การดําเนินงานโครงการใชกระบวนการวิจัยเพื่อทองถิ่น (Community-based Research: CBR) ซึ่ง เริ่มดําเนินโครงการ ตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม 2560 และจะสิ้นสุดการดําเนินงานในวันที่ 31 พฤษภาคม 2561 โดยดําเนินการศึกษาในพื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา ไดแก ตําบลดาน...
สัญญาเลขที่ RDG60E0028
รายงานฉบับสมบูรณ
โครงการรูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมxxxดี มสุข ดวยบุญxxxx
กรณีศึกษาตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx ประเทศไทย และกรุงสําโรง จังหวดั xxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา
โดย
เจาอธิการพิxxxx xxxxxxxxxxxและคณะ
สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น
คํานํา
โครงการรูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมท่ีเอื้อตอการสรางสังคมxxxดี มีสุข ดวยบุญxxxx กรณีศึกษาตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx และกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา มี วัตถุประสงค คือ 1) เพื่อศึกษาบริบทและสถานการณพื้นที่ชายแดนอําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx และกรุง สําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา 2) เพ่ือศึกษาความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมในอดีต – ปจจุบันชุมชน ชายแดนไทย – กัมพูชาทั้งแบบทางการและไมทางการ 3) เพื่อศึกษาปจจัยที่สนับสนุนและเปนอุปสรรคตอ ความสัมพันธของคนในชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา และ 4) เพื่อหารูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อ ตอการสรางสังคมxxxดีมีสุขดวยบุญxxxx พื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา จังหวัดสุxxxxx
การดําเนินงานโครงการใชกระบวนการวิจัยเพื่อทองถิ่น (Community-based Research: CBR) ซึ่ง เริ่มดําเนินโครงการ ตั้งแตxxxxxx 1 มีนาคม 2560 และจะสิ้นสุดการดําเนินงานในxxxxxx 31 พฤษภาคม 2561 โดยดําเนินการศึกษาในพื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา ไดแก ตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx ประเทศ ไทย และกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ราชอาณาจักรกัมพูชา รายงานฉบับนี้เปนการนําเสนอผลการศึกษาซึ่ง ดําเนินงานแลวเสร็จตามระยะเวลาโครงการ มีขอบเขตเนื้อหา ประกอบดวย บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ บทท่ี 3 วิธีการดําเนินงาน บทที่ 4 ผลการวิจัย และบทที่ 5 วิเคราะหผล/สรุป/ ขอเสนอแนะ
การดําเนินงานคร้ังนี้ไดรับการสนับสนุนจากหลายฝายที่เกี่ยวของ ทีมวิจัยโครงการรูปแบบ ความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมท่ีเอื้อตอการสรางสังคมxxxดี มีสุข ดวยบุญxxxxฯ ขอขอบพระคุณชุมชนในพื้นที่ ดําเนินงาน ศูนยxxxxxxงานวิจัยเพื่อทองถิ่นจังหวัดสุxxxxx หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน และใน สวนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น xxxxxหนุนชวยการดําเนินโครงการเปน อยางดี รวมถึงบุคคลอีกหลายทาxxxxมีคุณูปการตอการดําเนินโครงการนี้ ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี เปน อยางสูง
ขอบพระคุณอยางสูง เจาอธิการพิxxxx xxxxxxxxxxx และคณะ
บอกเลาเพื่อความเขาใจรวมกัน
งานวิจัยเพื่อทองถิ่นเปนxxxxxxxxxxxxคนในชุมชนไดมารวมคิดทบทวนสถานการณ ตั้งคําถาม วางแผน หาขอมูล ทดลองทํา วิเคราะห สรุปผลการทํางานและหาคําตอบเพื่อปรับปรุงงานตอไป” กลาวคือ งานวิจัยเพื่อ ทองถิ่นเปนเครื่องมือหนึ่งที่เนนการให “คน” ในชุมชนเขามารวมในกระบวนการวิจัย ตั้งแตการ xxxxxxxx xxxตั้งคําถาม การวางแผน และคนหาคําตอบอยางเปนระบบเปนรูปธรรม โดยเรียนรูจากการ ปฏิบัติการจริง (Action Research) อันทําใหชุมชนไดเรียนรู สรางผลงาน มีความเกงขึ้นในการแกปญหาของ ตนเอง และxxxxxxใชกระบวนการนีใ้ นการแกไขปญหาอื่น ๆ ในทองถิ่น โดยมีกระบวนการศึกษาเรียนรูอยาง เปนเหตุเปนผล ดังน้นจุดเนนของงานวิจัยเพื่อทองถิ่น จึงxxxที่ “กระบวนการ” มากกวา “ผลลัพธ” เพื่อให ชาวบานไดประโยชนจากงานวิจัยโดยตรง และใหงานวิจัยมีสวนในการแกปญหาของชาวบาน รวมxxxxxxxxxxx เปลี่ยนแปลงขึ้นจริงในชุมชน ซึ่งจะตองอาศัย “เวที” (การประชุม เสวนา พูดคุยถกเถียง) เปนวิธีการเพื่อใหคน ในชุมชน ท้งชาวบาน ครู นักพัฒนา สมาชิกอบต. ขาราชการ หรือกลุมคนอื่นๆ เขามารวมหา รวมใช “ปญญา” ในกระบวนการวิจัย
“กระบวนการวิจัยเพื่อทองถ่ิน” หมายxxx xxxทํางานอยางเปนข้นตอน เพื่อตอบ “คําถาม” หรือ
“ความสงสัย” บางอยาง ดังนั้นสิ่งสําคัญคือประเด็น “คําถาม” ตองคมชัด โดยมีการxxxxxxประเด็นวา ขอ สงสัยxxxตรงไหน มีการหา “ขอมูล” กอนทํา มีการวิเคราะหความนาเชื่อถือของขxxxx xxการ “วางแผน” การ ทํางานบนฐานขxxxxxxxมีxxx และในระหวางลงมือทํามีการ “บันทึก” มีการ “ทบทวน” ความกาวหนา “วิเคราะห” ความสําเร็จและอุปสรรคอยางสม่ําเสมอ เพ่ือ “ถอด” กระบวนการเรียนรูท่ีเกิดข้ึนออกมาให ชัดเจน ในที่สุดก็จะxxxxxx “สรุปบทเรียน” ตอบคําถามที่ต้งไวแลวอาจจะทําใหมใหดีขึ้น ตลอดจน xxxxxxนําไปใชเปนบทเรียนสําหรับเร่ืองอื่น ๆ หรือพื้นที่อื่น ๆ ตอไป ซึ่งท้งหมดนี้กระทําโดย “ผูที่สงสัย” ซึ่งเปนคนในทองถิ่นนั่นเอง ดังน้ันกระบวนการงานวิจัยเพื่อทองถ่ินจึงเปนงานวิจัยอีกแบบหนึ่งxxxxxยึดติดกับ xxxxxxxแบบแผนทางวิชาการมากนัก แตเปนการสรางความรูใ นตัวคนทองถ่ิน โดยคนทองถิ่น เพื่อคนทองถิ่น โดยมุงแกไขปญหาดวยการทดลองทําจริง และมีการบันทึกและวิเคราะหอยางเปนxxxxxxx การวิจัยแบบน้ีจึง ไมใชเครื่องมือทางวิชาการ ไมใชของxxxxxxxxxxxxxxxผูกขาดxxxกับครูบาอาจารย แตเปนเครื่องมือธรรมดาที่ชาวบาน ก็ใชเปน เปนประโยชนในชีวิตประจําxxxxx
สกว.ฝายวิจัยเพื่อทองถ่ิน ไดใชวิธีการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อทองถิ่นตามแนวคิดและหลักการดังกลาว มาแลวในระยะเวลาหนึ่ง พบวา ชาวบานหรือทีมวิจัยสวนใหญxxxxxxสะทอนการดําเนินงานดวยการบอกเลา ไดเปนอยางดี ในขณะเดียวกันก็พบวา การเขียนรายงาน เปนปญหาที่สรางความหนักใจใหแกนักวิจัยเปน อยางย่ิง ดังนั้นดวยความตระหนักถึงสถานการณปญหาดังกลาว สกว.ฝายวิจัยเพื่อทองถ่ิน จึงไดปรับรูปแบบ การเขียนรายงานวิจัย ใหมีความยืดหยุน และมีความงายตอการนําเสนองานออกมาใน รูปแบบที่นักวิจัยxxxx โดยไมยึดติดในเรื่องของภาษาและรูปแบบที่เปนวิชาการมากเกินไป ซึ่งเปาหมายสําคัญของรายงานวิจัยยังxx มุงเนนการนําเสนอใหเห็นภาพของกระบวนการวิจัยมากกวาผลลัพธxxxxxจากการวิจัย โดยกลไกสําคัญที่จะชวย
