้ำ ต่อท่อเหล็กเหนียวเบอร์ 40 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 200 มิลลิเมตร (ขนาด 8 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด เชื่อมต่อ กับท่อภายในหอถังส่วนบนxxxxxxน้ำต่อด้วยท่อxxxxxx ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17-2561 ชั้น คุณภาพ 13.5 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 200 มิลลิเมตร (ขนาด 8 นิ้ว) ความสูงจากแผ่นรับน้ำประมาณ 6 เมตร จำนวน 1 ชุด การเดินท่อต้องติดตั้งถูกต้องตามหลักวิชาการ
4) ทางน้ำออก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 นิ้ว จำนวน 2 ชุด ภายนอกติดตั้งทางน้ำออก สูงจากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร โดยทำเป็นหน้าแปลนเหล็กเหนียว มาตรฐาน JIS10K ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 200 มิลลิเมตร (ขนาด 8 นิ้ว) จำนวน 2 ชุด ภายในหอถังส่วนล่างของหอถังต่อ ท่อเหล็กเหนียวเบอร์ 40 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 200 มิลลิเมตร (ขนาด 8 นิ้ว) จำนวน 2 ชุด เชื่อมต่อกับ แผ่นรับน้ำ การเดินท่อต้องติดตั้งถูกต้องตามหลักวิชาการ
5) ทางน้ำล้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 นิ้ว จำนวน 1 ชุด ภายนอกติดตั้งทางน้ำล้นสูง จากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร โดยทำเป็นข้อต่อเหล็กเหนียวแบบเกลียวนอก มาตรฐาน BSPT ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร (ขนาด 2 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด ภายในหอถังส่วนล่างของหอถัง xxxxxxได้แช่ น้ำต่อท่อเหล็กเหนียวเบอร์ 40 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร (ขนาด 2 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด เชื่อมต่อ กับท่อภายในหอถังน้ำส่วนบน ท่อภายในส่วนบนxxxxxxน้ำต่อท่อxxxxxx ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17- 2561 ชั้นคุณภาพ 13.5 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร (ขนาด 2 นิ้ว) ความสูงจากแผ่นรับน้ำ ประมาณ 9.6 เมตร จำนวน 1 ชุด การเดินท่อต้องติดตั้งถูกตองตามหลักวิชาการ
6) ทางน้ำทิ้ง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 นิ้ว จำนวน 1 ชุด ภายนอกติดตั้งทางน้ำทิ้งสูง จากฐานหอถังไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร โดยทำเป็นข้อต่อเหล็กเหนียวแบบเกลียวนอก มาตรฐาน BSPT ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80 มิลลิเมตร (ขนาด 3 นิ้ว) พร้อมประตูน้ำทองเหลือง (Gate Valve) จำนวน 1 ชุด
ภายในหอถังส่วนล่างของหอถังต่อท่อเหล็กเหนียวเบอร์ 40 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80 มิลลิเมตร (ขนาด 3 นิ้ว) จำนวน 1 ชุด เชื่อมต่อแผ่นรับน้ำ การเดินท่อต้องติดตั้งด้วยความชำนาญ
7) เสาล่อฟ้า (Lightning Rod) xxxxxxxทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3/4 นิ้ว สูง
1.5 เมตร ติดตั้งด้านบนสุด
8) หลักสายดิน (Ground Rod) เป็นแบบหลักดินแท่งเดียวโดยจะต้องมีความต้านทาน ระบบต่อลงดินตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545
9) สายตัวนำ (Down Conductor) สายทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 ตาราง มิลลิเมตร เดินในท่อxxxxxx ติดตั้งด้านในถัง และเชื่อมต่อระหว่างเสาล่อฟ้าและหลักสายดินด้วย Thermoweld
10) สวิทซ์ควบคุมระดับน้ำ (Pressure Control) และเครื่องวัดแรงดัน (Pressure Gauge) ติดตั้งไว้ในกล่องเหล็กมาตรฐานบริเวณด้านล่างหอถัง โดยสูงจากฐานหอถังประมาณ 120 เซนติเมตร
- สวิทซ์ควบคุมระดับน้ำ แบบมีสเกลแสดงxxxxการวัด (Range) xxxxxxปรับต่อให้ (Cut In) และให้ตัด (Cut Out) หน้าปัดแสดงหน่วยวัด 2 หน่วย เป็นหน่วย psi และ kpa xxxxxxปรับตั้งเพื่อ ตัดการทำงานที่ความดันน้ำระหว่าง 5-50 psi หรือ 35-350 kpa มีสวิทซ์สะพานไฟฟ้า โดยปรับตั้งระดับน้ำ ให้เครื่องสูบน้ำทำงานที่ระดับน้ำลดลงไม่ต่ำกว่า 7 เมตร นับจากแผ่นเหล็กฐานหอถัง และให้เครื่องสูบน้ำหยุด การทำงานที่ระดับน้ำไม่เกินกว่าระดับความสูงของท่อน้ำล้น เป็นไปอย่างอัตโนมัติ และเป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับ การรับรองจากมาตรฐาน ANSI, NEMA, JIS, UL หรือ SA
- เครื่องวัดแรงดัน (Pressure Gauge) ขนาดหน้าปัดไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว (50 มิลลิเมตร) xxxxxxอ่านค่าความดันน้ำในหอถังที่ระดับ 0-4 kg/cm2 (60 psi) หรือที่ความสูง 5-40 เมตร ได้ อย่างชัดเจน
Dome)
เหล็กเก็บน้ำได้
11) ประตูทางเข้าภายในหอถังเหล็กเก็บน้ำ จำนวน 1 ชุด
12) ทางคนลอดเข้า-ออก (Roof Manhole) จำนวน 2 ชุด ติดตั้งตอนบนสุด (Sky
13) บันไดภายในหอถังเหล็กเก็บน้ำสูงตลอดถัง xxxxxxออกไปตอนบนสุดของหอถัง
14) ชานxxx (Platform) ภายในถัง และชานxxxบนหัวถัง (Roof Platform)
15) บันไดxxxxxxx (SUS-304) ภายในหัวถังของหอถังเหล็กเก็บน้ำ จำนวน 1 ชุด
16) ชุด Obstruction Light จำนวน 1 ชุด
17) ชุดท่อระบายอากาศ พร้อมตะแกรงกันแมลงบนหัวถัง จำนวน 1 ชุด
18) หน้าต่างระบายอากาศ จำนวน 2 ชุด
19) การทาสี ให้xxxxxxการตามกรรมวิธีของผู้ผลิตสี หรือตามหลักวิชาการงานทาสี
- พื้นที่ภายในหอถัง ผิวโลหะให้ขัดรอยต่อเชื่อม ให้เรียบปราศจากสนิม ทำความสะอาด ผิวหน้าไม่ให้มีไขมันหรือน้ำมันจับ ทาสีรองพื้นอีพ๊อกซี่ และทาสีทับหน้าอีพ๊อกซี่ประเภท Polyanmine Cured Epoxy Mastic จำนวน 3 ครั้ง
- พื้นที่ภายนอกหอถัง ผิวโลหะให้ขัดรอยต่อเชื่อม ให้เรียบปราศจากสนิม ทำความสะอาด ผิวหน้าไม่ให้มีไขมันหรือน้ำมันจับ ทาสีรองพื้นกันสนิมประเภท Red Oxide Primer จำนวน 2 ครั้ง และทาสีทับหน้า ด้วยสีประเภท Alkyd Based High-Gloss Enamel For Exterior And Interior จำนวน 2 ครั้ง
20) การก่อสร้างฐานรากหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดันให้xxxxxxการตามแบบ โดยผู้รับจ้างจะต้องใช้ฐานรากเสาเข็ม ซึ่งเสาเข็มxxxxxxรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยไม่น้อยกว่า 50 ตันต่อต้น จำนวนไม่น้อยกว่า 16 ต้น ความยาวของเสาเข็มให้วิศวกรโยธาที่ทำการทดสอบ SPT เป็นผู้คำนวณและรับรอง ผลการคำนวณออกแบบเสนอ และให้ผู้รับจ้างxxxxxxการตามที่วิศวกรโยธาคำนวณออกแบบให้ โดยตอก xxxxxxทั่วฐานของคอนกรีต และให้เหล็กเสาเข็มผูกยึดติดกับเหล็กตะแกรงของฐานคอนกรีต โดยที่ฐานราก ทั้งหมดฝังอยู่ใต้ดิน การก่อสร้างฐานรากทั้งหมดจะต้องก่อสร้างสถานที่ก่อสร้างระบบประปาบาดาลเท่านั้น กรณีความยาวของเสาเข็มที่คำนวณให้รับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยไม่น้อยกว่า 50 ตันต่อต้น มีความยาว มากกว่า 10 เมตร ให้ผู้รับจ้างเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมด
- การทดสอบความxxxxxxรับน้ำหนักของดินรองรับฐานรากให้ทำการทดสอบโดยมี วิศวกรผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาโยธา ไม่ต่ำกว่าระดับสามัญวิศวกร เป็นผู้ทำ การทดสอบ และให้ส่งผลการทดสอบ รายการคำนวณพร้อมทั้งลงนามรับรองถึงผู้ควบคุมงาน ก่อนเข้า xxxxxxการก่อสร้างฐานราก รวมทั้งให้แนบรายงานผลการทดสอบในการส่งมอบงานด้วย โดยผู้รับจ้างเป็นผู้รับ ภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมด
จบข้อ 6.2.6
6.2.7 คุณลักษณะงานติดตั้งถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่
1. รายละเอียดทั่วไป
1) ถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ระบบ Pressure Sand Filter มีอัตราการผลิต ไม่น้อยกว่า 27 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 120 แกลลอนต่อนาที มีอุปกรณ์สำหรับล้าง (Back Wash) ได้ในตัว โดยให้มีโครงสร้าง ขนาด และรายละเอียดเป็นไปตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กำหนด
2) วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ทำถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ให้เป็นไปตามแบบที่ กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด ท่อน้ำ ข้อต่อ ข้องอ ข้อลด ปลั๊ก ยูเนี่ยน และนิปxxxxx xxxนำxxxxxxxxกับ ถังกรองต้องเป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) จากกระทรวงอุตสาหกรรมเท่านั้น
3) การเชื่อมต่อชิ้นส่วน ให้ใช้วิธีเชื่อมด้วยไฟฟ้าให้แข็งแรงพร้อมทั้งแต่งแนวเชื่อม
ให้เรียบร้อย
2. รายละเอยดคุณลัี กษณะเฉพาะถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ
1) เป็นถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ระบบ Pressure Sand Filter xxxxxxกระบอก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.50 เมตร ความสูงรวมขาและส่วนโค้ง 3.50 เมตร ใช้เหล็กแผ่นหนา 8 มิลลิเมตร วางในแนวตั้ง
2) ก้นถังเป็นรูปกระทะหงาย xxxxxความโค้ง 3.25 เมตร เหล็กหนา 8 มิลลิเมตร ประกอบกับตัวถังโดยการเชื่อมทั้งด้านในและxxxxxxx และติดตั้งท่อน้ำภายในให้เป็นไปตามแบบที่ กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
