ความสําคัญของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ข้อกำหนดตัวอย่าง

ความสําคัญของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น. ความสําคัญของการวิจัยเพื่อท้องถิ่นในแง่ความยั่งยืนของชนบทและสังคมไทย ความรู้เป็นสิ่ง สําคัญนําการพัฒนา ดังนั้นการพัฒนาสังคมไทยต้องมีการปรับวัฒนธรรม จากวัฒนธรรมอํานาจไปสู่ วัฒนธรรมความรู้ จึงจะแก้ปัญหาได้ วัฒนธรรมความรู้มีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ 1) มีฉันทะในเรื่อง ความรู้ 2) มีความสามรถในการสร้างความรู้ได้ 3) ใช้ความรู้ในการดํารงชีวิตและการทํางาน 3) ได้รับ ประโยชน์ คือเกิดผลดีจากการใช้ความรู้ และ 5) มีความสุขจากกระบวนการความรู้ทั้งหมด เป็นแรงจูงใจ วกกลับไปทําให้มีฉันทะในเรื่องความรู้มากขึ้น (ประเวศ วะสี, 2544) การพัฒนาที่ผ่านมาเป็นแบบเชิงเดี่ยว คือเป็นการพัฒนาที่ทําให้คนคิดและเป็นแบบเดียวกัน เวลาเกิดวิกฤติก็วิกฤติเหมือนกัน มันเป็นโลกาภิวัติ ลดทางเลือกของคนลงเรื่อยๆ ขณะเดียวกันเป็นการดึง เอาอํานาจการควบคุมทรัพยากรจากคนท้องถิ่นไปรวมศูนย์ที่รัฐส่วนกลาง คนก็ไม่สามารถพึ่งตนเองได้ ใน ส่วนการวิจัยที่ผ่านมาก็เช่นกัน เป็นการวิจัยกระแสหลัก ที่มุ่งเน้นโครงสร้างและหน้าที่ คือ ทําให้คนเป็น ปึกแผ่น ยอมรับในอํานาจและอยู่ร่วมกันตามความหมายของผู้ปกครอง เป็นการวิจัยเพื่อการควบคุมไม่ใช่ วิจัยเพื่อการปลดปล่อย อย่างไรก็ตามความยั่งยืนของสังคมทั้งหมดขึ้นอยู่กับความยั่งยืนของสังคมชนบท ดังนั้น ควรคํานึงถึง 8 องค์ประกอบด้วยกัน คือ 1) ทรัพยากรธรรมชาติ 2) โครงสร้างทางกายภาพ

Related to ความสําคัญของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น

  • การเสนอราคา ๔.๑ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้อง กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทำการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอ โดย ไม่ต้องแนบใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกระงับการยื่น ข้อเสนอหรือทำสัญญากับสำนักงาน ไว้ชั่วคราว

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ

  • หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

  • การทำสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้

  • ข้อสงวนสิทธิในการยื่นข้อเสนอและอื่น ๆ ๑๑.๑ เงินค่าจ้างสำหรับงานจ้างครั้งนี้ ได้มาจากเงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ การลงนามในสัญญาจะกระทำได้ต่อเมื่อ สำนักงานได้รับอนุมัติเงินค่าจ้างจาก เงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ แล้วเท่านั้น

  • การรับประกันความชำรุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลงจ้างเป็น หนังสือจะกําหนด ดังนี้

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ แบบรูปและรายการละเอียด