ใหนกวิจัยใหมีความxxxxxxเขียนรายงานที่นําเสนอกระบวนการวิจัยไดชัดเจนยิ่งขึ้น คือ ศูนยxxxxxxงานวิจัย
(Node) ในพื้นที่ ซึ่งทําหนาท่ีเปนพี่เลี้ยงโครงการวิจัยมาตั้งแตเริ่มตนจนกระท่ังจบการทํางานวิจัย ดังน้ัน Node จะรับรูพัฒนาการของโครงการวิจัยมาโดยตลอด บทบาทการวิเคราะหเนื้อหาหรือกิจกรรมของโครงการ จึงเปนการทํางานรวมกันระหวาง Node และนักวิจัย ซึ่งความรวมมือดังกลาวไดนํามาซึ่งการถอดบทเรียน โครงการวิจัยสูการเขียนมาเปนรายงานวิจัยที่มีคุณคาในที่สุด
อยางไรก็ตาม รายงานวิจัยเพ่ือทองถิ่นอาจไมสมบูรณแบบดังเชนรายงานวิจัยเชิงวิชาการโดยทั่วไป หากแตไดคําตอบและเร่ืองราวตางๆ ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการวิจัย ซ่ึงทานxxxxxxเขาไปคนหา ศึกษาและ เรียนรูเพิ่มเติมไดจากพื้นที่
สกว. ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
โครงการศึกษารูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมxxxดีมีสุข ดวยบุญxxxx กรณีศึกษาตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxxและกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา ได ดําเนินงานตั้งแต เดือน มีนาคม 2560 – พฤษภาคม 2561 มีวัตถุประสงค 4 ขอ คือ 1) เพื่อศึกษาบริบทและ สถานการณพื้นท่ีชายแดนอําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx และกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา 2) เพ่ือศึกษาความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมในอดีต – ปจจุบันชุมชนชายแดนไทย – กัมพูชา ท้งแบบทางการและไม ทางการ 3)เพื่อศึกษาปจจัยสนับสนุนและเปนอุปสรรคตอความสัมพันธของคนในชุมชนชายแดนไทย – กัมพูชา 4) เพื่อหารูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมxxxดีมีสุขดวยบุญxxxx พื้นที่ ชายแดนไทย – กัมพูชา
กระบวนการศึกษาใชการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research) ซึ่งมี การจัดเวทีประชุมเพื่อประชุมช้ีแจงขอมูลเก่ียวกับโครงการวิจัยและการคืนขอมูลวิจัยสูชุมชน จัดประชุมกลุม ยอย (Focus Group) สัมxxxx ศึกษาขอมูลมือสอง และบันทึกภาพกิจกรรมเพื่อใชเปนหลักฐานในการอางอิง การปฏิบัติงานศึกษาวิจัย โดยมีกลุมเปาหมายในการศึกษา จํานวน 98 คน ประกอบดวย 1) ผูรู คนเฒาคนแก/ ปราชญ ที่มีอายุระหวาง 70-80 ป ในพื้นที่อําเภxxxxxxxxและกรุงสําโรง 20 คน 2) ผูนําชุมชน ในพ้ืxxxxอําเภx xxxxxxxและกรุงสําโรง 20 คน 3) หนวยงานที่มีเคยมีบทบาทในการสานความสัมพันธแบบเปนทางการระหวาง
รัฐตอรัฐในพื้นที่อําเภxxxxxxxx 20 หนวยงาน 4) พระภิกษุสงฆ ในพื้นที่อําเภxxxxxxxxและกรุงสําโรง 10 รูป
5) นักวิชาการ ในพ้ืxxxxอําเภxxxxxxxx 8 คน และ 6) กลุมทั่วไป (เยาวชน/ผูรวมกิจกรรม) ในพ้ืxxxxอําเภxxxx xxxxและกรุงสําโรง 20 คน ผลที่เกิดขึ้นจากการศึกษา ทีมวิจัยไดสรุปวิเคราะหกระบวนการวิจัย การวิเคราะห ขxxxx xxการเปลี่ยนแปลงจากงานวิจัย ปญหาและอุปสรรคในการวิจัย พรอมทั้งใหขอเสนอแนะ ตาม รายละเอียดดังนี้
1. สรุปกระบวนการวิจัย
ทีมวิจัยโครงการรูปแบบรูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมxxxดีมีสุข ดวยบุญ xxxx กรณีศึกษาตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx และกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา ได ดําเนินการตามแผนงานการศึกษาวิจัยซึ่งแบงออกเปน 2 ชวงหลักๆ ไดแก ชวงกอนดําเนินโครงการวิจัย และ ชวงดําเนินโครงการวิจัย ดังนี้
1) ชวงกอนดําเนินโครงการวิจัย กิจกรรมที่ดําเนินการ ประกอบดวย การพัฒนาโจทยวิจัย และการ พิจารณากลั่นกรองโครงการ
2) ชวงดําเนินโครงการวิจัย กิจกรรมที่ดําเนินการ ประกอบดวย สรางความเขาใจรวมกันระหวางทีม
วิจัยและท่ีปรึกษาไทย-กัมพูชา ประชุมxx xxและสรางความเขาใจรวมในพ้ืxxxxประเทศไทยและประเทศกัมพูชา
ประชุมออกแบบเครื่องมือการเก็บขอมูลในพื้นท่ี การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการ ปฏิบัติการ
2. สรุปผลการวิเคราะหขอมูล
1) บริบทพื้นที่ชายแดนอําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxxและกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศ กัมพูชา ในสวนของบริบทพื้นท่ีชายแดนตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx ประเทศไทย เปนพื้นที่ที่มี ความสําคัญทางดานความม่ันคงของชาติ เนื่องจากเปนพื้นที่กันชนระหวางรัฐไทยกับกัมพูชา สถานการณ ปญหาชายแดนเกิดขึ้นเกือบทุกชวงเวลานับต้งแต ชวงป พ.ศ. 2500 เปนตนมา ปญหาและผลกระทบตางๆ รุนแรงมากขึ้นหลังป พ.ศ. 2518 เกิดxxxxxxและการสูรบตามแนวชายแดน ชาวกัมพูชาxxxxxxคนอพยพเขา มาในประเทศไทย ทําใหประชาชนชาวไทยในพื้นที่อําเภxxxxxxxxและพื้นที่ใกลเคียงไดxxxxxกระทบอยาง มากมาย ตอมาในป พ.ศ. 2530 สถานการณเริ่มดีขึ้น ประเทศกัมพูชาปรับใชนโยบายเนนความสัมพันธ ภายนอกและประเทศไทยประกาศนโยบายการเปล่ียนสนามรบเปนสนามการคา (from the battle field to market place) นอกจากนี้ยังมีนโยบายระหวางประเทศท่ีมีผลกระทบตอพื้นท่ีชายแดน เชน การพัฒนาแนว พื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC) ขอตกลงวาดวยการขนสงขาม พรมแดนในอนุxxxxxxxลุมแมน้ําโขง (Cross Border Transportation Agreement: CBTA) และxxxxxx พุกาม (Bagan Declaration) ภายใตxxxxศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี – เจาพระยา – แมโขง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) ที่รวมกันจัดทํา โดยประเทศกัมพูชา ลาว พมา ไทย และเวียดนาม