3) ฝาถังกรอง เป็นรูปกระทะคว่ำ xxxxxความโค้ง 3.25 เมตร เหล็กหนา 8 มิลลิเมตร เชื่อมปิดกับตัวถังเฉพาะxxxxxxx มีช่องสำหรับเปิด – ปิดเพื่อใส่สารกรอง โดยมีส่วนประกอบ ครบถ้วนและประกอบติดเป็นชิ้นสำเร็จรูปให้เป็นไปตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
4) ช่องเติมสารกรองด้านบน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร ปิดด้วยแผ่น เหล็ก ความหนาไม่น้อยกว่า 9 มิลลิเมตร กันรั่วด้วยปะเก็นยาง หนา 6 มิลลิเมตร และขันยึดด้วยสลักเกลียวxxxx xxxxศูนย์กลาง 12 x 30 มิลลิเมตร ให้เป็นไปตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
5) ขาถังกรอง ต้องสร้างตามขนาดที่กำหนดไว้ในแบบทุกประการและให้เชื่อมติดกับก้น ถัง จำนวน 4 ขา พร้อมตกแต่งตะเข็บเรียบร้อย
6) มาตรวัดแรงดัน (Pressure gauge) ขนาดหน้าปัดไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว) xxxxxxวัดความดัน ได้ระหว่าง 0 – 10 Kg/cm2 เป็นชนิดที่มีน้ำมันกลีเซอรีน เพื่อป้องกันการ สั่นสะเทือนของเข็ม จำนวน 1 ตัว ติดตั้งให้เป็นไปตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
7) ท่อxxxxxxน้ำเป็นพลาสติก PP (Polypropylene) แบบฉีดขึ้นรูป ขนาดxxxxxxxx ศูนย์กลาง 92 มิลลิเมตร ความยาวแต่ละด้าน 600 มิลลิเมตร (ไม่รวมเกลียว) ปลายทั้งสองด้านเป็นเกลียว ด้านหนึ่งใส่ฝาครอบพลาสติกอีกด้านหนึ่งสวมเข้ากับสามทางเหล็ก มีช่องรับน้ำรอบท่อขนาดร่องรับน้ำ ไม่น้อยกว่า 0.4 มิลลิเมตร
8) อุปกรณ์ระบบท่อน้ำภายนอกถัง ต้องติดตั้งให้ครบทุกประการตามแบบที่ กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
9) การเคลือบกันสนิม ก่อนการทาสีถังกรองสนิมเหล็กต้องขัดทำความสะอาด ผิวโลหะให้ขัดรอยต่อเชื่อมให้เรียบปราศจากสนิม ทำความสะอาดผิวหน้าไม่ให้มีไขมันหรือน้ำมันจับ ภายใน ต้องทาด้วยอีพ็อกซี่สำหรับเคลือบท่อเหล็กกล้าส่งน้ำบริโภคผลิตตามมาตรฐาน มอก.1048 – 2551 จำนวน 3 ชั้น ภายนอกทาสีรองพื้นกันสนิมประเภท Red oxide primer จำนวน 2 ครั้ง ทาทับหน้าด้วยสี Alkyd Based High – Gloss Enamel For Exterior And Interior จำนวน 2 ครั้ง สีจริงที่ทาทับภายนอก ถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ให้ใช้สีเขียวตราสัญ ลักษณ์กรมทรัพยากรน้ำบาดาลให้ใช้ลายxxxxxxขาว ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 เซนติเมตร ตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
10) สารกรองที่ใช้เป็นวัสดุกรองน้ำ ประกอบด้วยสารกรองแอนทราไซท์ สารกรอง แมงกานีสxxxxxxxxx และกรวดทรายเรียงขนาดบรรจุไว้ในถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ จัดวางสารกรองตาม แบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
11) รายละเอียดอื่นๆ xxxxxxxxกล่าวถึง หรือหากรายการที่กำหนดนี้กับแบบขัดแย้งกัน ให้ยึดถือตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนดเป็นสำคัญ
3. การติดตั้งถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่
1) ถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ให้นำไปติดตั้งใกล้หอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษา แรงดัน การติดตั้งถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ ให้ตั้งอยู่บนฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด 350 x 350 x 25 เซนติเมตร ด้านล่างรองด้วยทรายหยาบอัดแน่น ความหนา 5 เซนติเมตร ให้ใช้ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดตอกเสาเข็ม โดยใช้เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง รูปสี่เหลี่ยมตัน ขนาด 0.15 เมตร x 0.15 เมตร ยาว 6 เมตร จำนวน 9 ต้น หรือดีกว่า ตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
2) ติดสติกเกอร์แสดงรายxxxxxxxxxxทำงานและวิธีดูแลรักษาเครื่องกรองสนิมเหล็ก แบบปิด ที่ถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ ขนาดและรูปแบบตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
จบข้อ 6.2.7
6.2.8 คุณลักษณะเฉพาะงานเดินท่อระบบประปาส่งน้ำจากถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ไปยัง อาคารสูบน้ำสำเร็จรูป หอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน
1. ท่อเหล็กชุบสังกะสี ที่ผลิตตามมาตรฐาน JIS G3442:2010 หรือดีกว่า ขนาดระบุ
200 มิลลิเมตร (8 นิ้ว)
2. อุปกรณ์ต่อท่อต้องเป็นไปตามมาตรฐาน วสท. สำหรับงานท่อเหล็กและอุปกรณ์ต่อท่อ
ข้อต่อต่างๆ
3. การเดินท่อและระบบประตูน้ำให้xxxxxxการตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลหรือ
ตามที่ผู้ควบคุมงานกำหนด
จบข้อ6.2.8
6.2.9 คุณลักษณะเฉพาะงานเดินท่อระบบประปาส่งน้ำจากถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ ไป ยังจุดจ่ายน้ำxxxx อาคารปรับปรุงคุณภาพน้ำ และงานวางท่อเข้าสู่ชุมชน
1. ท่อxxxxxxแข็งแบบปลายบานชนิดต่อด้วยน้ำยา ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17- 2561 ชั้นคุณภาพ 8.5 ขึ้นไป ขนาด 10 นิ้ว (250 มิลลิเมตร)
2. ท่อxxxxxxแข็งแบบปลายบานชนิดต่อด้วยน้ำยา ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17- 2561 ชั้นคุณภาพ 8.5 ขึ้นไป ขนาด 8 นิ้ว (200 มิลลิเมตร)
3. ท่อxxxxxxแข็งแบบปลายบานชนิดต่อด้วยน้ำยา ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17- 2561 ชั้นคุณภาพ 8.5 ขึ้นไป ขนาด 6 นิ้ว (150 มิลลิเมตร)
4. การวางท่อxxxxxxน้ำท่อxxxxxx
1) ท่อที่ต่อจากระบบxxxxxxน้ำไปยังจุดที่ใช้น้ำ ต้องฝังให้ลึกจากผิวดินถึงผิวท่อด้านบน ตามแบบที่กำหนด การกลบดินให้ใช้ทรายและดินxxxxxxxขุดขึ้นมากลบกลับลงไปตามแบบกำหนด ห้ามใช้หินหรือ อิฐหรือวัสดุอื่นใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ก่อนทำการกลบดิน
2) การเดินท่อให้เป็นไปตามผู้ควบคุมงานของผู้xxxxxxxกำหนด
จบข้อ 6.2.9
6.2.10 คุณลักษณะงานติดตั้งอาคารศูนย์เรียนรู้ด้านน้ำบาดาล
1. อาคารศูนย์เรียนรู้ด้านน้ำบาดาลสำเร็จรูป ให้xxxxxxการก่อสร้างให้มีโครงสร้าง ขนาด และรายละเอียด ดังนี้
1.1 เป็นอาคารสำเร็จรูปขนาด กว้าง 3 เมตร ยาว 9 เมตร สูง 2.5 เมตร โครงสีขาว พร้อมxxxxxสด้านหน้ายื่น 1.5 เมตร
1.2 โครงสร้างเหล็ก Square Tube ขนาด 4 x 4 นิ้ว มาตรฐาน มอก. ความหนา
2.3 มิลลิเมตร มีใบ Certificate รับรอง Lot ผลิตจากโรงงาน สารเคลือบกันสนิมแบบ Epoxy – Standard Umeguard SX TOA Chugoku หรือเทียบเท่า ความหนา 100 – 150 ไมครอน และพ่นxxxxxหน้า 2 ชั้น ระบบ Airless System ด้วยสีอะคริลิค อะลิฟาติก โพxxยูรีเทน ฟินนิช TOA Chugoku หรือเทียบเท่า
1.3 ผนังใช้เหล็กเมทัลชีทสองชั้นบุxxxxกันความxxxxหนาไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร (ISO Wall) ให้ใช้เหล็กเมทัลชีท ความหนาไม่น้อยกว่า 0.47 มิลลิเมตร เคลือบสี PP Panel SD เคลือบผิว แบบ Colorbond มี Laser ระบุรหัสผลิตภัณฑ์ทุกแผ่น
1.4 xxxxกันความxxxxแบบ Polystylene (PS) แบบ F – Grade มีคุณสมบัติxxxxxxไฟ มีความxxxxxxx 1 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต โดยมีค่าแปรผันน้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์
1.5 ใช้ระบบการเชื่อมต่อแบบ Slip Joint Connection ให้ใช้ระบบกาวยาแนวไฮบริด
สำหรับงานยาแนว
1.6 ชุดxxxxxสหน้าอาคารขนาด 1.5 x 9 เมตร เป็นโครงสร้างเหล็ก Square Tube
ขนาด 4 x 2 นิ้ว ปูทับด้วยไม้ WPC รุ่นไม้ตัน แบบ M – s hape สี Teak ผิวxxxxxxพื้นที่ 13.5 ตารางเมตร
1.7 ม้านั่งพร้อมกรอบไม้ WPC สี Teak Built – In กับxxxxxส พร้อมชุดกันสาด (ISO Wall) ขนาด 1.5 x 9 เมตร
1.8 พื้นเป็นไฟเบอร์ซีเมนต์หนาไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร ปูทับด้วยกระเบื้องเซรามิค xxxxxx ขนาด 12 x 12 นิ้ว ผนังกรุกระจกเต็มบานความยาวรวม 3 เมตร ผนังตกแต่งเมทัลชีทxxxxxx พับร่อง สีเมxxxxx ขนาด 2.80 ตารางเมตร
1.9 ชุดประตูกระจกบานเลื่อนสลับอบขาว 1 ชุด ขนาด 2 x 2.2 เมตร
1.10 หน้าต่างกระจกบานเลื่อนอบขาว 1 ชุด ขนาด 1.2 x 0.9 เมตร
1.11 ชุดหลอดไฟ LED Dome panel WW 4 ชุด (1x18w) พัดลมระบายอากาศ ขนาด 8 นิ้ว 1 ชุด สวิตช์ไฟ 1 จุด ปลั๊กไฟ 3 จุด พร้อมสายดินและเดินรางไฟ มีแผงควบคุมไฟฟ้าพร้อมเบรกเกอร์ และพาวเวอร์ปลั้ก 1 ชุด
1.12 รูปแบบและการติดตั้งอุปกรณ์ภายในอาคารให้เป็นไปตามแบบ การเปลี่ยนแปลง ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานหรือวิศวกรผู้ออกแบบ
2. ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
2.1 ผู้รับจ้างจะต้องเดินสายไฟจากเมนสวิตช์ไฟฟ้าxxxxxที่ตั้งอาคารปรับปรุงคุณภาพ น้ำบาดาล โดยอุปกรณ์พร้อมมิเตอร์ไฟฟ้าขนาด 15(45) แอมแปร์และสายไฟฟ้าต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ที่การไฟฟ้ากำหนด
2.2 การติดตั้งเสาไฟฟ้า และเดินสายไฟฟ้า ให้ผู้รับจ้างติดต่อxxxxxxกับผู้ควบคุมงาน เพื่อขอความเห็นชอบในการติดตั้ง
2.3 อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าต้องเป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคและต้องได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
