แนวคิดการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ข้อกำหนดตัวอย่าง

แนวคิดการวิจัยเพื่อท้องถิ่น. ช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา งานวิจัยในประเทศไทย มักถูกตั้งโจทย์จากคนนอกทั้งที่เป็นนักวิชาการ หรือหน่วยงานต่างๆ เพียงเพื่อทดสอบทฤษฎีหรือต้องการหาคําตอบบางอย่าง ที่กลุ่มคนเหล่านั้นสนใจ หรือ เป็นการเข้าไปทําเพื่อกําหนดนโยบายในการคลี่คลายปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศ แต่ก็ยังเป็นที่กังขาว่า ผลงานวิจัย ได้ถูกนําไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับ คนส่วนใหญ่หรือไม่ สามารถตอบคําถามในชุมชน และนําไปแก้ไขปัญหาได้จริงหรือไม่ เพราะหลายๆ ปัญหา ยังไม่ได้รับการแก้ไข และในบางปัญหากลับดูเหมือนว่าจะรุนแรงมากขึ้น ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากขาดการ คํานึงถึงว่า ชุมชนต้องการจะคลี่คลายปัญหาในสิ่งที่กลุ่มคนภายนอกเข้าไปศึกษาหรือไม่ กล่าวคือ ผู้ที่ เกี่ยวข้องมักจะไม่ได้นํางานวิจัยไปใช้ หรือไม่ตอบสนองกับปัญหาของชุมชนนั่นเอง สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) จึงพยายามสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ ในการสนับสนุน งานวิจัย คือ “ไม่ว่าเรื่องอะไรก็ตาม ที่จะทําวิจัย โจทย์ควรมาจากชุมชนท้องถิ่น ทําแล้วก่อให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงในชุมชน ทําให้คนในชุมชน ได้เรียนรู้และเก่งขึ้น” บนฐานคิดตามความหมาย การวิจัยของ ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก ที่ได้กล่าวไว้ว่า “วิจัยที่แท้จริงนั้น จะต้องเป็นการวิจัย ที่หมายความถึงการแสวง คําตอบที่เป็นระบบเปิด และเรื่องของการพัฒนาจะต้องตั้งโจทย์ที่เป็นระบบเปิด การทํางานวิจัยในรูปแบบนี้ เราจะต้องมองเงื่อนไข ศักยภาพ เพื่อที่จะให้ท้องถิ่น สามารถพัฒนาตัวเองต่อไปได้” ท้ายที่สุดแล้ว เมื่อมี งานวิจัยมีข้อมูลและประสบการณ์จากหลายๆ พื้นที่ หลายๆ ชุมชนทั่วประเทศเพียงพอ ก็คาดว่าจะสามารถ นําไปสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ เพื่อผลักดัน สู่การเปลี่ยนแปลงนโยบาย ในระดับภาค ระดับประเทศ ทําให้ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นที่มาของการวิจัยเพื่อท้องถิ่นหรือ Community Based Research (CBR) ที่ เป็นการปรับเอาเครื่องมือ เทคนิค วิธีการ ของการวิจัยหรือการศึกษาในหลายๆ แบบมาปรับใช้ให้เหมาะสม กับแต่ละโครงการ โดยมีจุดเน้นอยู่ที่เปูาหมายของการวิจัย นั่นคือ “การสร้างปัญญา/ความเข้มแข็งให้กับ ชุมชนวิจัยเป็นหลัก” สําหรับแนวคิดการวิจัยเพื่อท้องถิ่นได้มีนักวิชาการ ได้สะท้อนความเห็นไว้หลากหลาย มุมมอง ดังนี้

Related to แนวคิดการวิจัยเพื่อท้องถิ่น

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๖.๑ ในการพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ สำนักงาน จะพิจารณาตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคาประกอบเกณฑ์อื่น

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ แบบรูปและรายการละเอียด

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกระงับการยื่น ข้อเสนอหรือทำสัญญากับสำนักงาน ไว้ชั่วคราว

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลงจ้างเป็น หนังสือจะกําหนด ดังนี้

  • ข้อสงวนสิทธิในการยื่นข้อเสนอและอื่น ๆ ๑๑.๑ เงินค่าจ้างสำหรับงานจ้างครั้งนี้ ได้มาจากเงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ การลงนามในสัญญาจะกระทำได้ต่อเมื่อ สำนักงานได้รับอนุมัติเงินค่าจ้างจาก เงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ แล้วเท่านั้น

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • การรับประกันความชำรุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • ค่าจ้างและการจ่ายเงิน (สํา👉รับสัญญาที่เป็นราคาเ👉มารวม) ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายและผู้รับจ้างตกลงรับเงินค่าจ้างจํานวนเงิน บาท (………………………………..…) ซึ่งได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม จํานวน…………..…………บาท ( ) ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และค่าใช้จ่ายทั้งปวงด้วยแล้ว โดยถือราคาเหมารวมเป็นเกณฑ์ และกําหนดการจ่ายเงินเป็น งวดๆ ดังนี้ งวดที่ ๑ เป็นจํานวนเงิน……………….………...บาท (… ) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงาน……………………………………ให้แล้วเสร็จภายใน………………………………………………….. งวดที่ ๒ เป็นจํานวนเงิน…….………………...บาท (…………………………………...………….) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงาน…………………………..…..……ให้แล้วเสร็จภายใน…………………………………………………. ..............................................ฯลฯ............................................. งวดสุดท้าย เป็นจํานวนเงิน……………..………....บาท (… ) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงานทั้งหมดให้แล้วเสร็จเรียบร้อยตามสัญญา รวมทั้งทําสถานที่ก่อสร้างให้สะอาดเรียบร้อยตามที่ กําหนดไว้ในข้อ ๒๐ การจ่ายเงินตามเงื่อนไขแห่งสัญญานี้ ผู้ว่าจ้างจะโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับจ้าง ชื่ อ ธ น า ค า ร ……………….….…….….ส า ข า ……….…..…….…….…..ชื่ อ บั ญ ชี เ ล ข ที่ บัญชี ทั้งนี้ ผู้รับจ้างตกลงเป็นผู้รับภาระเงินค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการอื่นใดเกี่ยวกับการ โอน รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นใด (ถ้ามี) ที่ธนาคารเรียกเก็บ และยินยอมให้มีการหักเงินดังกล่าวจากจํานวนเงินโอนในงวด นั้นๆ (ความในวรรคนี้ใช้สํา👉รับกรณีที่👉น่วยงานของรัฐจะจ่ายเงินตรงใ👉้แก่ผู้รับจ้าง (ระบบ Direct Payment) โดย การโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับจ้าง ตามแนวทางที่กระทรวงการคลัง👉รือ👉น่วยงานของรัฐเจ้าของ งบประมาณเป็นผู้กํา👉นด แล้วแต่กรณี)

  • การเสนอราคา ๔.๑ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้อง กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทำการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอ โดย ไม่ต้องแนบใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)