สําหรับบริบทพื้นที่อําเภอกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา มีชวงเหตุการณที่สําคัญๆ ท่ี เกิดขึ้น โดยเฉพาะในชวง พ.ศ. 2518 – 2520 เกิดxxxxxxเขมรแดงทั่วทั้งประเทศ ชาวบานสวนหนึ่งหนีเขาxxx xxxxxxประเทศไทย สวนหนึ่งหนีเขาปารอบๆ กรุงสําโรง สวนหนึ่งหนีไมทันกลายเปนเชลยแรงงาน และถูกสงไป ทํางานยังที่อื่น เหตุการณxxxxxxเกิดขึ้น 3 ป 8 เดือน 20 วัน ถึงไดสงบลง แตถึงกระนั้น ยังมีการสูรบระหวาง ทหารรัฐบาลและทหารเขมรแดงxxxเนืองๆ นับสิบป หลังจากนั้น xxxxxxเริ่มคอยๆ สงบลง คนในพื้นที่เริ่มกลับ xxxxxxxเดิมอีกxxxx สําหรับการประกอบอาชีพและประเพณีวัฒนธรรมเร่ิมมีการฟนฟูจากผูเฒาผูแกและ พระสงฆ ชีวิตเริ่มมีxxxxสุขขึ้น สวนการไปมาหาสูกันกับชุมชนในประเทศไทยชวงนี้ขาดหายไปและไมxxxxxx ขามไปไดเหมือนแตกอน
สถานการณการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา ชวงป พ.ศ. 2518 – 2520 คือชxxxxxเปลี่ยนแปลงของชุมชนท้ังสองฝงท่ีสําคัญ ชวงนั้นมีxxxxxxเขมรแดง (ระยะเวลา 3 ป 8 เดือน 20 วัน ) ผูคนตองอพยพไปยังที่ปลอดภัย ทิ้งบานเรือนและxxxxxธรรมxxxเบื้องหลัง xxxxxxxมีชีวิตรอด ฝงไทยก็เชนกันตองหนีอพยพกลับบานเกิดเดิม หลังจากป พ.ศ. 2535 รัฐบาลไทยประกาศ นโยบาย “เปลี่ยนสนามรบมาเปนสนามการคา” ชุมชนชายแดนเริ่มมีการพัฒนาขึ้น จากหนวยงานภาครัฐ และ เอกชน มาสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาชุมชน และเริ่มเปดตลาดการคาระหวางประเทศเปนครั้งแรก สงผลให ชุมชนทั้งสองฝงเริ่มมีการติดตอกันอีกครั้ง ในเรื่องการคาขาย และการแลกเปลี่ยนสินคา ตอยอดจากพัฒนาการ แบบเดิมในอดีต และการขึ้นลงมีทางภาครัฐเปนผูกําหนดอนุญาต ทรัพยากรมีการจัดการโดยภาครัฐแบบ เบ็ดเสร็จ และหลังจากป พ.ศ. 2559 การรวมตัวของกลุมประเทศอาเซียน สงผลใหการติดตอไทยกับกัมพูชา ตองมีเอกสาร และเขาออกตามที่รัฐกําหนดเทานั้น การติดตอเพื่อการคามีการเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน มี
แตคนแปลกหนาเขามาติดตอคาขาย ความสัมพันธรัฐเปนผูกําหนดแบบทางการประชาชนเขาถึงยาก สงให ความสัมพันธแบบพี่นองและระบบxxxxxxxxxสองฝงเริ่มxxxหายไป
2) รูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมxxxดีมีสุข ดวยบุญxxxx พ้ืxxxx
ชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดสุxxxxx จากการศึกษาพบวา วัฒนธรรมประเพณีทองถ่ินทั้งชุมชนไทยพื้นที่ ตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx และกรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา มีลักษณะคลายคลึง กัน ชาวบานสวนใหญยังxxปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีด้งxxxxxxxสืบทอดกันมา เชน บุญประเพณี 12 เดือนและบุญxxxxxxxปฏิบัติกันxxxจวบจนปจจุบัน รวมถึงมีรูปแบบความสัมพันธxxxxxเปนทางการ เชน วัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนสินคาระหวางกัน การสัมพันธเชิงxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx และการเชื่อมความสัมพันธ ดวยบุญประเพณีเปนความเชื่อมสัมพันธบนฐานความคิด สวนรูปแบบความสัมพันธที่เปนทางการ หลังจากการ ประกาศนโยบาย “เปล่ียนสนามรบเปนสนามการคา” นับตั้งแต ป 2535 เปนตนมา ความสัมพันธแบบเปน ทางการมีความเดนชัดมากขึ้น เกิดขอตกลงหลายประการระหวางรัฐตอรัฐ เชน การเปดพรมแดนเช่ือมสัมพันธ ในรูปแบบเศรษฐกิจ การคาชายแดน มีการเปดดานxxxxชองจอม
3) การฟนฟูวัฒนธรรมประเพณีและความสัมพันธของชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา ทีมวิจัย ชุมชน และสวนที่เกี่ยวของไดรวมกันจัดกิจกรรมเพื่อฟนฟูวัฒนธรรมประเพณีและความสัมพันธของชุมชนชายแดน
ไทย-กัมพูชา สําหรับการปฏิบัติการทําบุญxxxxxxx x วัดทบทิมxxxxx ตําบลดาน อําเภxxxxxxxx จังหวัดสุxxxxx ในประเทศไทย มีผูเขารวม จํานวน 756 คน แบงเปนชาวไทย 444 คนและชาวกัมพูชา 312 คน จากการจัด กิจกรรม พบวา (1) ผูเขารวมรูสึกxxxxxไดทําบุญดวยกัน มาตําขาวรวมกันท้งคนไทย-กัมพูชา (2) เปนเพื่อนผูก สัมพันธเปนxxxxกัน และเปนกันเองเสมือนญาติกัน (3) รูสึกปลอดภัย ลดความxxxxxxxxx xxxxxxxกันมาก ขึ้น (4) xxxxxxx xxxxxxx xxความxxx xxมาหาสูกันสะดวกข้ึน และ (5) เกิดความเคารพนับถือกัน สวนการ ปฏิบัติการxxxxxxxxxxx ณ วัดปราสาทสําโรง กรุงสําโรง จังหวัดxxxxxxxxx ประเทศกัมพูชา มีผูรวมประมาณ 500 คน จากการปฏิบัติการ พบวา การทําxxxxในประเทศกัมพูชาสวนใหญมีความคิดความเชื่อตาม พระพุทธศาสนา ที่สําคัญ ผูเขารวมไดรูถึงประโยชนของบุญxxxxตอตนเอง ครอบครัว และสังคม รวมถึงทําให เกิดxxxxxxxxตอกัน ประชาชนมีการทํางานรวมมือกัน ทําใหมนุษยเกิดความxxxxxxxกันในสังคม ทําให พระพุทธศาสนามีความเจริญรุงเรือง และเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาสังคม (การทํานุบํารุงวัด)
3. ผลการเปลี่ยนแปลงจากการวิจัย
1) นักวิจัย เรียนรูและเขาใจกระบวนการวิจัยเพ่ือทองถ่ินxxxxxมากขึ้น xxxxxxxเปลี่ยนแปลงเชิงทัศนะ และการปฏิสัมพันธxxxxxตxxxxxxxxนักวิจัยไทย-กัมพูชา มีการพัฒนากระบวนการทํางานเปนทีมและแบงบทบาท ภารกิจการทํางานรวมกัน อยางไรก็ตาม เนื่องดวยนักวิจัยบางสวนเปนขาราชการ (ไทย/กัมพูชา) มีการโยกยาย พื้นที่การทํางาน ทําใหการมีสวนรวม การเรียนรูและปฏิบัติการในระยะหลังเปนไปอยางจํากัด
2) ชุมชน การมีสวนรวมของชุมชนทั้งไทย-กัมพูชา การใช “บุญนํา” ซึ่งสอดคลองกับความคิด
ความเชื่อและวิถีปฏิบัติของชุมชน ทําใหชุมชนxxxxxxในการเขามามีสวนรวมเพ่ือ “เอาบุญ” อีกท้ังรูปแบบการ จดงานxxxxxxนํา “ภูมิปญญาและความรูทองถิ่น” มาจัดแสดงและxxxxxเพื่อใหผูมารวมงานไดเห็น ไดxxxxxx xx ปฏิบัติ ไดชิมในรสชาติของอาหารพื้นบาน กอใหxxxxxxxแลกเปลี่ยนเรียนรู การรวมลงมือปฏิบัติและมีความ ตระหนักในคุณคาของภูมิปญญาของชุมชนมากขึ้น “xxxxxxx xxxxทอง xxxxxx”
3) เกิดนวัตกรรมเชิงวัฒนธรรม “จุลกฐิน” เปนนวัตกรรมทางวัฒนธรรม เปนกระบวนการสานสราง ความสัมพันธที่เอื้อตอสังคมxxxดีมีxxx xxxเกาะเกี่ยวสัมพันธในรูปของ “xxxxxxxx” เปนความสัมพันธที่ตั้งxxx
บนฐานความเชื่อทางศาสนา เปนพลังxxxxxxxxxเชื่อมโยงใหคนมีความสัมพันธกัน โดยปราศจากxxxxและ ผลประโยชน เพราะผลประโยชน คือ การสะสมบุญเพื่อชาติหนาตามคติความเชื่อทางศาสนา
4. ปญหาและอุปสรรคในการวิจัย
1) การมีสวนรวมของนักวิจัยและที่ปรึกษา นักวิจัยและที่ปรึกษาที่เปนขาราชการบางสวนไม xxxxxxเขามามีสวนรวมการทํางานไดตามที่คาดxxxxไว บางสวนเขารวมไดเฉพาะวันหยุดและเปนครั้งคราว เทานั้น จึงทําใหการรับรูขxxxxxxตอเนื่องและการหนุนเสริมการทํางานศึกษาวิจัยไมคอยเปนจริงในทางปฏิบัติ