2.4 ติดตั้งตู้โหลดเซ็นเตอร์แบบตู้ติดลอยชนิดเหล็กสำหรับติดตั้งลูกเซอร์กิต เบรกเกอร์ 1 เมน 6 ย่อย ภายในอาคารระบบปรับปรุง ดังนี้
ไวโอเลต
1) เบรกเกอร์เมน มีกระแสไม่น้อยกว่า 30 A สำหรับเมน
2) เบรกเกอร์ย่อย สำหรับเครื่องสูบน้ำ 2 ชุด และระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยxxxตร้า
3) เบรกเกอร์ย่อย สำหรับชุดเครื่องกรองระบบ REVERSE OSMOSIS (RO) และชุด
แท่นจ่ายน้ำดื่ม อย่างละ 1 ชุด
4) เบรกเกอร์ย่อย สำหรับเครื่องตรวจวัดสารละลายอัตโนมัติ
5) เบรกเกอร์ย่อย สำหรับไฟฟ้าแสงสว่าง
- ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างภายในอาคาร ขนาดไม่น้อยกว่า 36 w จำนวน 6 จุด
- ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างภายนอกอาคาร ขนาดไม่น้อยกว่า 18 w จำนวน 4 จุด
- ติดตั้งเต้ารับไฟฟ้า จำนวน 6 จุด
- การเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องเป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้านคร หลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
- ระบบต่อลงดิน ค่ามาตรฐานของความต้านทานของระบบต่อลงดินให้เป็น ไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยของ วสท. คือระบบการต่อลงดินจะต้องมีค่า ความต้านทานไม่เกิน 5 โอห์ม
- ผู้รับจ้างต้องจัดหาเครื่องมือวัดค่าความต้านทาน และวัดความต้านทานระบบต่อลง ดิน ต่อหน้าคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในวันส่งมอบ
- ผู้รับจ้างต้องแจ้งผู้ควบคุมงาน เพื่อให้ตรวจสอบคุณสมบัติของอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า ให้เป็นตามข้อกำหนดงานของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ก่อนทำการติดตั้งทุกแห่ง
3. ชุดบริการน้ำแร่กระทรวงทรัพย์ แบบ 2 หัวจ่าย เป็นหัวจ่ายน้ำดื่มพร้อมระบบกรองทำด้วยxxxxxxx แบบน้ำxxxxสำหรับชงเครื่องดื่มxxxxทุก
ประเภท, xxxxxxxสำหรับดื่ม และน้ำดื่มอุณหภูมิxxxx ซึ่งออกแบบให้มีระบบควบคุมความเย็น ใช้คอมเพรสเซอร์ ในการทำความเย็น และระบบป้องกันความxxxx โดยน้ำเข้าระบบจะต้องมีระบบเชื่อมต่อจากระบบกรองเดิม ให้xxxxxxxxxxx xxxละเอียดดังนี้
1. ตัวเครื่องทำจากxxxxxxx มีจุดจ่ายน้ำอุณหภูมิxxxx จำนวน 2 จุด (แขนซ้ายและ แขนขวา) และจุดจ่ายน้ำxxxxและxxxxxxx อย่างละ 1 จุด บริเวณด้านบนในจุดxxxxxxxxชุดแท่นจ่ายน้ำดื่ม พร้อม สัญลักษณ์แสดงน้ำxxxxxxxxxxx (ด้านบน) สำหรับดื่ม/ชง
2. เป็นระบบต้มน้ำxxxxอัตโนมัติ และแทงค์ทำความเย็น
3. ขนาดตัวเครื่อง เส้นผ่านศูนย์กลาง 480 มิลลิเมตร ความสูงรวม 1,750 มิลลิเมตร
4. ภายในชุดแท่นจ่ายน้ำดื่มต้องมีระบบกรองติดxxxxxxด้วย
5. แท็งค์เก็บน้ำxxxxความจุไม่น้อยกว่า 3 ลิตร xxxxxxทำความxxxxxxxไม่น้อยกว่า 65
องศาเซลเซียส และแท็งค์เก็บความเย็นไม่น้อยกว่า ความจุ 8 ลิตร xxxxxxทำความเย็นได้ 3 - 8 องศาเซลเซียส
6. ด้านบน มีไฟโชว์ป้ายxxxxxxxxxxxของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล เพื่อความสวยงาม และ ให้แสงสว่าง โดยเปิด - ปิด แบบอัตโนมัติ
7. มีปุ่มกดแบบก๊อกสำหรับน้ำดื่ม
8. มีระบบระบายน้ำทิ้ง
9. ขาฐานของตัวเครื่อง xxxxxxยึดติดกับพื้นคอนกรีตได้
10. ด้านหลังตัวเครื่องช่อง Service เป็นแบบxxxxxxx เจาะรู ขนาดไม่ต่ำกว่า 4 มิลลิเมตร ซึ่งxxxxxxถอดออกได้
11. ตำแหน่งการติดตั้งชุดบริการน้ำแร่กระทรวงทรัพย์ให้ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้ควบคุม งานหรือวิศวกรผู้ออกแบบ
12. รายละเอียดอื่นๆ xxxxxxได้กล่าวถึง ให้เป็นไปตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
4. คุณลักษณะเฉพาะงานติดตั้งชุดระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำ ระบบ Reverse Osmosis
(RO)
1. รายละเอียดทั่วไป
ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลให้ได้มาตรฐานน้ำดื่ม ด้วยวิธี Reverse Osmosis (RO)
อัตราการผลิตไม่น้อยกว่า 500 ลิตรต่อชั่วโมง (หรือ 12,000 ลิตรต่อวัน)
2. รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาล ระบบ Reverse Osmosis (RO)
ตามรูปแบบการก่อสร้างประกอบด้วย
1) ถังบรรจุน้ำดิบ 2) เครื่องสูบน้ำแบบอัตโนมัติสำหรับสูบน้ำเข้าเครื่องกรอง | 1 ถัง 1 เครื่อง |
3) ชุดถังกรองxxxxxxx ANTHRACITE และ MANGANESE DIOXIDE | 1 ชุด |
4) ชุดถังกรองxxxxxxx ACTIVATED CARBON | 1 ชุด |
5) ชุดกรองละเอียดขนาด 1 ไมครอน | 1 ชุด |
6) ระบบป้องกันการxxxxxxหน้าxxxxxxx | 1 ชุด |
7) ชุดเครื่องกรองระบบ REVERSE OSMOSIS (RO) อัตราการกรอง 500 ลิตร/ชั่วโมง | 1 ชุด |
8) เครื่องวัดและควบคุมค่าปริมาณสารละลาย (TDS Controller) | 1 ชุด |
9) ถังบรรจุน้ำดี | 1 ถัง |
10) เครื่องสูบน้ำแบบอัตโนมัติสำหรับสูบน้ำเข้าเครื่องบรรจุ | 1 เครื่อง |
11) ชุดกรองเซรามิค ขนาด 0.3 ไมครอน | 1 ชุด |
12) ระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยxxxตร้าไวโอเลต (UV) | 1 ชุด |
13) ชุดหัวจ่ายน้ำดื่ม | 1 ชุด |
14) ตู้ควบคุม (CONTROL) การทำงานทั้งระบบ | 1 ชุด |
15) ระบบท่อ | |
16) วัสดุอุปกรณ์ประกอบระบบ | 1 ชุด |
17) ระบบน้ำทิ้ง |
2.1 รายละเอียดถังบรรจุน้ำดิบ
ขนาดบรรจุไม่น้อยกว่า 1,000 ลิตร ทรงกระบอก ทำจากวัสดุ Polymer Elixir, Poly composite หรือ Polyethylene คุณสมบัติไม่มีสารพิษก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ มี UV Stabilizer ระดับ 8 xxxxxxใช้กลางแดดได้ คุณภาพสูงทนทานไม่แตกกรอบ ไม่มีสารตกค้าง ไม่เกิดxxxxxxxxx xxxเป็นสนิม มีอายุ การใช้งานxxxxxxน้อยกว่า 10 ปี มีท่อน้ำทิ้ง เพื่อปล่อยxxxxxxxxก้นถังทิ้ง ข้อต่อน้ำเข้าออก ผลิตด้วยวัสดุxxxxxxเป็น สนิม ทนทานต่อสภาพอากาศ ผู้รับจ้างต้องส่งเอกสารยืนยันคุณสมบัติของถังน้ำให้คณะกรรมการตรวจสอบด้วย
2.2 รายละเอียดเครื่องสูบน้ำแบบอัตโนมัติสำหรับสูบน้ำเข้าเครื่องกรอง
1) เครื่องสูบน้ำเป็นแบบ Centrifugal pump โดยต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจาก โรงงานxxxxxxรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001 ซึ่งต้องอยู่ในช่วงเวลาxxxxxxรับการรับรองและได้รับการ รับรอง CE mark เรือนเครื่องสูบน้ำ xxxxx ใบxxxน้ำ และทุกส่วนที่สัมผัสกับน้ำต้องทำด้วยxxxxxxx S304 หรือ ดีกว่า ระบบป้องกันการรั่วซึมเป็นแบบ Mechanical Seal ความxxxxxxในการสูบน้ำมากกว่า 2 ลูกบาศก์เมตร ต่อชั่วโมง ที่แรงดันส่ง 20 เมตร (TDH) 2 บาร์ มอเตอร์ใช้กับไฟฟ้าเฟสเดียว 220v/50Hz มอเตอร์ต่อปั๊มแบบ Close–Coupled ประกอบพร้อมชุดควบคุมแรงดัน ตัดต่อปั๊มอัตโนมัติ และpressure gauge
2) การติดตั้งเครื่องสูบน้ำ ให้ติดตั้งบนฐานรองเครื่องสูบน้ำที่ทำจากวัสดุxxxxxx xยึดติดแน่นกับพื้น รายละเอียดตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 (อุดรธานี) กำหนด
2.3 รายละเอียดชุดถังกรองxxxxxxx ANTHRACITE และ MANGANESE DIOXIDE
1) เป็นถังxxxxxxกระบอกแบบรับแรงดันทำด้วยxxxxxxx S304 ภายในทาสีรอง พื้น 2 ชั้น ทาทับด้วยสี EPOXY 2 ชั้น ที่ทนต่อการกัดกร่อนของน้ำและสารเคมี xxxxxxใช้งานและล้างสารกรอง ได้ภายในตัวเครื่อง โดยการเปิด-ปิดวาล์วเท่านั้น
2) รูปแบบถังมีรายละเอียดดังนี้ เส้นผ่านศูนย์กลางตัวถังไม่น้อยว่า 30 เซนติเมตร xxxxxxxกระบอกสูงไม่น้อยกว่า 120 เซนติเมตร (xxxxxxxxxxxรวมขา) ความสูงทั้งหมดไม่น้อยกว่า 150 เซนติเมตร ความหนา 1.5 มิลลิเมตร ขนาดท่อน้ำเข้า-ออก PVC 1 นิ้ว ขนาดวาล์ว PVC 1 นิ้ว xxxxxxทน แรงดัน 70 ปอนด์/ตารางนิ้ว อุปกรณ์ประกอบ มาตรวัดแรงดันน้ำ 1 ชุด ก๊อกเก็บตัวอย่างน้ำ 1 ชุด มีแฮนด์โฮล บน 1 ชุด และล่าง 1 ชุด
3) คุณสมบัติของสาร ANTHRACITE ขนาดเม็ดสาร 0.8-2.0 มม. Fixed Carbon 92-98% Hardness 3.0 Moh’s Scale คุณสมบัติ MANGANESE DIOXIDE (กรองพิเศษชนิดขจัดเหล็กและ แมงกานีส) ขนาดเม็ดสาร 16-30 Mesh, ความเป็นกรด-ด่าง (PH Range) 6.2-8.5, ความถ่วงจำเพาะ (Specific Gravity) 2.4-2.5 ต้องมีใบรับรองคุณสมบัติของสารกรอง ANTHRACITE และ MANGANESE DIOXIDE จากสถาบันxxxxxxมาตรฐาน หรือหน่วยงานราชการ
4) บรรจุสารกรอง ANTHRACITE 50% และ MANGANESE DIOXIDE 50%
รวมกันมีปริมาณไม่น้อยกว่า 60% ของปริมาตรถังกรอง
5) การล้างย้อนกลับ (Back wash) สารกรอง ANTHRACITE และ MANGANESE DIOXIDE ต้องล้างด้วยน้ำธรรมดา
2.4 รายละเอียดชุดถังกรองxxxxxxx ACTIVATED CARBON
1) เป็นถังxxxxxxกระบอกแบบรับแรงดัน ทำด้วยxxxxxxx S304 ภายในทาสีรอง พื้น 2 ชั้น ทาทับด้วยสี EPOXY 2 ชั้น ที่ทนต่อการกัดกร่อนของน้ำและสารเคมี xxxxxxใช้งานและล้างสาร กรองได้ภายในตัวเครื่อง โดยการเปิด-ปิดวาล์วเท่านั้น
2) รูปแบบถังมีรายละเอียดดังนี้ เส้นผ่านศูนย์กลางตัวถังไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร xxxxxxxกระบอกสูงไม่น้อยกว่า 120 เซนติเมตร (xxxxxxxxxxxรวมขา) ความสูงทั้งหมดไม่น้อย กว่า 150 เซนติเมตร ความหนา 1.5 มิลลิเมตร ขนาดท่อน้ำเข้า-ออก PVC 1 นิ้ว ขนาดวาล์ว PVC 1 นิ้ว xxxxxxทนแรงดัน 70 ปอนด์/ตารางนิ้ว อุปกรณ์ประกอบด้วย มาตรวัดแรงดันน้ำ 1 ชุด ก๊อกเก็บตัวอย่างน้ำ 1 ชุด มีแฮนด์โฮล บน 1 ชุด และล่าง 1 ชุด
3 ) ขนาดเม็ดสารกรอง ACTIVATED CARBON 0.6-2.36 มม. Hardness Number (%) Min 98 Iodine Number (mg/g) ไม่น้อยกว่า 1,250 ค่าความเป็นกรด-ด่าง (PH Range) 9- 11 ต้องมีใบรับรองคุณสมบัติของ ACTIVATED CARBON จากสถาบันxxxxxxมาตรฐาน หรือหน่วยงานราชการ
4) บรรจุสารกรอง ACTIVATED CARBON มีปริมาณไม่น้อยกว่า 60% ของ
ปริมาตรถังกรอง
2.5 รายละเอียดชุดกรองละเอียด ขนาด 1 ไมครอน ประกอบด้วยเครื่องกรองน้ำขนาดกรองได้ละเอียด 1 ไมครอน จำนวน 2 เครื่องต่อ
ขนานกัน ตัวเครื่องทำด้วย Polypropylene บรรจุไส้กรองสังเคราะห์ชนิดโพxxxxรไพลีน (Polypropylene Yam) ขนาดกรองได้ละเอียด 1 ไมครอน ยาว 20 นิ้ว มีทางน้ำเข้า-น้ำออก ไม่เล็กกว่า 3/4 นิ้ว
2.6 ระบบป้องกันการxxxxxxหน้าxxxxxxx
1) ประกอบด้วยระบบป้อนสารเคมีป้องกันการเกิดตะกรันหน้า Membrane ซึ่ง ทำงานพร้อมกับการทำงานของเครื่อง Reverse Osmosis ซึ่งประกอบด้วย
2) ถังบรรจุสารเคมีป้องกันการxxxxxxหน้าxxxxxxx (Anti-scalant) ขนาด 100
ลิตร ตัวถังทำด้วย Polyethylene (PE) หนา 4.5 มิลลิเมตร มีขีดบอกปริมาตร
3) ปั๊มสารเคมี (Metering Pump) ซึ่งxxxxxxปรับอัตราการไหลให้เหมาะสมกับ สภาพน้ำได้ โดยที่ปั๊มสารเคมีจะถูกควบคุมการทำงานด้วยชุดควบคุมของเครื่อง Reverse Osmosis และ เริ่ม/ หยุดการทำงานพร้อมกับเครื่อง Reverse Osmosis
2.7 รายละเอียดชุดเครื่องกรองระบบ REVERSE OSMOSIS (RO) มีคุณสมบัติ ดังนี้ ปริมาณการกรองน้ำไม่น้อยกว่า 500 ลิตร/ชั่วโมง (หรือ 12,000 ลิตร/วัน)
xxxxxxขจัดปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้ในน้ำxxxxxxน้อยกว่า 95% (salt Rejection) และขจัดปริมาณ ฟxxxxไรด์xxxxxxน้อยกว่า 94% มีเครื่องสูบน้ำแรงดันสูงชนิด centrifugal multi-stages pump โดยต้องเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากโรงงานxxxxxxรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001 ซึ่งต้องอยู่ในช่วงเวลาxxxxxxรับการ รับรองและได้รับรอง CE mark มีอัตราการสูบไม่น้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ที่ระยะส่งสูง 42 เมตร (TDH) ที่ความเร็วรอบ 2,800-3,000 รอบ/นาที มีแรงดันสูงสุด (Shut Off Head) ไม่น้อยกว่า 55 เมตร ระบบป้องกันการรั่วซึมเป็นแบบ Mechanical Seal ซึ่งมีหน้าสัมผัสเป็น Tungsten Carbide และ Carbon หรือเป็น Carbon และ Ceramics เรือนเครื่องสูบน้ำ xxxxx ใบxxxน้ำ และทุกส่วนที่สัมผัสกับน้ำต้องทำด้วย xxxxxxx S304 หรือดีกว่า ข้อต่อของ เครื่องสูบน้ำเป็นชนิดเกลียว ใช้กับไฟฟ้าเฟสเดียว 220 V/50HZ ไส้ กรอง Membrane เป็นชนิด Polyamide Thin film Composite ใช้งานxxxxxx PH ระหว่าง 4-11 ขนาดxxxx xxxxศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 40 นิ้ว จำนวน 2 ท่อน xxxxxxทนแรงดันใช้งานได้ถึง 100 Psi และทนแรงดัน สูงสุดxxxxxxน้อยกว่า 250 Psi มีตัวใส่xxxxxxx (Vessel) จำนวน 2 ท่อน ทำด้วย stainless steel และมีฝา ครอบxxxxxxxทำด้วยxxxxxxxxxxx หรือวัสดุอื่นที่ทนการกัดกร่อนทนแรงดันxxxxxxต่ำกว่า 400 Psi มี Inlet Shut Off Valve และ Low Inlet Pressure Switch เพื่อควบคุมการทำงานของมอเตอร์ในกรณีที่แรงดันน้ำต่ำ กว่าที่เครื่องกำหนดไว้ มีเกจวัดแรงดันน้ำ จำนวน 4 ตัว เพื่อวัดแรงดันน้ำก่อนเข้าและออกจาก Pre-filler และ ก่อนเข้าและออกจาก Membrane โดยแสดงที่หน้าปัดของเครื่อง REVERSE OSMOSIS (RO) ติด Flow Meter จำนวน 2 ตัว สำหรับวัดอัตราการไหลของน้ำ Permeate และ Concentrate โดย Flow Meter ทั้ง 2 ตัว ต้อง แสดงที่หน้าปัดของเครื่อง REVERSE OSMOSIS (RO) มีวาล์วปรับความเข้มข้นของน้ำทิ้งจาก Membrane และ วาล์วปรับปริมาณน้ำหมุนเวียน (Recycle) อย่างละ 1 ตัว มีระบบล้างไส้กรอง (RO Membrane) โดยอัตโนมัติ
(Auto Flushing System) ซึ่งจะทำการล้างไส้กรองทั้งก่อนเริ่มการกรองและก่อนหยุดการกรอง และxxxxxxตั้ง เวลาให้เครื่อง ทำการล้างตามเวลาที่ต้องการได้ เครื่องกรองระบบ Reverse Osmosis นี้จะต้องประกอบ อยู่บน แท่นฐานเดียวกัน ตัวแท่นฐานจะต้องทำด้วยxxxxxxx S304
เครื่องกรองระบบ Reverse Osmosis จะต้องติดตั้งพร้อมต่อระบบท่อและวาล์ว สำหรับใช้ในการล้างxxxxxxx xxxxxxxเคมีในระบบได้ทันที (Clean In Place) นอกจากนี้ตู้ควบคุมต้องต่อวงจร ให้มีสวิทช์ลูกศร 1 ชุด สำหรับเลือกใช้ในการล้างxxxxxxxxxxxxxxเคมี ซึ่งเมื่อเลือกลูกศรมาที่ตำแหน่งล้างนี้แล้ว ระบบ RO จะxxxxxxล้างxxxxxxxได้ทันที โดยไม่ต้องมีการดัดแปลงหรือต่อเชื่อมอุปกรณ์ หรือวงจรใดๆทั้งใน และนอกตู้ควบคุมอีก
2.8 เครื่องวัดและควบคุมค่าปริมาณสารละลายรวม (TDS Controller) แบบมีหัววัด (Probe) ติดตั้งในเส้นท่อได้ และอุปกรณ์ส่งสัญญาณเตือนด้วยแสงและเสียง จำนวน 1 ชุด
คุณสมบัติ
- วัดค่าปริมาณสารละลายรวม (Total Dissolved Solids) ได้ในช่วง 0 -1999 mg/L (ppm)
- อ่านค่าได้ครั้งละ 1 mg/L (ppm) และxxxxxxสอบเทียบ (Calibration) ได้
- ตั้งค่าเตือนxxxxxxน้อยกว่า 1 ค่า
- มีความxxxxxxในการวัดที่อุณหภูมิน้ำ 25° C (Accuracy at 25 °C/77 °F) ± 2%
- เครื่องวัดและควบคุมค่าความนำไฟฟ้าของน้ำ และอุปกรณ์เตือนด้วยแสงและเสียง
- ใช้กับไฟฟ้า 220 VAC 50 Hz.
- เครื่องวัดและควบคุมค่าปริมาณสารละลายรวมของน้ำ มีช่องต่อเพื่อส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์ เตือนด้วยแสงและเสียง เมื่อค่า TDS ของน้ำที่วัดได้ สูงเกินกว่าค่าที่ตั้งไว้
- ทำงานxxxxxxxแบบ Auto และ Manual พร้อมตำแหน่ง OFF เมื่อไม่ต้องการอ่านค่า
- มีหน้าจอแสดงผลด้วยจอ LCD
การติดตั้ง
1. เครื่องวัดและควบคุมค่าปริมาณสารละลายรวมของน้ำให้ยึดติดภายในกล่องที่มีฝาเปิด-ปิดได้
สะดวก
สะดวก
2. หัวโพรบให้ติดตั้งกับท่อน้ำxxxxxออกจาก RO โดยให้หัวโพรบสัมผัสน้ำตลอดเวลา
3. ต่อเชื่อมสายสัญญาณและสายไฟฟ้าภายในกล่อง
4. เมื่อค่า TDS ของน้ำที่วัดได้ สูงเกินกว่าค่าที่ตั้งไว้อุปกรณ์เตือนจะเตือนด้วยแสงและเสียง
5. ยึดกล่องไว้กับโครง RO ในตำแหน่งที่อ่านค่าปริมาณสารละลายรวมของน้ำและบำรุงรักษาเครื่องได้
2.9 รายละเอียดถังบรรจุน้ำดี
ขนาดบรรจุรวมไม่น้อยกว่า 3,000 ลิตร ทำจากวัสดุ Polymer Elixir, Poly
composite หรือ Polyethylene คุณสมบัติไม่มีสารพิษก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ มี UV Stabilizer ระดับ 8 xxxxxxใช้กลางแดดได้ คุณภาพสูงทนทานไม่แตกกรอบ ไม่มีสารตกค้าง ไม่เกิดxxxxxxxxx xxxเป็นสนิม มีอายุ การใช้งานxxxxxxน้อยกว่า 10 ปี มีท่อน้ำทิ้ง เพื่อปล่อยxxxxxxxxก้นถังทิ้ง ข้อต่อน้ำเข้าออก ผลิตด้วยวัสดุxxx xxx เป็นสนิม ทนทานต่อสภาพอากาศ ผู้รับจ้างต้องส่งเอกสารยืนยันคุณสมบัติของถังน้ำให้คณะกรรมการตรวจสอบ ด้วย
2.10 รายละเอียดเครื่องสูบน้ำแบบอัตโนมัติสำหรับสูบน้ำเข้าเครื่องบรรจุ
เครื่องสูบน้ำเป็นแบบ Centrifugal pump โดยต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากโรงงานxxx xxxรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001 ซึ่งต้องอยู่ในช่วงเวลาxxxxxxรับการรับรองและได้รับการรับรอง CE mark เรือนเครื่องสูบน้ำ xxxxx ใบxxxน้ำ และทุกส่วนที่สัมผัสกับน้ำต้องทำด้วยxxxxxxx S304 หรือดีกว่า ระบบป้องกันการรั่วซึมเป็นแบบ Mechanical Seal ความxxxxxxในการสูบน้ำมากกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อ ชั่วโมง ที่แรงดันส่ง 20 เมตร (TDH) 2 บาร์ มอเตอร์ใช้กับไฟฟ้าเฟสเดียว 220v/50Hz มอเตอร์ต่อปั๊มแบบ Close–Coupled ประกอบพร้อมชุดควบคุมแรงดัน ตัดต่อปั๊มอัตโนมัติ และpressure gauge การติดตั้งเครื่อง สูบน้ำ ให้ติดตั้งบนฐานรองเครื่องสูบน้ำที่ทำจากวัสดุxxxxxxxยึดติดแน่นกับพื้น รายละเอียดตามแบบที่กรม ทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 (อุดรธานี) กำหนด
2.11 รายละเอียดชุดกรองเซรามิค ขนาด 0.3 ไมครอน
ประกอบด้วยเครื่องกรองน้ำ ขนาดกรองได้ละเอียด 0.3 ไมครอน จำนวน 2 เครื่องต่อ ขนานกัน ตัวเครื่องทำด้วย Polypropylene บรรจุไส้กรองเซรามิค ขนาดกรองได้ละเอียด 0.3 ไมครอน ยาว 20 นิ้ว มีทางน้ำเข้า-น้ำออก ไม่เล็กกว่า 3/4 นิ้ว
2.12 รายละเอียดระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยxxxตร้าไวโอเลต (UV) ตัวเครื่องเป็นxxxxxxกระบอกยาวไม่น้อยกว่า 35 นิ้ว ทำด้วยxxxxxxx S304 มี
หลอดอัลตราไวโอเลต ขนาด 30 วัตต์ อย่างน้อย 1 หลอด หุ้มด้วยหลอดควอทซ์ซึ่งติดตั้งอยู่ภายในตัวเครื่องใช้ ไฟ 220 v/50 Hz. ต้องมีช่องเพื่อใช้มองการทำงานของหลอดอัลตราไวโอเลต มีหลอดไฟแสดงการทำงานขณะ ใช้งาน ตัวเครื่องจะต้องมีความยาวรวมไม่น้อยกว่า 35 นิ้ว กว้างไม่น้อยกว่า 4 นิ้ว สูงรวมไม่น้อยกว่า 7.5 นิ้ว มีทางน้ำเข้า-ออก ขนาด 1 นิ้ว และต้องมีช่องระบายน้ำออกจากตัวเครื่องได้
2.13 รายละเอียดชุดหัวจ่ายน้ำดื่ม
อุปกรณ์เชื่อมระบบใช้ท่อ PVC ชั้น 13.5 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 นิ้ว วาล์ว ควบคุมเป็นชนิดxxxxxx เชื่อมต่อกับ