2) ขอจํากัดดานการสื่อสารทางภาษา นักวิจัยไทย-กัมพูชาบางคน มีขอจํากัดการสื่อสารดานภาษา สงผลใหตองใชเวลาxxxxxขึ้นในการทํางาน
3) การxxxxxxงานกับหนวยงานราชการไทย-กัมพูชา เนื่องจากการดําเนินงานมีการเก่ียวของ
ระหวางประเทศ กอนการดําเนินงานจึงไดxxxxxxหนวยงานราชการ ใหรับรู รับรองคณะทํางานวิจัย แตผลที่ เกิดขึ้น ไมไดตามที่xxxxxxงาน จึงทําใหโครงการสะดุด ชวงหนึ่ง การดําเนินงานติดขัด
4) ความพรอมของผูใหขอมูล เนื่องดวยขอมูลดานประวัติศาศาสตรและวัฒนธรรมประเพณีชุมชน
สวนใหญจะxxxกับตัวผูรู ซึ่งเปนผูอาวุโสของชุมชน สวนใหญอายุมากแลวและสุขภาพไมคxxxx ทําใหการมาให ขอมูลบางครั้งอาจไมพรอมเพรียงกัน
5) คาใชจายในการปฏิบัติงานประเทศกัมพูชา เนื่องจากคาเชารถไมมีเกณฑกําหนดตายตัว การเชา
เหมาแตละครั้งแลวแตตกลงกันได อีกทั้งการลงปฏิบัติแตละครั้งตองเชาที่พัก หากลงพื้นที่เพื่อปฏิบัติงานเปน เวลานานภาระคาใชจายจะxxxxxมากขึ้น
หน้า | |||
บอกเล่าเพื่อความเขาใจร่วมกัน | i | ||
คํานํา | iii | ||
สารบัญเนื้อหา | iv | ||
สารบัญตาราง | vi | ||
สารบัญภาพ | vii | ||
บทสรุปสําหรบผู้บริหาร | viii | ||
บทที่ 1 บทนํา | 1 | ||
1.1 หลกการและเหตุผล | 1 | ||
1.2 คําถามวิจัย | 5 | ||
1.2.1 คําถามวิจัยหลัก | 5 | ||
1.2.2 คําถามวิจัยรอง | 5 | ||
1.3 วัตถุประสงค์ | 5 | ||
1.4 ขอบเขตการศึกษาวิจัย | 5 | ||
1.4.1 ขอบเขตเนือหา | 5 | ||
1.4.2 ขอบเขตพื้นที่ | 6 | ||
1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ | 7 | ||
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ | 7 | ||
บทท่ี 2 | ทบทวนเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง | 8 | |
2.1 แนวคิดเก่ียวกับวัฒนธรรมและประเพณีชุมชน | 8 | ||
2.1.1 องค์ประกอบของวัฒนธรรม | 10 | ||
2.2 แนวคิดการพัฒนาชายแดน | 11 | ||
2.2.1 ความสมพันธ์ชายแดนไทยกับกัมพูชา | 11 | ||
2.2.2 ความสมพันธ์ทางเศรษฐกิจ | 13 | ||
2.2.3 ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม | 14 | ||
2.2.4 สถานะล่าสุดของความสัมพนธ์ไทย – กัมพูชา | 15 | ||
2.2.5 แนวโนมความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชา | 16 |
2.3 สรุปแนวคิดและการนําเอาไปใช้ 17
2.4 งานวิจยที่เกี่ยวข้อง 18
2.5 กรอบแนวคิด 19
บทที่ 3 3.1 ขอบเขตการศึกษาวิจัย 22
3.1.1 ขอบเขตประชากรและกลุ่มเป้าหมาย 22
3.1.2 ขอบเขตพื้นท 23
3.1.3 ขอบเขตเนื้อหา 26
3.1.4 ขอบเขตเวลา 26
หนา้
3.2 เครื่องมือท่ีใช้ในการดําเนินการวิจัย 26
3.3 กระบวนการดําเนินการวิจ 27
3.3.1 การพฒนาโจทย์วิจัย 27
3.3.2 การพิจารณากลั่นกรองโครงการ 30
3.3.3 กิจกรรมวิจัย 31
บทที่ 4 ผลการวิจัย 70
4.1 บริบทพื้นที่ชายแดนอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย และกรุง 70
สําโรง จงหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
4.1.1 บริบทอําเภอกาบเชิงจงหวัดสุรินทร์ 70
4.1.2 บริบทตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จงหวัดสุรินทร์ 78
4.1.3 บริบทกรุงสําโรง จังหวดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา 83
4.2 สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชน 87
ชายแดนไทย-กัมพูชา
4.3 ลกษณะความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ 92
4.3.1 วัฒนธรรมประเพณีชุมชนไทย-กัมพูชา 92
4.3.2 ลักษณะความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา แบบไม่เป็นทางการและทางการ
4.4 รูปแบบวัฒนธรรมประเพณีและความสัมพันธ์ของชุมชนชายแดนไทย- กมพูชา
108
111
บทที่ 5 วิเคราะห์ผล สรุป และขอเสนอแนะ 127
5.1 สรุปการวิเคราะห์ขอมูล 128
5.2 ผลการเปลี่ยนแปลงจากการวิจยั 132
5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการวิจัย 132
5.4 ข้อเสนอแนะในการวิจ 133
บรรณานุกรม 135
ภาคผนวก ก: รายชื่อผู ํางานในโครงการ 137
ภาคผนวก ข: รายชื่อพ่อครู แม่ครู ผู้ให้ข้อมูล 139
ภาคผนวก ค: แบบสัมภาษณ์ 140
ภาคผนวก ง: แบบสมภาษณ์หน่วยงานราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 146
สารบญตาราง
ตารางท่ี หน้า
1 บุคคล หน่วยงาน องค์กร และบทบาทการมีส่วนร่วม 28
2 ออกแบบการจดเก็บข้อมูล 42
3 จํานวนหมู่บ้านชายแดนจํานวน 27 หมู่บ้าน 74
4 หมู่บ้าน พืนท่ี จํานวนครัวเรือนและประชากร 79
5 สรุปสถานการณ์การเปล่ียนแปลงทางสงคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ชุมชน 90
ชายแดนไทย-กมพูชา
6 บุญประเพณีไทย-กมพูชาในปัจจุบัน 94
7 บุญประเพณีไทย-กัมพูชาท่ีมีความสําคญกบวิถีชีวิตและการสรางสังคมอยู่ดีม 98
สุข
8 เปรียบเทียบการนับเดือนของไทยและกัมพูชา 101
9 เปรียบเทียบรูปแบบบุญกฐินไทยและกัมพูชา 108
10 ข้อคิดเห็นต่อการจดงานบุญกฐินในไทย-กัมพูชา 120
สารบญภาพ
ภาพที่ หนา้
1 กรอบแนวคิด 21
2 แผนที่แสดงพื้นที่วิจ ต.ดาน่ อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ประเทศไทยและ อ.กรุง 24
สําโรง จ.อุดรมีชัย ประเทศกมพูชา
3 แผนท่ีแสดงพืนท่ีวิจัย ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ประเทศไทยและ อ.กรุง 25
สําโรง จ.อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
4 แผนที่อําเภอกาบเชิง 73
5 แผนที่ตําบลด่าน 73
6 ขบวนแห่บุญกฐิน 111
7 การเย็บผากฐิน 113
8 กิจกรรมการตําขาว 114
9 การพับนก (ซ้าย) และการเผาถ่านแบบถัง 200 ลิตร (ขวา) 115
10 การแสดงวัฒนธรรม (ซ้าย) และโรงทาน (ขวา) 115
11 นายเอ็นเอือง ชาวบ้านภูมิเพนียด กรุงสําโรง ประเทศกัมพูชา 116
12 ปฏิบัติการ “กฐินสามัคคี” ในประเทศกัมพูชา 117
13 ยอดเงินบริจาคกฐิน 118
14 ประชุมร่วมกับนายอําเภอการเชิง จังหวัดสุรินทร์ 125
15 ประชุมร่วมกับนายอําเภอกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา 125
16 การประชุมออกแบบเครื่องมือการเก็บข้อมูลในพื้นที่ 125
17 เวทีเรียนรูกลุ่มย่อยผูน้ ําและชาวบ้าน ณ กัมพูชา 126
18 จดเวทีเรียนรู้และวิเคราะห์ข้อมูล ณ กัมพูชา 126
บทที่ 1 บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล
ดินแดนแถบอุษาคเนย หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในแถบสุวรรณภูมิ ประกอบไปดวย ผูคนและ กลุมชนมากมายอาศัยอยูและอพยพเคลื่อนยายไปมากอนการเขามาของอารยะธรรมอินเดียและจีน พบ รองรอยอารยะธรรมเกาแกต้ังแตอารยะธรรมบานเชียง ซึ่งก็ยังระบุไมไดวาเปนของชนกลุมไหน ไปจนถึงแหลง เพาะปลูกขาวแหงแรกของโลก ดินแดนที่เราเรียกวา ประเทศไทยจึงมิไดมีแตเฉพาะคนไทยเทานั้น หากแต ดินแดนแถบน้ี เปน 'บาน' ของผูคนหลากหลายเช้ือชาติ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม การเล่ือนไหล หลากหลาย ยืดหยุนและเปลี่ยนแปลงของผูคนที่อาศัยอยูตามแนวชายแดนหลายเชื้อชาติ ชาติพันธุ ภาษา ที่ อพยพเคลื่อนยายถิ่นที่อยู ที่ทํากิน หรือเดินทางคาขายขามพรมแดนมาเปนเวลายาวนานในประวัติศาสตรการ ผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมบนพื้นที่รอยตอหรือพรมแดนระหวางรัฐชาติจึงมีลักษณะเปนพหุวัฒนธรรม อาณา บริเวณพนมดงรัก มีเทือกเขาพนมดงรักเปนศูนยกลาง แนวเทือกเขาตอเนื่องมาจากเทือกเขาสันกําแพง เริ่ม จากชองตะโก อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย ทอดตัวเปนแนวยาวไปทางดานตะวันออกของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง เปนเสนกั้นพรมแดนระหวางไทยกับกัมพูชาและลาว อยูในเขตจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ สุดปลายเทือกเขาที่ปากแมนํามูล อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เทือกเขาพนมดงรัก
มีชองเขาท ําคัญหลายแหง เชน ชองจอม ชอง เม็ก ชอ งบก ชอ งสะงาํ สําหรับชองจอมต้ังอยูที่เขตอําเภอกาบเชิง
จังหวัดสุรินทร ซึ่งมีดานชายแดนชองจอมที่เปนดานถาวร เขตติดตอกับตําบลโอลเสม็ด อําเภอกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชาและเปนเสนทาง ที่ออกสูแหลงทองเที่ยวที่เปนสิ่งมหัศจรรยของโลกคือ ปราสาทนครวัดนครธม ที่ตั้งอยูในจังหวัดเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา ในอาณาบริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ผูคนสวนใหญในเขตนี้เปนกลุมชาติพันธุที่ใชภาษากลุมมอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก โดยกลุมที่มีจํานวน มากที่สุด คือ เขมรถิ่นไทย ซึ่งตั้งถิ่นอยูอยางหนาแนนในจังหวัดสุรินทร บุรีรัมย และศรีสะเกษ จากการศึกษา พบวาศิลปวัฒนธรรมและภาษาของผูคนที่อาศัยอยูบริเวณนี้ มีการเลื่อนไหลและโยกยายไปมาระหวางกลุมชน หนาภูเขากับกลุมชนหลังภูเขาซึ่งอาศัยอยูที่ราบลุมรอบๆ ทะเลสาบเขมร มีรองรอยสายใยผูกพันระหวางกลุม ชาติพันธุออสโตรเอเชียติก ที่ตั้งถิ่นฐานอยูหนาเขาและหลังเขาในลักษณะของความเปนพี่นองและสายเลือด เดียวกัน ทําใหมีการติดตอแลกเปลี่ยนประเพณีวัฒนธรรมระหวางกันมาตลอด
หลังจากท่ีรัฐชาติไทยสถาปนาตนขึ้นชัดเจนในยุครัชกาลท่ี 5 อีสานก็ถูกผนวกเขาเปนสวนหนึ่งของ ประเทศสยาม พื้นที่กาบเชิงในปจจุบันนี้เคยเปนเสนทางเชื่อมตอกับ พระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณ ประมาณ ป 23121 กอนกลายเปนพื้นที่กันชนระหวางสยามกับฝรั่งเศสในชวง ค.ศ. 1893-1904 (ป 2436 -
2447) และตอมากลายเปนภูมิภาคหรือพ้ืนท่ีกันชนทามกลางสงครามแยงชิงประชาชนในยุคท่ีรัฐบาลไทยมี
นโยบายตอตานการกระทําอันเปนคอมมิวนิสตและฝกใฝตะวันตกระหวางป 2500 – 2530 (สุเทพ สุนทรเภสัช
2548) วิถีชีวิตของคนแถบนี้ขึ้นอยูกับทรัพยากรปาไมที่ดินและแหลงน้ํา ทรัพยากรปาไมท่ีเคยเปนฐานสําคัญ ของครัวเรือนไดลดจํานวนลงอยางรวดเร็วในชวง 50 กวาปท่ีผานมา จากการสงเสริมเกษตรกรใหปลูกพืช
1 พระตะบอง เสียมเรียบ ศรีโสภณ “รอยสยาม” และ “สามจังหวัด”กัมพูชา http://www.sarakadee.com/2010/10/22/ pratabong-siamreab-srisopon
เศรษฐกิจ เชน ขาว ปอ ออย ขาวโพด มันสําปะหลัง และยูคาลิปตัสในระยะหลัง สงผลใหทรัพยากรปาไมใน พื้นที่ลดลงอยางรวดเร็วสงผลกระทบตอคนท่ีเคยอาศัยทรัพยากรปาเปนแหลงอาหารและรายได (สุวิทย ธี ระศาสวัต 2545) ดวยการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติและการใชจายของครัวเรือนท่ีมากขึ้น ทําใหคนอีสาน จํานวนมากสรางวิธีการดํารงชีพใหมๆ เชน การยายถิ่นเพื่อทํางานในและนอกภาคทั้งในประเทศและ ตางประเทศมากขึ้น (วิลาศ โพธิสาร และ สุวิทย ธีระศาสวัต2544)2
สุรินทรเปนจังหวัดหนึ่งในอาณาบริเวณพนมดงรัก ที่มีความเปนมายาวนาน จากหลักฐานที่พบ สุรินทร เปนที่อยูของชนหลายเผาพันธุทั้งไทย เขมร ลาว กวยหรือกูย กลุมชาติพันธุไทยเขมรหมายถึงคนไทยที่ใชภาษา เขมรเปนภาษาตน แตอาศัยอยูตามแนวชายแดน รวมทั้งหมายถึงคนเขมรที่ใชภาษาเขมรเปนภาษาตนแตอาศัย ประเทศกัมพูชาที่ติดชายแดนไทย ซึ่งกลุมชาติพันธุทั้งสองนี้มีความผูกพันฉันทพี่นองกันมาแตดั้งเดิมเพียงแต ถูกแยกดวยกับเขตถูกเรียกวาฝายหนึ่งคือชาติไทยฝายหน่ึงคือชาติกัมพูชา บานกาบเชิงมีประวัติความเปนมา การตั้งถิ่นฐานมากกวา 200 ปมาแลว เดิมขึ้นการปกครองกับตําบลดาน0 อําเภอสังขะ พ.ศ.2480 โอนไปขึ้น การปกครองกับตําบลหนองใหญ0 อําเภอปราสาท ป พ.ศ.2506 โอนมาอยูในการปกครองของตําบลกาบเชิง และป พ.ศ.2514 ไดแยกตําบลกาบเชิง ตําบลบักใด (อําเภอพนมดงรัก ปจจุบัน) ต้งเปนกิ่งอําเภอกาบเชิง ป พ.ศ.2519 เพิ่ม ตําบลโคกกลาง (อ.พนมดงรักปจจุบัน) อีก 1 ตําบล และในป พ.ศ.2520 รับโอนตําบลคูตัน และตําบลดานจากอําเภอสังขะ และยกฐานะเปนอําเภอเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2522 ชุมชนตําบลดาน อําเภอ กาบเชิง จังหวัดสุรินทร เปนหมูบานที่อยูติดแนวชายแดนไทย- มีชองทางที่สามารถสัญจรไปมาระหวาง ประเทศไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชาบริเวณจุดผานแดนถาวรชองจอม สืบเนื่องจากทั้งสองประเทศมีความ เหมือนกันในเชื้อชาติ เผาพันธุ ภาษา ประชาชนจึงมีความสัมพันธกันไมวาจะเปนขนบธรรมเนียม ประเพณี ชีวิตความเปนอยู วัฒนธรรมความสัมพันธและประเพณี ของชาวเขมรสุรินทร(คนไทยเชื้อสายเขมร) สวนมากอยูใน ชนบท มีชีวิตเรียบงาย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน ทํานา ทําไร หนุมสาวรุนใหมท่ีวางจากการทํานา ทําไร จะเดินทางไปรับจางทํางานในตัวเมือง หรือในเมืองหลวง และเม่ือถึงฤดูกาลเพาะปลูก ก็จะเดินทางกลับ ภูมิลําเนา เพ่ือประกอบอาชีพหลักของตน อยางไรก็ดีแมวาชีวิตความเปนอยูของชาวเขมรสุรินทรจะมีลักษณะ คลายคนไทยในทองถิ่นทั่วไป แตถาจะเปรียบกับชาวเขมรกัมพูชาแลว ความเปนอยู ประเพณีและความเชื่อ ตางๆ ของชาวไทยเขมรสุรินทร จะมีสวนคลายกับชาวเขมรกัมพูชามาก