1) หัวจ่ายน้ำxxxxxxx S304 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/4 นิ้ว สำหรับบรรจุน้ำ ดื่มใส่ขวด 950 xxxx จำนวน 20 หัวจ่าย
2) หัวจ่ายน้ำท่อ PVC ชั้น 13.5 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/2 นิ้ว สำหรับบรรจุ น้ำดื่มใส่ถังบรรจุ 20 ลิตร จำนวน 2 หัวจ่าย
2.14 รายละเอียดตู้ควบคุม (CONTROL) การทำงานทั้งระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำฯ
ได้แก่
1) ชุดควบคุม เครื่องสูบน้ำดิบ เครื่องสูบน้ำดี และระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำ
อุปกรณ์แต่ละชุด ประกอบด้วยตำแหน่ง ประกอบอยู่ในxxxxxxxxชั้นเดียว เบอร์ 2 (ขนาดประมาณ 35 x 52 x 17เซนติเมตร)
2) การทำงาน หลังจากที่น้ำเข้าถังเก็บน้ำดิบแล้ว จะมีปั๊มสูบน้ำเข้าระบบปรับปรุง คุณภาพน้ำ โดยจะผ่านระบบถังกรอง ANTHRACITE และ MANGANES DIOXIDE ถังกรอง ACTIVATED CARBON ชุดกรองละเอียดขนาด 1 ไมครอน เครื่องกรองระบบ REVERSE OSMOSIS (RO) จนได้น้ำสะอาด คุณภาพดี พร้อมที่จะใช้บริโภคได้เข้าบรรจุไว้ในถังเก็บน้ำดี จากนั้นจะมีปั๊มสูบน้ำจากถังเก็บน้ำดีขนาดบรรจุ ไม่น้อยกว่า 1,000 ลิตร เข้าสู่ชุดกรองเซรามิค ขนาดกรองได้ละเอียด 0.3 ไมครอน แล้วผ่านเข้าสู่เครื่องฆ่าเชื้อ ด้วยแสงอัลตราไวโอเลต ก่อนจะเข้าสู่หัวจ่ายน้ำเพื่อบรรจุขวดต่อไป ซึ่งขบวนการทำงานต่างๆ จะเป็นไปโดย อัตโนมัติกล่าวคือ จะมีการใส่อุปกรณ์ตรวจเช็คระดับน้ำไว้ที่ถังเก็บน้ำดิบ และถังเก็บน้ำดี เมื่อใดก็ตามที่ระดับน้ำ
ในถังเก็บน้ำดี มีระดับต่ำจนถึงจุดที่ตั้งไว้ให้ปั๊มทำงาน ปั๊มน้ำก็จะทำการสูบน้ำจากถังเก็บน้ำดิบไปเข้าสู่ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำ จนได้น้ำสะอาดxxxxxxxในถังเก็บน้ำดื่ม จนกระทั่งน้ำในถังเก็บน้ำมีปริมาณมาก เพียงพอถึงจุดสูงสุดที่ตั้งไว้ ปั๊มก็จะหยุดทำงานโดยอัตโนมัติ แต่ระบบการทำงานก็ต้องxxxxxxxxกับระดับน้ำในถัง เก็บน้ำดิบ ถ้าระดับน้ำในถังเก็บน้ำดิบมีระดับต่ำปั๊มก็จะไม่ทำงาน (ซึ่งxxxxxxตั้งค่าระดับน้ำต่ำสุดที่ต้องการให้ ปั๊มหยุดทำงาน และระดับน้ำที่ต้องการให้ปั๊มเริ่มทำงานได้) ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้ปั๊มน้ำเกิดความเสียหาย เนื่องจากการทำงานเมื่อมีการเปิดก๊อกน้ำเพื่อใช้น้ำ จะมีปั๊มน้ำแบบอัตโนมัติสำหรับสูบน้ำเข้าเครื่องบรรจุน้ำเป็น ตัวช่วยจ่ายน้ำให้มีปริมาณน้ำเพียงพอและแรงดันน้ำxxxxx เมื่อเปิดก๊อกจ่ายน้ำออก ณ อัตราการไหลค่าหนึ่งและ ปั๊มน้ำจะหยุดโดยอัตโนมัติเมื่อปิดก๊อกน้ำแล้ว นอกจากนี้ยังxxxxxxตัดการทำงานของปั๊มน้ำได้โดยอัตโนมัติ เมื่อปริมาณน้ำในถังเก็บน้ำดีแห้ง ทำให้ไม่มีน้ำไหลผ่านเข้าท่อทางดูดของปั๊มน้ำเพื่อป้องกันปั๊มน้ำเสียหาย ทั้งนี้กระแสไฟฟ้าในระบบเป็นไฟกระแสตรงแรงเคลื่อน ไฟฟ้าไม่เกิน 24 โวลต์ เพื่อความปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน
2.15 ระบบท่อ
ให้ติดตั้งระบบท่อต่างๆสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 10 ซม. โดยให้ทำขารับและรัดท่อด้วย กิ๊บรัดท่อxxxxxx ทุกระยะไม่เกิน 1.2 เมตร หรือตามความเหมาะสม
2.16 รายละเอียดวัสดุประกอบระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำฯ ประกอบด้วย
1) ถังสำหรับบรรจุน้ำดื่มชนิดพลาสติกแข็งปริมาตรบรรจุประมาณ 18 ลิตร
จำนวน 20 ถัง
2) ขวดน้ำดื่มชนิดพลาสติกใส (PET) xxxxxxนำมาใชหมุ้ นเวียนได้ ขนาดประมาณ
500 xxxx จำนวน 120 ขวด พร้อมลังบรรจุขวดจำนวน 6 ลังและแผ่นบังคับขวดทำด้วย PVC หนา 5 มิลลิเมตร
จำนวน 2 แผ่น
3) ไส้กรองสังเคราะห์ชนิดโพxxxxรไพลีน (Polypropylene Yam) ขนาดกรองได้ ละเอียด 1 ไมครอน ยาว 20 นิ้ว จำนวน 4 ชิ้น
4) ไส้กรองเซรามิค ขนาดกรองได้ละเอียด 0.3 ไมครอน ยาว 20 นิ้ว จำนวน 4
ชิ้น
5) สารเคมีป้องกันการxxxxxxหน้าxxxxxxx (Anti-scalant) จำนวน 10 ลิตร
6) เครื่องวัดปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS) แบบปากกา 2 เครื่อง มีค่า
ความถูกต้อง ± 2% ของมาตรเต็ม และxxxxxxสอบเทียบได้ 1 จุด
2.17 ระบบน้ำทิ้ง
xxxxxxxxxx ทำจากวงบ่อคอนกรีตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00 ม. สูง 40 ซม. พร้อม ฝาปิดxxxxxxxxxxแบบสำเร็จรูปทำจากคอนกรีต รายละเอียดตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
จบข้อ 6.2.10
6.2.11 คุณลักษณะเฉพาะงานติดตั้งจุดจ่ายน้ำxxxx
รายละเอียดคุณสมบัติเฉพาะ (ตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด)
1) ท่อโค้งชุดจ่ายน้ำใช้ท่อxxxxxxx 304L ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 1/2 นิ้ว ขึ้นรูปแบบติดตั้งตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
2) โครงสร้างยึดท่องวงช้าง ใช้ท่อเหล็กอาบสังกะสี มอก. 277 - 2532 ขนาดxxxx xxxxศูนย์กลาง 1 นิ้ว และ 3/4 นิ้ว ติดตั้งตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
3) หางปลาไหลเหล็ก ขนาด 2 1/2 นิ้ว
4) สายส่งน้ำไนล่อน ขนาด 2 1/2 นิ้ว สายส่งน้ำผลิตจากด้ายโพลีเอสเตอร์ คุณภาพสูง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง (ID) 65 มิลลิเมตร ± 5% ความแข็ง 75 Shore A+5 xxxxxxทนแรงดัน ทั้งจากภายในและภายนอกxxxxxxน้อยกว่า 2 บาร์ ทนต่อความดันอัดระเบิดxxxxxxน้อยกว่า 10 บาร์ xxxxxxใช้ งานได้ในระหว่างอุณหภูมิตั้งแต่ 20 ถึง 80 องศาเซลเซียส ความยาวไม่น้อยกว่า 100 เมตร ให้แสดงตัวหนังสือ สีxxxxxว่า “กรมทรัพยากรน้ำบาดาล” และตราสัญลักษณ์กรมทรัพยากรน้ำบาดาลความสูงของตัวxxxxxและ สัญลักษณ์ ไม่น้อยกว่า 1.5 เซนติเมตร กำกับไว้ทุกๆ 10 เมตร
5) แหวนรัดxxxxxxx สำหรับรัดสายส่งน้ำไนล่อน ผลิตจาก Stainless Steel SUS 304 xxxxxxใช้งานในพื้นที่ชื้นแฉะ แช่จุ่ม หรือที่มีไอน้ำทะเลได้โดยไม่เป็นสนิม ตัวเหล็กมีความทนทาน ไม่มีคม รัดxxxxxxxxxxและไม่รูดง่าย
6) ตู้เก็บสายส่งน้ำไนล่อน ขนาดตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกำหนด
จบข้อ 6.2.11
6.2.12 คุณลักษณะเฉพาะงานติดตั้งป้ายโครงการ
ป้ายโครงการและป้ายบอกทางให้มีโครงสร้างและขนาดเป็นไปตามแบบที่กรมทรัพยากร น้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี กำหนด
จบข้อ 6.2.12
6.2.13 คุณลักษณะเฉพาะงานก่อสร้างรั้วโครงการ
งานรั้วโครงการให้มีโครงสร้างและขนาดเป็นไปตามแบบที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดย สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี กำหนด
จบข้อ 6.2.13
6.2.14 คุณลักษณะเฉพาะงานปรับพื้นที่พร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์
งานถมดินเพื่อปรับพื้นที่ก่อสร้าง โดยงานถมดินปริมาณตามที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี กำหนด โดยวัสดุที่ใช้มี CBR ≥ 8 % บดอัดแน่นไม่น้อยกว่า 95 % ของความxxxxxxxสูงสุดของดินแห้งตามวิธีการ Modified Proctor Density ทั้งนี้เมื่อทำการบดอัด แน่นตามมาตรฐานแล้ว มีความหนาไม่เกิน 20 เซนติเมตร
7. การxxxxxxงาน
7.1 ผู้รับจ้างจะต้องก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ และจะต้องเป็นผู้จัดหาวัสดุ ก่อสร้าง ครุภัณฑ์พร้อมอุปกรณ์เครื่องใช้ ตลอดจนแรงงานมาทำการก่อสร้างให้แล้วเสร็จ สำหรับค่าใช้จ่าย ต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างxxxxxxการก่อสร้าง xxxx ค่าน้ำและค่าไฟฟ้า และอื่นๆ ให้ผู้รับจ้างทำข้อตกลงกับผู้xx xxxxxตัดสินใจของสถานที่ๆจะทำการก่อสร้างนั้นๆ ในการออกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตามแต่จะตกลงกัน
7 .2 ผู้รับจ้างต้องจัดท ำแผนการใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของxxxxxxพัสดุที่จะใช้ในงานก่อสร้างทั้งหมดxxxxxxxx ภายใน 60 วัน นับถัดจากxxxxxxได้ลงนามในสัญญา โดยยื่นต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุผ่านผู้ควบคุมงาน
7.3 ผู้รับจ้างต้องจัดทำแผนการใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณ เหล็กที่จะใช้ในงานก่อสร้างทั้งหมดxxxxxxxx ภายใน 60 วัน นับถัดจากxxxxxxได้ลงนามในสัญญา โดยยื่น ต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุผ่านผู้ควบคุมงาน
7.4 การเดินท่อส่งน้ำจากปากบ่อน้ำบาดาลไปยังหอถังเหล็กเก็บน้ำ ผู้รับจ้างต้องวางท่อตามแนวที่ กำหนดไว้ในแผนผังของพื้นที่โครงการตามที่ผู้ควบคุมงานของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำ บาดาล เขต 10 อุดรธานี กำหนด
7.5 ก่อนที่จะทำการติดตั้งถังเหล็กเก็บน้ำ และหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน ผู้รับจ้างต้องแจ้ง ให้ผู้ควบคุมงานของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี ตรวจสอบหรือ ทดสอบคุณสมบัติและรับรองความถูกต้องของอุปกรณ์ดังกล่าวเป็นลายลักษณ์xxxxxและให้ส่งใบ Name Plate ของหอถังแก่ผู้ควบคุมงานก่อนการติดตั้งโดยมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
- เครื่องหมายการค้าและชื่อบริษัทผู้ผลิต
- วัน เดือน ปี (ที่ผลิต)
- Lot No.