เชน ลักษณะบานชั้นเดียวใตถุนสูง พิธีกรรมเกี่ยวกับการเกิด การตาย การแตงงาน การนับเวลา วัน เดือน ป การเชื่อถือโชคลาง ฤกษยาม การ รักษาโรคแบบพื้นบาน การประกอบอาชีพ การละเลนตาง ๆ ตลอดจนอุปนิสัยสวนบุคคล เปนตน อาหารหลัก ของชาวเขมรสุรินทร คือขาวเจา สวนอาหารพื้นเมืองที่รูจักคือ ปลาเฮาะเขมร (ปลาราเขมร) ปลาจอม ปลา แหง ปลายาง ปลาตม น้ําพริกจิ้มผัก เนื้อสัตว ผัก สวนอาหารวาง สวนมากจะเปนผลไม และขนมพื้นเมืองที่ นิยม ไดแก ขนมกันเตรือม ขนมโชค ขนมเนียล ขนมกันตางราง ขนมกระมอล ขนมมุก ขนมเนียงเล็ด เปนตน ซึ่ง ชื่อขนมเหลานี้ลวนเปนช่ือในภาษาเขมรทั้งสิ้น นอกจากนี้ทั้งสองกลุมชนสวนใหญนับถือพุทธศาสนาสายเถร วาท (มหานิกาย) ประเพณี พิธีกรรมทางศาสนา ลัทธิความเชื่อตาง ๆ ของกัมพูชา ก็จะคลายคลึงกับคนไทย มี วัดเปนศูนยกลางในการประกอบพิธีกรรม เชน การทําบุญตักบาตร การสวดมนตไหวพระ การใหความเคารพ พระสงฆ การนิยมใหบุตรหลานเขารับการอุปสมบท และมีเทศกาลบุญประเพณี เชน สงกรานต เขาพรรษา ออกพรรษา เปนตน การเดินทางไปมาหาสูกัน และการตั้งฐานที่อยูในละแวกนี้มีสายสัมพันธในระบบเครือญาติ และมิตรสหาย สมัยกอนจะเรียกวา “เกลอ” เปนภาษาทองถิ่น แปลวาเพื่อนสนิท จะมีการนับถือกันเสมือน ญาติใกลชิด มีการไปมาหาสู แบงปน แลกเปลี่ยน เอื้ออิงอาศัยรวมกัน โดยไมมีอาณาเขตแบงกั้นระหวาง ประเทศ อยางเชนการแลกเปล่ียนในอดีตชาวเขมรสุรินทรนําชางบรรทุกเกลือเดินทางไปแลกปลาน้ําจืดที่
2 อางแลวใน กนกวรรณ มโนรมย ชายแดนอีสานกับเพื่อนบานขอคนพบทางวิชาการและนัยเชิงนโยบาย, 2554
กัมพูชา แลวนําปลามาหมักเกลือกลายเปนปลาเฮอะ (ปลาราแบบเขมร)นํากลับมาที่สุรินทร หรือการลงไปจับ ชาง หรือการแตงงานรวมกัน การยอมรับผีบรรพบุรุษตระกูลเดียวกัน อยางเชนประเพณีการแซนโฏนตา (การ บูชาบรรพบุรุษ) ประเพณีเดือน 10 ที่สําคัญของเขมรสุรินทรและเขมรกัมพูชา ชาติพันธุทั้งสองอยูรวมกันโดย ปกติสุข
การควบคุมจากรัฐสวนกลางทําใหพรมแดนถูกเปลี่ยนจากพื้นที่ซึ่งมีความหลากหลาย การพบปะ พูดคุย เจรจาตอรองระหวางชนกลุมตางๆ ใหกลายมาเปนพื้นที่และสัญลักษณของอํานาจรัฐตางๆ เชน รั้วลวด หนาม ประตูดานตรวจคนเขาเมือง ตลอดจนเจาหนาที่รัฐหนวยตางๆ กลายเปนตัวแทนของ 'อํานาจอธิปไตย' ที่บงบอกพื้นท่ีและแนวเขตของรัฐชาติ ตั้งแตระหวางประมาณป 2500 - 2525 เนื่องจากอุดมการณ ประชาธิปไตยกับอุดมการณคอมมิวนิสต การเกิดกรณีปญหาปราสาทเขาพระวิหาร ปญหาและผลกระทบ รุนแรงมากขึ้นหลังป 2518 เนื่องจากปญหาความขัดแยงทางการเมืองของกัมพูชาท่ีทําใหเกิดภัยสงครามและ การสูรบตามแนวชายแดน เกิดการอพยพของชาวกัมพูชานับแสนคนเขามาในประเทศไทย ทําใหประชาชนไทย ในตําบลดาน อําเภอกาบเชิงและพื้นที่ใกลเคียงไดรับผลกระทบมากมายจากการสูรบมีความไมปลอดภัยและ สามารถประกอบอาชีพหรือดําเนินชีวิตไดอยางเปนปกติ สถานการณเริ่มดีขึ้นในชวงประมาณป 2530 เปนตน มาเนื่องจากประเทศเพื่อนบานไดเกิดการปรับเปลี่ยนนโยบายในการพัฒนาประเทศตาง ๆ เชน นโยบายเสรี นิยมโดยเหมย (Doi Moi) ของเวียดนามในป 2529 ลาวประกาศใชกลไกเศรษฐกิจใหม (New Economy Mechanism) ในป 2529 กัมพูชาไดใชนโยบายการสรางความสัมพันธระหวางประเทศเปนหลัก และประเทศ ไทยใชนโยบายการเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคา (from the battle field to market place) ในยุค นายกรัฐมนตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ ในชวงป 2535 และอิทธิพลการคาของประเทศจีนที่เขามาสูภูมิภาคนี้สงผล ใหเกิดการเปดจุดผอนปรนตาง ๆ เพื่อการคาและการเดินทางแลกเปลี่ยนระหวางกัน การอํานวยความสะดวก ในการขามแดนตาง ๆ การลดกฎเกณฑทางการคาลง เปนตน นอกจากนั้นธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชียได สนับสนุนใหเกิดการเจรจาจัดทํากรอบความรวมมือการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง อีกหลายแนวทาง เชน การพัฒนาแนวพ้ืนท่ีเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC) ในป 2541 จัดทําความตกลงวาดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Cross Border Transportation Agreement: CBTA) ใน ป 2548 โดยมีวัตถุประสงคเพื่ อสงเสริมการขยายตัวดาน อุตสาหกรรม การเกษตร การคา การลงทุน และบริการในภูมิภาคโดยการเชื่อมโยงกลุมประเทศตาง ๆ ดวย โครงขายดานคมนาคมการขนสง และการพลังงาน ลาสุดในป 2546 ประเทศกัมพูชา ลาว พมาไทย และ เวียดนาม ไดจัดทําปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) ภายใตยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระ วดี – เจาพระยา – แมโขง(Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) สงผลใหเกิดความรวมมือระหวางประเทศดานเศรษฐกิจเปนหลักดวยขอไดเปรียบในแงภูมิศาสตร เศรษฐกิจ3
ในปจจุบันพื้นที่ชายแดนไดเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ลาหลัง หางไกลความเจริญมาเปนพ้ืนท่ีศูนยกลาง
ของการติดตอสื่อสารเพื่อการคาและเศรษฐกิจที่สําคัญทําใหเกิดการหลั่งไหลของผูคน สินคาและวัฒนธรรม พื้นที่ชายแดนไดรับการพัฒนาใหมีความเจริญเติบโตมากขึ้น สงผลใหพื้นท่ีชายแดนและประชาชนดานอําเภอ กาบเชิงตองประสบปญหาหลายประการ เชน ปญหาดานสังคม ประชาชนไมมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสิน ความกลัวหวาดระแวงซ่ึงกันและกัน ปญหาอาชญากรรมและยาเสพติด ปญหาชูสาว การมี พฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงตอโรคภัย การดื่มเหลาและทะเลาะวิวาท ปญหาการคามนุษย ปญหาการพัฒนา
3 อางแลวใน กนกวรรณ มะโนรมย ชายแดนอีสานกับเพื่อนบานขอคนพบทางวิชาการและนัยเชิงโยบาย, 2554
ชุมชนทองถิ่น คนในชุมชนไมใหความรวมมือ ขาดความใสใจในการรวมกันแกไขปญหา ขาดกระบวนการมีสวน รวมในชุมชน ปญหาดานความมั่นคง เชน การประทะสูรบกันตามแนวชายแดน เขตแดนไทย–กัมพูชาไม ชัดเจน ประชาชนเขาไปหาของปาถูกจับและอันตรายจากกับระเบิด การขายซีดีเถื่อน ซีดีลามก สินคาผิด กฎหมาย ยาเสพติด บอนการพนัน ปญหาดานเศรษฐกิจ ซ่ึงเปนปญหาใหญที่เกิดจากการบุกรุกของกลุมทุน ภายนอก กลายเปนการใชนโยบายดานเศรษฐกิจนําการพัฒนา สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ อยางมาก อาทิ ที่ดินหลุดมือ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม เปนตน
สถานการณเปดเสรีของประชาคมอาเชียน (AEC) ที่ประเทศสมาชิกตองเปดตลาดเสรีการคาและ บริการระหวางกัน ทําใหสินคาเกษตรจากอาเซียนที่มีคุณภาพดีกวาหรือราคาถูกกวาจะเขามาแขงขันและแยง ชิงตลาด ทําใหผูประกอบการภาคการผลิตท้ังทางดานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม รวมทั้งเกษตรกรไทยที่มี ขีดความสามารถในการผลิตต่ําจะไมสามารถแขงขันกับประเทศที่มีความสามารถในการผลิตสูงกวาได กอปร กับในปจจุบันคณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ ไดเสนอวาจังหวัดสุรินทร และประเทศกัมพูชา ซึ่งมีชายแดนติดตอกัน มีผลผลิตทางการเกษตรจํานวนมาก อาทิ ขาว ยางพารา ออย และมันสําปะหลัง จึงมีศักยภาพเพียงพอที่จะจัดสรางเขตเศรษฐกิจพิเศษอุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตร ชายแดน บริเวณตําบลดาน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร เพื่อรองรับการเคลื่อนยายสินคา บริการ การ
ทองเที่ยว และการลงทุนภาคอุตสาหกรรมที่จะเกิดขึ ไดอยางเสรีในอนาคต4 การเรงรัดกอสรางเสนทางรถไฟ
ทางคู จังหวัดนครราชสีมา – บุรีรัมย – สุรินทร – ศรีษะเกษ – อุบลราชธานี ใหแลวเสร็จในป 2562 ควบคูกับ การพัฒนาเสนทางคมนาคมในการขนสงสินคาและการเดินทางเชื่อมตอระหวางจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนใตและประเทศเพื่อนบานตอ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร5 เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2555 ที่ จังหวัดสุรินทร ซ่ึงจะสงผลใหพื้นที่ชายแดนอําเภอกาบเชิงจะไดรับการพัฒนาขึ้นอยางกวางขวาง ในทางกลับกันประชาชนชายแดนทั้งสองฝงในพื้นที่ชายขอบตองประสบกับปญหาและผลกระทบตามมาเชนกัน อยางหลีกเลี่ยงไมได ผลกระทบโดยตรงกับปญหาที่มีอยูในปจจุบันอันจะสงผลใหความรุนแรงในปญหาความ ยากจนซําซอน ระบบทุนที่เนนกําไรมากกวาการแบงปน บทบาทความสัมพันธระหวางหนวยงานของภาครัฐ และเอกชนเดนจึงชัดขึ้น แทนความสัมพันธแบบเครือญาติดั้งเดิม ประชาชนสามารถผานเขาออกติดตอกันได แตตองอยูภายใตกฎหมายของรฐั มีหนังสือเดินทาง มีชองทางเขาออกตามที่รัฐกําหนดเทานั้น การเคลื่อนไหล ของประชาชนทั้งสองฝงเปนไปในรูปของการคาและการทองเที่ยว นโยบายรัฐ ความสัมพันธสองฝงเนนไปใน เชิงทางการ ธุรกิจการคา และผลประโยชนเปนสําคัญ มิติความเปนพี่นองเดิมที่เคยมีมาเลือนหายไปภายใต สถานการณใหม “อาเซียนไรพรมแดน” ซึ่งในชวงที่ผานมา มีทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคมจัดกิจกรรมเชื่อม ความสัมพันธไทย-กัมพูชาในรูปแบบตางๆ ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ เชน กีฬา แซนโฎนตา แห เทียน แตไมไดทําตอเนื่องทุกป
จากสภาพการณและปญหาดังกลาวขางตน การพัฒนาชุมชนชายแดนใหเกิดความเขมแข็งและยั่งยืน เกิดความเสมอภาคเทาเทียมกัน มีความรูสึกที่ดีตอกันนั้น การใชทุนทางสังคมวัฒนธรรมที่มีรากฐานรวมกันมา แตเดิม นาจะเปนทางเลือกหนึ่งที่สําคัญในการเติมเต็มและขับเคลื่อนรวมกันกับนโยบายภาครัฐอยางสอดคลอง ทุนทางสังคมวัฒนธรรม หมายถึงความสัมพันธ ความเกี่ยวเนื่อง การเชื่อมโยงกัน การที่มีคุณธรรมความดีหลอ เลี้ยงเปนพ้ืนฐาน การมีศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีทําใหผูคนอยูรวมกันอยางสันติสุข มีพัฒนาการทั้งอารมณ ความรูสึกเปนนําหนึ่งใจเดียวกัน จึงไดดําเนินการศึกษารูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสราง สังคมอยูดีมีสุขดวยบุญกฐินในพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดสุรินทร
4 http://www.siamintelligence.com/cabinet-southern-isan/
5 http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000093017
1.2 คําถามวิจัย
1.2.1 คําถามวิจัยหลัก
รูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมอยูดีมีสุขดวยบุญกฐิน พื้นที่ชายแดนไทย กัมพูชา จังหวัดสุรินทรควรเปนอยางไร
1.2.1 คําถามวิจัยรอง
1) บริบทพื้นที่อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร ประเทศไทย และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา มีลักษณะอยางไร
2) ความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมในอดีต-ปจจุบันชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชาทั้งแบบทางการและ ไมทางการเปนอยางไร
3) ปจจัยที่เกี่ยวของในความสัมพันธ(ภายใน-ภายนอก)ที่สนับสนุนและเปนอุปสรรค
4) บุญประเพณีกฐินสรางความสัมพันธชุมชนอยางไร
1.3 วัตถุประสงค
1) เพื่อศึกษาบริบทและสถานการณพื้นที่ชายแดนอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
2) เพื่อศึกษาความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมในอดีต – ปจจุบันชุมชนชายแดนไทย – กัมพูชา ทั้ง แบบทางการและไมทางการ
3) เพื่อศึกษาปจจัยสนับสนุนและเปนอุปสรรคตอความสัมพันธของคนในชุมชนชายแดนไทย –
กัมพูชา
4) เพื่อหารรูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมท่ีเอื้อตอการสรางสังคมอยูดีมีสุขดวยบุญกฐิน พื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา
1.4 ขอบเขตการวิจัย
1.4.1 ขอบเขตเนื้อหา
1) บริบทชุมชน /พื้นที่อําเภอกาบเชิงและกรุงสําโรง ไดแก ขอมูลทั่วไป การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม วิเคราะห สถานการณปญหาและศักยภาพชุมชน (ผูรู ปราชญ กลุมองคกรในพื้นที่)
2) รูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมตั้งแตอดีต-ปจจุบัน ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ
3) ปจจัยที่เกี่ยวของในความสัมพันธทั้งภายในและภายนอกที่สนับสนุนและเปนอุปสรรค
4) รูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมอยูดีมีสุข
1.4.2 ขอบเขตพื้นที่
ดําเนินการศึกษาในพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ไดแก ตําบลดาน อํากาบเชิง จังหวัดสุรินทร ประเทศ ไทย และ กรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ผลเชิงวิจัย
1) ไดรูปแบบงานบุญกฐินที่เชื่อมรอยความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมอยูดีมีสุขไทย- กัมพูชา
2) เกิดความรวมมือระหวางชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา ในการจัดบุญกฐินรวมกัน 1 ครั้ง