- Serial No
7.6 พื้นที่โครงการที่จะก่อสร้างระบบประปาบาดาลได้กำหนดไว้ในบัญชีรายชื่อตามเอกสาร ภาคผนวก ก โดยกรมทรัพยากรน้ำบาดาล xxxxxxxxxxที่จะเปลี่ยนแปลงสถานxxxxxxจะก่อสร้าง จากสถานxxxxxxx xxxกำหนดไว้ได้ตามความเหมาะสม
7.7 งานที่ส่งมอบได้ จะต้องติดตั้งเสร็จxxxxxxxทุกรายการ และต้องต่อเป็นระบบพร้อมทั้งxxxxxx สูบน้ำขึ้นเก็บในหอถังเหล็กเก็บน้ำได้เต็มหอถัง
7.8 ผู้รับจ้างต้องเสนอขอความเห็นชอบต่อผู้xxxxxxxทุกครั้งก่อนxxxxxxการซ่อมแซม แก้ไข ดัดแปลง รื้อถอน ขนย้าย และxxxxxxการอื่นใดทั้งปวง กับวัตถุ สิ่งก่อสร้าง ระบบสาธารณูปโภค รวมถึงพื้นที่บริเวณ สถานที่ก่อสร้าง เพื่อให้งานก่อสร้างแล้วเสร็จxxxxxxxถูกต้องตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกำหนด ในสัญญาทุกประการ รวมทั้งเพื่อให้ทรัพย์สิน สิ่งก่อสร้าง บริเวณสถานที่ก่อสร้าง กลับคืนสู่สภาพxxxxเรียบร้อย โดยต้องจัดทำรายxxxxxxxxxxxxxxxxการประกอบไว้ด้วย ทั้งนี้ ผู้รับ xxxxต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย ค่าเสียหาย ตลอดจนค่าxxxxxxการอื่นใดทั้งปวงที่ใช้เพื่อการนี้แต่เพียงฝ่ายเดียว
7.9 กรณีที่งานวางท่อจ่ายน้ำล้ำเข้าไปในเขตที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยราชการอื่น ให้ผู้รับจ้างเป็นผู้ขออนุญาตจากหน่วยราชการที่รับผิดชอบถนนนั้น และเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายต่างๆ เมื่อได้รับ อนุญาตแล้วจึงxxxxxxการวางท่อตามรายxxxxxxxxxxวางท่อ และส่งมอบเอกสารหลักฐานxxxxxxรับอนุญาตมอบให้ ผู้xxxxxxxด้วย
7.10 หากสิ่งใดxxxxxxระบุไว้ในแบบรูปรายการหรือข้อกำหนด แต่จำเป็นต้องทำหรือจัดหา เพื่อให้งานเป็นไปตามหลักวิชาการและหลักวิศวกรรม ผู้รับจ้างจะต้องxxxxxxการ โดยxxxxxxxxxใช้จ่ายที่เกิดขึ้นxxxxx ทั้งสิ้นและไม่xxxxxxอ้างระยะเวลาที่เสียไปจากการแก้ไขระบบฯ มาขอขยายอายุสัญญาหรืองดเว้นค่าปรับได้
7.11 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำคู่มือการใช้งานและการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น ประกอบด้วยแผนภาพ แสดงการทำงานของระบบประปาบาดาล คุณลักษณะ หน้าที่ การทำงาน อายุการใช้งาน ของแต่ละส่วน ขั้นตอนการทำงานทั้งระบบและวิธีการดูแลบำรุงรักษา จำนวน 5 เล่มต่อแห่ง นอกจากนี้ ต้องมีการฝึกอบรม ให้ผู้ดูแลระบบได้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้งานและการบำรุงรักษาเป็นอย่างดี
7.13 ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีผู้ควบคุมxxxxxxก่อสร้าง และผู้ควบคุมงานต้องเขียนรายงานการควบคุม งานประจำวัน พร้อมลงนามรับรองการควบคุมก่อสร้างทุกแห่งที่ทำการก่อสร้างส่งให้ผู้ควบคุมงานของ ผู้xxxxxxx ทุก 7 วัน จนกว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จ
7.14 ผู้รับจ้างต้องมีวิศวกรที่มีใบอนุญาตประกอบอาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาโยธา พร้อมลงนาม รับรองงานก่อสร้างตามประเภทและขนาดของงานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา ตามกฎกระทรวง และต้องแสดงแบบ Wiring diagram ของระบบไฟฟ้าภายในโครงการ และแบบแสดง แนวทาง การติดตั้งสายไฟฟ้าจากชุดควบคุมเครื่องสูบน้ำถึงเครื่องสูบน้ำพร้อมทั้งระบุชนิดและขนาดสายไฟฟ้า ทั้งนี้จะต้องรับรองความถูกต้องโดยวิศวกรไฟฟ้า พร้อมแนบเอกสารสำเนาใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
7.15 ผู้รับจ้างจะต้องเขียนแบบแนวท่อจ่ายน้ำ ทั้งในรูปแบบเอกสารขนาดไม่น้อยกว่า A3 โดยมี ผู้ควบคุมงานลงนามรับรอง และไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ (.dwg) ส่งพร้อมกับการตรวจรับงาน
7.16 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำคู่มือของเครื่องแปลงไฟฟ้าสำหรับเครื่องสูบน้ำ (Inverter) เป็นภาษาไทย แนบประกอบส่งงานด้วย
7.17 ผู้รับจ้างต้องxxxxxxการวิเคราะห์คุณภาพน้ำบาดาลภายหลังจากผ่านระบบปรับปรุงคุณภาพ น้ำแล้ว พร้อมแสดงผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำดังกล่าว และให้แนบมาพร้อมการส่งมอบงานเพื่อประกอบการ พิจารณาตรวจรับของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
7.18 การเปลี่ยนแปลงแนววางท่อ หรือเดินท่อไม่ครบตามระยะที่กำหนดให้บริษัทผู้รับจ้างนำท่อ ส่วนที่ขาดจากระยะที่กำหนดส่งให้กับผู้ที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานที่สำนัก ทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 10 (อุดรธานี) เป็นลายลักษณ์xxxxxและให้แนบมาพร้อมการส่งมอบงานด้วย
7.19 การจัดการจราจร การติดตั้งเครื่องหมาย และสัญญาณการจัดการจราจร การติดตั้ง เครื่องหมายและสัญญาณ เป็นงานที่ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามและหรือกรมจะxxxxxxxเพื่อให้เกิดความเป็น xxxxxxxและความปลอดภัยต่อผู้ที่สัญจรไปมาและเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์งานก่อสร้างด้วยรูปแบบป้าย ประกาศและป้ายสัญญาณต่างๆ จะประกอบด้วยป้ายและสัญญาณ ๓ ประเภท คือ
(๑) ป้ายประชาสัมพันธ์ (Information signs)
(๒) ป้ายประกาศงานก่อสร้าง (Construction signs) (๓) ป้ายจราจร (Traffic signs) ป้ายสัญญาณจราจร
รายละเอียดในเรื่องต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นให้ใช้ตามข้อกำหนดของคณะกรรมการป้องกัน อุบัติภัยแห่งชาติ โดยมีรายละเอียดเบื้องต้น ดังนี้
1) ป้ายประชาสัมพันธ์ (Information signs)เป็นป้ายประกาศเพื่อใช้ในการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนหรือผู้ใช้ถนนได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของงานโครงการรวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับ รายละเอียดต่างๆ ของงานก่อสร้าง ป้ายประเภทนี้จะติดตั้งไว้ที่สำนักงานสนามชั่วคราว บริเวณปากซอย หรือ จุดเริ่มต้นโครงการให้ประชาชนได้ทราบ ตำแหน่งที่ติดตั้งป้ายอาจจะติดตั้งไว้บนขาตั้งตัวอาคารหรือเสาไฟฟ้า
ลักษณะป้ายโดยทั่วไปxxxxxxxxไม้อัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีขาวหรือพื้นสีน้ำเงินแบ่ง ออกเป็น ๓ ขนาด ขนาดใหญ่ ๒.๔๐x๔.๘๐ ม. ตัดขอบรอบแผ่นป้ายสีขาวหนา ๑ นิ้ว ตัวxxxxxสีขาว พื้นสีxxx xxxxป้ายxxxxxxxx ๑.๒๐ x ๒.๔๐ ม. ตัวขอบป้ายxxxxxxxสีน้ำเงินหนา ๓ ซม. และขอบในสีxxxxxx ๓ ซม. ช่องว่างระหว่างขอบ ๑ ซม. ตัวxxxxxสีน้ำเงิน พื้นสีขาว ป้ายขนาดxxxx xxขนาด ๐.๘๐x๑.๒๐ ม. ตัวขอบป้าย xxxxxxxสีน้ำเงินหนา ๒ ซม. ขอบในสีxxxxxxหนา ๒ ซม. ช่องว่างระหว่างขอบ ๑/๒ ซม.
รายละเอียดข้อความในป้ายอย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) สัญลักษณ์ของหน่วยงานเจ้าของโครงการ
(๒) ชื่อหน่วยงานเจ้าของโครงการ
(๓) สถานที่ติดต่อและหมายเลขโทรศัพท์
(๔) ประเภทและชนิดสิ่งก่อสร้าง
(๕) ปริมาณงานก่อสร้าง
(๖) ชื่อ ที่อยู่ของผู้รับจ้างพร้อมหมายเลขโทรศัพท์
(๗) ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด
(๘) วงเงินค่าก่อสร้าง
(๙) ชื่อเจ้าหน้าที่ของเจ้าของโครงการผู้ควบคุมงานพร้อมหมายเลขโทรศัพท์
๒) ป้ายก่อสร้าง (Construction signs) เป็นป้ายประกาศที่ติดตั้งเคลื่อนที่ไปตาม บริเวณที่มีการก่อสร้างเริ่มตั้งแต่เข้าเขตบริเวณที่มีงานก่อสร้างถึงเขตสิ้นสุดงานก่อสร้าง เพื่อชี้แจงให้ประชาชน หรือผู้ใช้ถนนได้ทราบขั้นตอนงานก่อสร้างหรือปัญหาxxxxxxxxxxเกิดขึ้นในงานก่อสร้าง โดยจะติดตั้งอยู่บนแผง เหล็กหรือขาตั้งและวางไว้บริเวณที่มีการก่อสร้าง
ลักษณะป้ายโดยทั่วไปขนาด ๐.๖๐ x ๐.๘๐ ม. เป็นไม้อัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นทาสี ขาวตัวxxxxxสีน้ำเงินขอบป้ายxxxxxxxสีน้ำเงินหนา ๑.๕ ซม. ขอบในสีxxxxxxหนา ๑.๕ ซม. ช่องว่างระหว่าง ขอบ ๑/๒ ซม.
รายละเอียดข้อความในป้ายอย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) ลักษณะงานก่อสร้าง
(๒) วันเริ่มงาน และxxxxxxแล้วเสร็จ
(๓) ชื่อผู้รับจ้าง และหมายเลขโทรศัพท์
(๔) ชื่อผู้ควบคุมงานและหมายเลขโทรศัพท์
๓) ป้ายจราจร (Traffic signs) เป็นป้ายที่ติดตั้งเพื่อเตือนหรือแนะนำผู้ใช้ถนนหรือผู้ สัญจรให้ทราบ เมื่อเข้าในเขตที่มีการก่อสร้าง ทั้งนี้ เพื่อให้ความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ถนน หรืออาจจะเป็นป้าย สัญญาณการจราจรที่มีผลบังคับใช้ให้ผู้ขับขี่xxxพาหนะที่ผ่านเข้ามาต้องปฏิบัติตาม ทั้งนี้ เพื่อให้ความปลอดภัย แก่ผู้ขับขี่เองหรือผู้อื่นที่ใช้ถนนป้ายประเภทนี้จะแบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ
(๑) ป้ายบังคับ (Regulatory signs) เป็นป้ายที่มีผลบังคับตามกฎหมาย ซึ่งต้องให้ เป็นไปตามมาตรฐานและติดตั้งป้ายโดยเจ้าพนักงานตำรวจจราจรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในxxxxxxxxเท่านั้น ป้ายดังกล่าวนี้ได้แก่ ป้ายห้ามจอดรถป้ายชิดซ้าย ป้ายชิดขวา ป้ายห้ามเข้า ฯลฯ โดยผู้รับจ้างต้องxxxxxxงาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ผู้ใช้ถนน
(๒) ป้ายเตือน (Warning signs) เป็นป้ายเตือนที่ใช้ในงานก่อสร้าง เพื่อให้ผู้ขับขี่ ยวดยานได้ทราบถึงอันตรายจากxxxxxxxxxxxxxงานเมื่อเข้ามาในเขตก่อสร้าง ซึ่งอาจจะมีงานหรือสิ่งผิดxxxx หรือการเปลี่ยนแปลงxxxxxxxจราจรไปจากสภาพเดิม ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ถนนได้ทราบล่วงหน้า ป้ายประเภทนี้จะ ได้แก่ป้ายที่คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ (กปอ.) ได้จัดทำขึ้นมา ซึ่งมีผลบังคับใช้ในหน่วยราชการและ รัฐวิสาหกิจ สำหรับงานก่อสร้างในบริเวณที่สาธารณะ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อxxxxxx ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๗
ป้ายประเภทนี้จะเป็นป้ายพื้นสีxxxสะท้อนแสง ตัวxxxxxหรือตัวหนังสือสีดำ ตัด ขอบดำติดตั้งไว้ตามบริเวณที่มีการก่อสร้าง นอกจากนี้ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล
เขต 10 อุดรธานี xxxxxxกำหนดสัญญาณไฟหรือป้ายเตือนเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ในบริเวณที่มีxxxxxxxจราจรคับคั่งและอาจมีปัญหาได้ โดยผู้รับจ้างจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเองทั้งสิ้น
๔) การจัดทำป้ายและสัญญาณการใช้งานและการบำรุงรักษา
๑) การจัดทำป้ายและสัญญาณ ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้เตรียมวัสดุต่างๆ สำหรับจัดทำ แผ่นป้ายและสัญญาณตามขนาดและรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการป้องกัน อุบัติเหตุแห่งชาติ แต่อย่างไรก็ตามหากในกรณีที่กรมได้จัดทำแผ่นโปสเตอร์หรือให้ผู้รับจ้างจัดทำแผ่นโปสเตอร์ เอง ซึ่งเป็นข้อความตามป้ายชนิดต่างๆ ที่ระบุในข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันอุบัติเหตุ แห่งชาติ ผู้รับจ้างจะต้องนำแผ่นโปสเตอร์นี้ไปใช้งานเป็นป้ายประกาศต่างๆ โดยผู้รับจ้างเป็นผู้จ่ายค่าใช้จ่ายเอง ทั้งสิ้น
๒) การใช้xxx xxxใช้งานตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการป้องกัน อุบัติเหตุแห่งชาติxxxxxxนำไปใช้xxxxxxงานทั่วไป หากxxxxxxxจราจรในบริเวณที่มีอันตรายมากหรือมีความ xxxxxxxxxxxxเป็นพิเศษให้xxxxxการป้องกันโดยใช้เครื่องหมายให้มากขึ้นหรือxxxxxขนาดให้ใหญ่ขึ้น
บนเส้นทางที่มีปริมาณการจราจรสูงในชั่วโมงเร่งด่วน การxxxxxxงานก่อสร้างจะทำ ให้การจราจรติดขัดได้ แม้ว่าจะมีเครื่องหมายควบคุมการจราจรxxxxxxxxxxแบบเพียงใดก็ตาม ดังนั้น จึงควร หลีกเลี่ยงการxxxxxxงานในชั่วโมงดังกล่าว
บนเส้นทางนอกเมืองที่มีปริมาณการจราจรต่ำ แต่สภาพของทางดี ยวดยานมักจะใช้ ความเร็วสูง การลดมาตรฐานเครื่องหมายควบคุมการจราจรอาจเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุและเป็นอันตรายต่อ ผู้ปฏิบัติงานxxx xxxต้องติดตั้งเครื่องหมายควบคุมการจราจรให้ครบตามข้อกำหนด
๓) การบำรุงรักษา เครื่องหมายควบคุมการจราจรที่อยู่ในสภาพxx xxxxxx ทันต่อ เหตุการณ์ และอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมจะทำให้ผู้ขับขี่ยวดยานปฏิบัติตาม ดังนั้น การบำรุงรักษาเป็น สิ่งจำเป็นมาก จึงต้องคอยทำความสะอาด ดูแลให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง xxxxxxxxxxxเมื่อหมดอายุการใช้งาน เป็นต้นสิ่งที่จะต้องxxxxxxการทันทีเมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จ คือรื้อถอนเครื่องหมายการจราจรที่หมดความ จำเป็นออกทันที
8. สถานที่xxxxxxการ
สถานxxxxxxจะxxxxxxการก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี xxxxxxxxxxที่จะเปลี่ยนแปลงสถานxxxxxxจะก่อสร้าง จากสถานxxx xxxxxxxกำหนดไวได้ตามความเหมาะสม
9. ระยะเวลาxxxxxxการ
แล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับถัดจากxxxxxxลงนามในสัญญา
10. ระยะเวลาส่งมอบงาน
ภายในระยะเวลา 120 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา
11. วงเงินในการxxxx
วงเงินงบประมาณxxxxxxรับจัดสรร 57,826,000 บาท (ห้าสิบเจ็ดล้านแปดxxxxxxหมื่นหกพันบาท
ถ้วน)
ถ้วน)
ราคากลางรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 57,826,000 บาท (ห้าสิบเจ็ดล้านแปดxxxxxxหมื่นหกพันบาท
12. การประกนการชำรุดเสียหาย
ผู้รับจ้างจะต้องประกันการชำรุดเสียหาย ของวัสดุ และอุปกรณ์จากการใช้งานตามxxxx เป็นเวลา 2 ปี นับตั้งแต่xxxxxxรับมอบงาน และเป็นภาระของผู้รับจ้างจะต้องดูแลวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้อยู่ใน สภาพใช้งานxxxxx ยกเว้นวัสดุสิ้นxxxxxxxxxจะต้องเปลี่ยนตามอายุ และเวลาการใช้งาน หากในระยะเวลาดังกล่าว xxxxxxxชำรุดเสียหายหรือขัดข้อง ผู้รับจ้างต้องทำการแก้ไขให้เสร็จภายใน 10 วัน นับแต่xxxxxxได้รับแจ้งเป็น ลายลักษณ์xxxxxโดยไม่คิดค่าเสียหายใดๆ ทั้งสิ้น และแจ้งผลการแก้ไขเป็นลายลักษณ์xxxxxให้สำนักทรัพยากร น้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี ทราบภายใน 7 วัน นับจากวันแก้ไขแล้วเสร็จ
13. ค่าxxxxและการจ่ายเงิน
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จะจ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง แบ่งออกเป็น 4 งวด รายละเอียด ดังนี้
งวดที่ 1 จ่ายเงินค่าxxxxเป็นจำนวนเงินร้อยละ 26 ของวงเงินค่าก่อสร้างxxxxxxxxxxxx เมื่อผู้รับจ้าง
xxxxxxการต่อไปนี้
1.1 งานปรับพื้นที่
1.2 งานฐานรากหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน ขนาดความจุ 300 ลบ.ม. สูง 30 ม.
1.3 งานฐานรากถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลบ.ม. สูง 7.5 ม.
1.4 งานก่อสร้างฐานรากถังกรองสนิมเหล็ก (ชนิดตอกเสาเข็ม)
1.5 งานก่อสร้างฐานรากโรงสูบน้ำ
1.6 งานก่อสร้างฐานรากอาคารศูนย์การเรียนรู้ด้านน้ำบาดาล
1.7 งานติดตั้งหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน ขนาดความจุ 300 ลบ.ม. สูง 30 ม. พร้อม ส่วนประกอบอื่นๆ
กำหนดแล้วเสร็จภายใน 50 วัน นับจากวันเริ่มทำงานxxxxxxxxxxxx
งวดที่ 2 จ่ายเงินค่าxxxxเป็นจำนวนเงินร้อยละ 33 ของวงเงินค่าก่อสร้างxxxxxxxxxxxx เมื่อผู้รับจ้าง xxxxxxการต่อไปนี้
2.1 งานติดตั้งถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลบ.ม. สูง 7.5 ม. พร้อมส่วนประกอบอื่นๆ กำหนดแล้วเสร็จภายใน 80 วัน นับจากวันเริ่มทำงานxxxxxxxx
งวดที่ 3 จ่ายเงินค่าxxxxเป็นจำนวนเงินร้อยละ 26 ของวงเงินค่าก่อสร้างxxxxxxxxxxxx เมื่อผู้รับจ้าง
xxxxxxการต่อไปนี้
3.1 งานจัดหาเครื่องสูบน้ำสำหรับบ่อน้ำบาดาล พร้อมท่อสูบส่ง อุปกรณ์ติดตั้งและชุดควบคุม
มาตรฐาน
3.2 งานจัดหาและติดตั้งถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ Pressure Sand Filter xxxxxxกระบอก
ขนาด ø 2.5 เมตร ความสูง 2.44 เมตร
3.3 งานเดินท่อระบบประปา และระบบไฟฟ้าจากปากบ่อน้ำบาดาลไปยังถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาด ความจุ 500 ลบ.ม.
ลบ.ม.
3.4 งานเดินท่อจากถังเหล็กเก็บน้ำไปยังหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน ขนาดความจุ 300
3.4 งานเดินท่อเมนจ่ายน้ำ ได้ระยะทาง 4,600 เมตร กำหนดแล้วเสร็จภายใน 100 วัน นับจากวันเริ่มทำงานxxxxxxxx
งวดที่ 4 จ่ายเงินค่าxxxxเป็นจำนวนเงินร้อยละ 15 ของวงเงินค่าก่อสร้างxxxxxxxxxxxx เมื่อผู้รับจ้าง
xxxxxxการต่อไปนี้
4.1 งานเดินท่อเมนจ่ายน้ำ ทั้งหมดแล้วเสร็จ
4.2 งานติดตั้งเครื่องสูบน้ำแบบ Centifugal pump และชุดควบคุม
4.3 งานจัดหาอาคารสำเร็จรูปเพื่อระบบสูบน้ำ
4.4 งานจุดจ่ายน้ำบริการประชาชน
4.5 งานป้ายโครงการ ป้ายบอกทาง และป้ายโครงการหน้าอาคารศูนย์การเรียนรู้ด้านน้ำบาดาล
4.6 งานพื้นและรั้วล้อมรอบระบบส่งน้ำ
4.7 งานจัดหาอาคารศูนย์การเรียนรู้ด้านน้ำบาดาล พร้อมชุดบริการน้ำดื่ม
4.8 งานติดตั้งระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำดื่มสะอาดด้วยระบบรีเวอร์สออสโมซิส ระบบปรับปรุง คุณภาพน้ำบาดาล
4.9 งานติดตั้งท่อผ้าใบไนล่อนพร้อมอุปกรณ์ต่อเชื่อมระบบxxxxxxน้ำ
4.10 งานอื่นๆ ตามรูปแบบรายการและสัญญาxxxxงาน และเก็บกวาดทำความสะอาดบริเวณที่ ทำการก่อสร้างให้เรียบร้อย xxxxxxใช้งานระบบประปาและระบบxxxxxxน้ำได้
กำหนดแล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับจากวันเริ่มทำงานxxxxxxxx
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จะจ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง เมื่อส่งงานครบตามจำนวนที่ทางราชการกำหนด โดยส่งมอบเงินเป็นรายงวด และxxxxxxส่งมอบงานที่แล้ว เสร็จงวดใดก่อนก็ได้ และคณะกรรมตรวจรับพัสดุได้ตรวจรับงานเรียบร้อยแล้ว ฉะนั้น หากผู้รับจ้างส่งมอบงาน ไม่ครบตามจำนวนที่กำหนดไว้ทางราชการจะไม่จ่ายเงินให้
ผู้รับจ้างมีxxxxxเสนอขอรับเงินล่วงหน้า ในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ของของราคาxxxxxxxxxxxx แต่ ทั้งนี้จะต้องส่งมอบหลักประกันเงินล่วงหน้า เป็นพันธบัตรรัฐบาลไทย หรือหนังสือค้ำประกัน หรือหนังสือค้ำ ประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารภายในประเทศ ให้แก่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำ บาดาล เขต 10 อุดรธานี ก่อนการรับเงินล่วงหน้านั้น โดยผู้รับจ้างต้องทำหนังสือขอรับเงินล่วงหน้าหลังจากลง นามในสัญญาแล้ว
14. ค่าปรับ
14.1 กรณีที่ผู้รับจ้างนำงานที่รับจ้างไปxxxxxxxxให้ผู้อื่นทำอีกทอดหนึ่ง โดยxxxxxxรับอนุญาตจากกรม ทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จะกำหนดค่าปรับสำหรับ การฝ่าฝืน ดังกล่าวเป็นจำนวนร้อยละสิบของวงเงินของงานxxxxxxxxนั้น
14.2 ผู้รับจ้างพึงปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและxxxxxxxxxxกำหนดไว้โดยเคร่งครัด หากผู้ รับจ้างไม่xxxxxxทำงานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้xxxxxxx เป็นรายวันในในอัตราร้อยละ 0.10 ของราคาค่าxxxx
14.3 การปรับลดค่างาน
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จะพิจารณาปรับ ลดค่างานตามราคาต่อหน่วย ซึ่งรวมค่าxxxxxxการทั้งปวงแล้วของผู้รับจ้างตามใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่ แนบท้ายสัญญา
โดยการทำสัญญาจะใช้สัญญาแบบปรับลดราคาได้ (ค่า K) เงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและ วิธีการคำนวณ ตามเอกสารภาคผนวก ข
15. หน่วยงานรับผิดชอบxxxxxxการ
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี
ภาคผนวก ก
รายชื่อสถานที่ก่อสร้าง
งานxxxxระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยxxxxอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
ลำดับ | สถานที่ | หมู่ที่ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด |
1 | ตำบลนามะเขือ | - | นามะเขือ | xxxxxx | xxxxxx |
ภาคผนวก ข
งานxxxxก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยxxxxอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
เงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีการคำนวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้
ก. เงื่อนไขและหลักเกณฑ์
1. สัญญาแบบปรับราคาxxxxxxใช้กับงานก่อสร้างทุกประเภท รวมถึงงานปรับปรุงและซ่อมแซมซึ่ง เบิกจ่ายงาน ในลักษณะหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุนและหมวดรายจ่ายอื่นที่ เบิกจ่ายในลักษณะค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ที่อยู่ในเงื่อนไขหลักเกณฑ์ตามxxxxxxกำหนดนี้
2. สัญญาแบบปรับราคาxxxxxxให้ใช้ทั้งในกรณีxxxxxหรือลดค่างานจากค่างานเดิมxxxxxxxx เมื่อดัชนี ราคาซึ่งจัดทำโดยกระทรวงพาณิชย์มีการเปลี่ยนแปลงสูงขึ้น หรือลดลงจากเดิมขณะเมื่อวันเปิดซองประกวด ราคา สำหรับกรณีxxxxxxxโดยวิธีอื่นให้ใช้ในวันเปิดซองราคาแทน
3. การนำสัญญาแบบปรับราคาได้ไปใช้นั้น ผู้xxxxxxxต้องแจ้งและประกาศให้ผู้รับจ้างทราบ xxxx ใน ประกาศประกวดราคาฯ ต้องระบุในสัญญาxxxxxxxxxxxงานxxxxเหมานั้นๆ จะใช้สัญญาแบบปรับราคาได้ พร้อม กำหนดประเภทของงานก่อสร้าง สูตร และวิธีการคำนวณที่ให้มีการปรับxxxxxหรือลดค่างานไว้อย่างชัดเจน ใน กรณีที่มีงานก่อสร้างหลายประเภทในงานxxxxคราวเดียวกัน จะต้องแยกประเภทงานก่อสร้างแต่ละประเภทให้ ชัดเจนตามลักษณะของงานก่อสร้างนั้นๆ และให้สอดคล้องกับสูตรที่กำหนดไว้
4. การขอเงินxxxxxค่าก่อสร้างxxxxxxxxแบบปรับราคาxxxxxx เป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างที่จะต้องเรียกร้อง ภายในกำหนด 90 วัน นับตั้งแต่xxxxxxผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานงวดสุดท้าย หากพ้นกำหนดนี้ไปแล้ว ผู้รับจ้างไม่มี xxxxxxxxจะเรียกร้องเงินxxxxxค่างานก่อสร้างจากผู้รับจ้างได้อีกต่อไป และในกรณีที่ผู้xxxxxxxจะต้องเรียกเงินคืนจาก ผู้รับจ้าง ให้ผู้xxxxxxxxxxเป็นคู่สัญญารีบเรียกเงินคืนจากผู้รับจ้างโดยเร็ว หรือให้หักค่างานของงวดต่อไป หรือให้ หักเงินจากxxxxประกันสัญญาแล้วแต่กรณี
5. พิ จารณาคำนวณเงินxxxxxหรือลดและการจ่ายเงินxxxxxหรือเรียกเงินคืนจากผู้ รับจ้าง ตามเงื่อนไขและสัญญาแบบปรับราคาได้ต้องได้รับการตรวจสอบและเห็นชอบจากสำนักงบประมาณ และให้ถือ การพิจารณาวินิจฉัยของสำนักงบประมาณเป็นที่สิ้นสุด
ข. ประเภทงานก่อสร้างและสูตรที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ ในการพิจารณาxxxxxหรือลดราคาค่าxxxxเหมาก่อสร้างให้คำนวณตามสูตร ดังนี้
P = (Po) x (K)
กำหนดให้ P = ราคาค่างานต่อหน่วย หรือราคาค่างานเป็นงวดที่จะต้องจ่ายให้ผู้รับจ้าง
Po = ราคาค่างานต่อหน่วยที่ผู้รับจ้างประมูลได้ หรือราคาค่างานเป็นงวดซึ่ง ระบุไว้ในสัญญาแล้วแต่กรณี
K = Escalation Factor ที่หักด้วย 4% เมื่อต้องxxxxxค่างาน หรือบวกxxxxx 4%
เมื่อต้องเรียกค่างานคืน
Escalation Factor K หาได้จากสูตรซึ่งแบ่งตามประเภทและลักษณะงานดังนี้ งานก่อสร้างระบบประปาบาดาลขนาดใหญ่
ใช้สูตร K = 0.25 + 0.15 It/Io + 0.10 Ct/Co + 0.40 Mt/Mo + 0.10 St/So
งานดิน
ใช้สูตร K = 0.30 + 0.10 It/Io + 0.40 Et/Eo + 0.20 Ft/Fo
งานวางท่อ PVC กลบทราย
ใช้สูตร K = 0.25 + 0.05 It/Io + 0.05 Mt/Mo + 0.65 PVCt/PVCo
ดัชนีราคาที่ใช้คำนวณราคา ตามสูตรที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ จัดทำขึ้นโดยกระทรวงพาณิชย์
K | = | Escalation Factor |
It | = | ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Io | = | ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่เปิดซองประกวด |
Ct | = | ดัชนีราคาซีเมนต์ ในเดือนที่ส่งมอบงานแต่ละงวด |
Co | = | ดัชนีราคาซีเมนต์ ในเดือนที่เปิดซองประกวดราคา |
Mt | = | ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (ไม่รวมเหล็กและซีเมนต์) ในเดือนที่ส่งมอบงาน แต่ละงวด |
Mo | = | ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (ไม่รวมเหล็กและซีเมนต์) ในเดือนที่เปิดซองประกวดราคา |
St | = | ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
So | = | ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่เปิดซองประกวดราคา |
Et | = | ดัชนีราคาxxxxxxxxxxxกลและxxxxxxxx ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Eo | = | ดัชนีราคาxxxxxxxxxxxกลและxxxxxxxx ในเดือนที่ 28 วันก่อนวันยื่นซองประกวดราคา |
Ft | = | ดัชนีราคาน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Fo | = | ดัชนีราคาน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว ในเดือนที่ 28 วันก่อนวันยื่นซองประกวดราคา |
PVCt | = | ดัชนีราคาท่อ PVC ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
PVCo | = | ดัชนีราคาท่อ PVC ในเดือนที่เปิดซองประกวดราคา |
ค. วิธีการคำนวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้
1. การคำนวณค่า K ตามสูตรตามลักษณะของงานนั้นๆ ให้ใช้ตัวเลขดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างของ กระทรวงพาณิชย์ โดยใช้ฐานของปี 2530 เป็นเกณฑ์ในการคำนวณ
2. การคำนวณค่า K สำหรับกรณีที่มีงานก่อสร้างหลายประเภทรวมอยู่ในสัญญาเดียวกันจะต้องแยก ค่ างานก่อสร้างแต่ละประเภทให้ชัดเจนตามลักษณ ะของงานนั้ น ๆ และให้สอดคล้องกั บ สู ตร ที่กำหนดไว้
3. การคำนวณค่า K กำหนดให้ใช้เลขทศนิยม 3 ตำแหน่ง ทุกขั้นตอนโดยไม่มีการปัดเศษและ กำหนดให้ทำเลขxxxxxxxx (เปรียบเทียบ) ให้เป็นผลสำเร็จก่อนแล้วจึงนำผลลัพธ์ไปคูณกับตัวเลขxxxxx หน้าเลข xxxxxxxxนั้น
4. ในการพิจารณาเงินxxxxxหรือลดราคาค่างานจากราคาที่ผู้รับจ้างทำสัญญาตกลงกับผู้xxxxxxxเมื่อค่า K ตามสูตรสำหรับงานก่อสร้างนั้น ๆ ในเดือนที่ส่งมอบงานมี่ค่าเปลี่ยนแปลงไปจากค่า K ในเดือนเปิดซองราคา มากกว่า 4% ขึ้นไป โดยนำเฉพาะส่วนที่เกิน 4 % มาคำนวณปรับxxxxxหรือลดค่างานแล้วแต่กรณี (โดยไม่คิด 4% แรกให้)
5. ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่xxxxxxทำการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาในสัญญาโดยเป็นความผิด ของผู้รับจ้าง ค่า K ตามสูตรต่างๆ ที่จะนำมาใช้ในการคำนวณค่างานให้ใช้ค่า K ของเดือนสุดท้ายของอายุสัญญา หรือค่า K ของเดือนที่ส่งมอบงานจริง แล้วแต่ว่าค่า K ตัวใดจะมีค่าน้อยกว่า
6. การจ่ายเงินแต่ละงวด ให้จ่ายค่าxxxxงานที่ผู้รับจ้างทำได้แต่ละงวดxxxxxxxxไปก่อน ส่วนค่างาน xxxxxหรือค่างานลดลงซึ่งจะคำนวณได้ต่อเมื่อทราบดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างซึ่งนำมาคำนวณหาค่า K ของเดือนที่ส่ง มอบงานงวดนั้นๆ เป็นที่แน่นอนแล้ว เมื่อคำนวณเงินxxxxxxxxให้ขอทำความตกลงเรื่องการเงินกับสำนักงบประมาณ
ขอรับรองว่าการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุข้างต้นเป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อxxxxxxx และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ลงxxxxxx 24 กุมภาพันธ์ 2560
คณะกรรมการกำหนดขอบเขตของงานเกี่ยวกับการxxxxxxxและกำหนดราคาxxxx xxxxxxx ก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยxxxxอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก ตามคำสั่ง สำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 10 อุดรธานี ที่ 73/2564 ลงxxxxxx 23 สิงหาคม พ.ศ. 2564
(ลงชื่อ).......................................................
xxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxxxxชำนาญงาน ประธานกรรมการ
(ลงชื่อ)......................................................
xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx xxxxxxปฏิบัติการ
กรรมการ
(ลงชื่อ).......................................................
xxxxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxปฏิบัติการ
กรรมการและเลขานุการ
แบบ บก.01
ตารางแสดงวงเงินงบประมาณxxxxxxรับจัดสรรและราคากลางในงานxxxxก่อสร้าง
1. ชื่อโครงการ xxxxก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำ โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่ แก้ปัญหาภัยxxxxอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก จังหวัด นครพนม
2. วงเงินงบประมาณxxxxxxรับ
จัดสรรวงเงินงบประมาณ 57,826,000 บาท (ห้าสิบเจ็ดล้านแปดxxxxxxหมื่นหกพันบาทถ้วน)
3. ลักษณะงานโดยสังเขป
งานก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบxxxxxxน้ำประกอบด้วย
1) งานติดตั้งเครื่องสูบน้ำแบบไฟฟ้าชนิดมอเตอร์จุ่มใต้น้ำขนาด 3 แรงม้า พร้อมอุปกรณ์
2) งานเดินท่อส่งน้ำจากปากบ่อน้ำบาดาลไปยังถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์ เมตร ความสูง 7.5 เมตร
3) งานก่อสร้างฐานรากพร้อมติดตั้งถังเหล็กสำเร็จรูปขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ความ
สูง 7.5 เมตร
4) งานติดตั้งอาคารสูบน้ำสำเร็จรูปพร้อมปั้มหอยโข่งชนิด Vertical Multistage ขนาด
20 แรงม้า พร้อมระบบควบคุม
5) งานติดตั้งxxxxxxไฟฟ้า Distribution Board (MDB)
6) งานก่อสร้างฐานรากพร้อมติดตั้งหอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน ขนาดความจุ 300 ลูกบาศก์เมตร ความxxxxxxหอถัง 30 เมตร
7) งานก่อสร้างฐานรากพร้อมติดตั้งถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่
8) งานเดินท่อระบบประปาส่งน้ำจากถังเหล็กเก็บน้ำ ขนาดความจุ 500 ลูกบาศก์เมตร ไปยัง
อาคารสูบน้ำสำเร็จรูป หอถังเหล็กเก็บน้ำชนิดรักษาแรงดัน และถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่
9) งานเดินท่อระบบประปาส่งน้ำจากถังกรองสนิมเหล็กขนาดใหญ่ ไปยังจุดจ่ายน้ำxxxx อาคารศูนย์เรียนรู้ด้านน้ำบาดาล และงานวางท่อเข้าสู่ชุมชน
10) งานติดตั้งอาคารศูนย์เรียนรู้ดานน้ำบาดาล
11) งานติดตั้งจุดจ่ายน้ำxxxx
12) งานติดตั้งป้ายโครงการ
13) งานติดตั้งรั้ว
14) งานปรับพื้นที่พร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์
4. ราคากลางคำนวณ ณ xxxxxx 24 สิงหาคม 2564
เป็นเงิน 57,826,000 บาท (ห้าสิบเจ็ดล้านแปดxxxxxxหมื่นหกพันบาทถ้วน)
5. บัญชีประมาณการราคากลาง
5.1 แบบแสดงรายการปริมาณงานและราคา (แบบ ปร.4)
5.2 แบบสรุปค่าก่อสร้าง (แบบ ปร.5)
5.3 แบบสรุปราคากลางงานก่อสร้างอาคาร (แบบ ปร.6)
6. รายชื่อคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
6.1 xxxxxxxx xxณศิริ ตำแหน่ง นายช่างเทคนิคชำนาญงาน
6.2 xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx ตำแหน่ง วิศวกรปฏิบัติการ
6.3 xxxxxxxxxx xxxxxxxx ตำแหน่ง วิศวกรปฏิบัติการ
วิธีกำหนดราคากลาง
ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อxxxxxxxและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มาตรา 4 กำหนดว่า “ราคากลาง” หมายความว่า ราคาเพื่อใช้เป็นฐานสำหรับเปรียบเทียบราคาที่ผู้ยื่นข้อเสนอได้ยื่น เสนอไว้ซึ่งxxxxxxจัดซื้อจัดxxxxxxxจริงตามลำดับ ดังต่อไปนี้
(1) ราคาxxxxxxมาจากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด
(2) ราคาxxxxxxมาจากฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุที่กรมบัญชีกลางจัดทำ
(3) ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณหรือหน่วยงานกลางอื่นกำหนด
(4) ราคาxxxxxxมาจากสืบราคาจากท้องตลาด
(5) ราคาxxxxxxซื้อหรือxxxxครั้งหลังสุดภายในระยะเวลาสองปีงบประมาณ
(6) ราคาอื่นใดตามหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐนั้น คณะกรรมการ กำหนดราคากลางตาม (1) ราคาxxxxxxมาจากการคำนวณตามหลักเกณฑ์
ที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด (3) ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณหรือหน่วยงานกลางอื่นกำหนด และ (4) ราคาxxxxxxมาจากสืบราคาจากท้องตลาด ดังนี้
ราคากลางรวมเป็นเงินทั้งสิ้น ราคา 57,826,000 บาท (ห้าสิบเจ็ดล้านแปดxxxxxxหมื่นหกพัน
บาทถ้วน)