3) เกิดชุดองคความรูการใชบุญกฐินในการเชื่อมความสัมพันธอันดีระหวางไทย-กัมพูชา
ผลเชิงพัฒนา
1) มีแนวทางอนุรักษ ฟนฟูวัฒนธรรมประเพณีและความสัมพันธชายแดนไทย-กัมพูชา
2) เกิดนักวิจัยชุมชนไทย – กัมพูชา จํานวน 15 คน
1.6 นิยามศัพท
ความสัมพันธเชิงวัฒนธรรม หมายถึง ความผูกพันเชื่อมโยง ระหวางประชาชนไทยกัมพูชา ใน วัฒนธรรมประเพณีบุญกฐิน
สรางสังคมอยูดีมีสุข หมายถึง สังคมที่มีลักษณะของ การชวยเหลือเกื้อกูลกัน มีการแบงปน มีความ สามัคคี รักษาวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามท่ีสืบทอดตอกันมา จากรุนสูรุน
ประเพณีบุญกฐิน หมายถึง ประเพณีสําคัญของพุทธศาสนาในชวงออกพรรษา นับตั้งแตวันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ถวายผากฐินแดพระภิกษุสงฆที่จําพรรษา
ครบถวนสามเดือน
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยที่เกี่ยวของ
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม โดยมีวัตถุประสงค คือ 1) เพื่อศึกษาบริบท และสถานการณพื้นที่ชายแดนอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
2) เพื่อศึกษาความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมในอดีต – ปจจุบันชุมชนชายแดนไทย – กัมพูชา ทั้งแบบทางการและ ไมทางการ 3) เพ่ือศึกษาปจจัยสนับสนุนและเปนอุปสรรคตอความสัมพันธของคนในชุมชนชายแดนไทย – กัมพูชา 4) เพื่อหารรูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอ้ือตอการสรางสังคมอยูดีมีสุขดวยบุญกฐิน พื้นที่ ชายแดนไทย – กัมพูชา ผูวิจัยนําเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการศึกษารูปแบบความสัมพันธเชิง วัฒนธรรมท่ีเอื้อตอการสรางสังคมอยูดี มีสุข ดวยบุญกฐินกรณีศึกษาตําบลดาน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัยราชอาณาจักรกัมพูชา โดยใชกรณีศึกษาบานดาน ตําบลดาน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร และตําบลสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา โดยทีมวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและ งานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการศึกษาวิจัย ดงั รายละเอียดตอไปนี้
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีชุมชน
การที่มนุษยจะอยูรวมกันเปนชุมชนหรือสังคมจําเปนจะตองมีการจัดระบบความสัมพันธที่จะทําใหทุก คนอยูรวมกันอยางมีความสงบสุข กอใหเกิดวัฒนธรรมการอยูรวมกัน สัมพันธกันเกิดจารีตประเพณี ระเบียบ กฎเกณฑ และพิธีการตาง ๆ เพ่ือเปนแนวทางใหสมาชิกของชุมชนหรือสังคมทั้งปจจุบันและรุนตอไปไดถือ ปฏิบัติและสั่งสมตอกันมาจนกลายเปนภูมิปญญา หรือวัฒนธรรมของชุมชนหรือสังคมน้ัน ทั้งนี้ ไดมีการนิยาม ความหมายของวัฒนธรรมไวหลายประการ ดังนี้
สมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2536, อางถึงใน กิ่งแกว มรกฎจินดา, 2550, หนา 25) ไดใหความหมาย “วัฒนธรรม” วา หมายถึง วิถีแหงการดํารงชีพที่มนุษยสรางขึ้นตามที่มนุษยมีความสัมพันธกับมนุษย มนุษยกับ สังคม และมนุษยกับสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนระบบความรูความคิดหรือความเชื่อจนเปนที่ยอมรับและปฏิบัติสืบทอด กันมา เปนวิธีการหรือแบบแผนและมีการอบรมถายทอดไปสูสมาชิกรุนตอมา ตลอดจนมีการเปล่ียนแปลงให เหมาะสมกบสภาพแวดลอมของมนุษย
งามพิศ สัตยสงวน (2542, อางถึงใน กิ่งแกว มรกฎจินดา, 2550, หนา 26) อธิบายวา “วัฒนธรรม” หมายถึง วิถีชีวิต หรือชีวิตความเปนอยูของมนุษยทุกดาน มนุษยในทุกสังคมจะมีพฤติกรรมทางสังคมแตกตาง กันไปตามประเพณี วัฒนธรรมถูกแสดงออกมาใหเห็นโดยแบบแผนพฤติกรรมตางๆ มนุษยในสังคมจะมี พฤติกรรมทางสังคมอยางไรแบบแผนพฤติกรรมและกฎเกณฑตางๆ จะอยูเบื้องหลัง
อานนท อาภาภิรม (2515, หนา 15) กลาววา พระยาอนุมานราชธนอธิบายไววาประเพณีและ วัฒนธรรมเมื่อวาตามเนื้อความก็เปนส่ิงเดียวกัน คือ ไมใชมีอยูโดยธรรมชาติแตเปนสิ่งท่ีสังคมหรือคนในสังคม รวมกันสรางใหมีขึ้นและถายทอดใหแกกันได ประเพณีถาวาโดยลักษณะแหงวัฒนธรรมก็เปนวัฒนธรรมดวย ลักษณะหนึ่ง เพราะสิ่งที่สังคมสรางหรือวางเปนระเบียบแบบแผนขึ้นไวก็จะตองสืบสานตอเปนประเพณี
ผองพรรณ มณีรัตน (2521, หนา 1 - 2) ไดใหความหมายของประเพณี (Tradition) วาหมายถึง ความประพฤติที่สืบตอกันมาจนเปนท่ียอมรับของคนสวนใหญในหมูคณะ และหมายความรวมถึงรูปแบบของ
ความเช่ือ ความคิด การกระทํา คานิยม ทัศนคติ ศีลธรรม ระเบียบแบบแผน และวิธีการกระทําส่ิงตาง ๆ ตลอดจนถึงการประกอบพิธีกรรมในโอกาสตาง ๆ ท่ีไดกระทํามาแตในอดีต หรือกระทําสืบทอดกันมาจนถึง ปจจุบัน ซึ่งประเพณีนี้เปนสิ่งที่มีกันในทุกชาติทุกภาษา สวนลักษณะจะแตกตางหรือคลายกันก็ขึ้นอยูกับแตละ ทองถิ่นหรือแตละสังคม โดยอาจแบงประเพณีตั้งแตเก่ียวกับชีวิตในครอบครัว เชน การเกิด การบวชเรียน การ แตงงาน การตายหรือประเพณีเกี่ยวกับการทําบุญและการสนุกสนานร่ืนเริงของสวนรวม เชน สงกรานต เขาพรรษาออกพรรษา เปนตน
สําหรับแนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีชุมชนนั้น มีผูรูและนักคิดหลายทานไดใหความหมาย ความสําคัญ ตลอดจนลักษณะของวัฒนธรรมและประเพณีชุมชนไว ดังนี้
สุรเชษฐ เวชชพิทักษ (2533) ไดกลาวไววาวัฒนธรรมของชุมชนชนบทกอตัวขึ้นจากการตอสูเพื่อใหทุก คนมีอยูมีกิน และจากการที่ตองอยูรวมกันและสัมพันธกันเปนสังคมชุมชนการตอสูเพื่อการมีอยูมีกินกอใหเกิด วัฒนธรรมทางการผลิตแบบกสิกรรม เกิดการคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ เกิดการจัดระบบความสัมพันธ กับธรรมชาติและความตองการเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว ความเปนมาและเปนไปของจักรวาลโลกและชีวิต พัฒนาขึ้นเปนวัฒนธรรมทางความเชื่อเกิดระบบคุณคาและเกิดการรับศาสนาเขา มาในชุมชนพรอมกับพิธีกรรม ตาง ๆ และการที่ตองอยูรวมกันเปนชุมชนจําเปนตองมีการจัดระบบความสัมพันธที่ทําใหทุกคนอยูรวมกันอยาง สันติสุขกอใหเกิดวัฒนธรรมการอยูรวมกัน สัมพันธกัน เกิดเปนจารีตประเพณี ระบบกฎเกณฑ และพิธีกรรม ตาง ๆ เปนแนวทางใหสมาชิกของชุมชนทั้งรุนปจจุบันและรุนตอไปไดยึดถือปฏิบัติและสืบทอดกันตอไป ซึ่งการ ที่มนุษยไดมาอยูรวมกันเปนชุมชนหรือสังคมยอมมีความรัก ความสัมพันธมีการแบงปน มีการชวยเหลือซึ่งกัน และกัน มีระเบียบแบบแผน กฎเกณฑ พิธีกรรม เพื่อควบคุมพฤติกรรมและเปนแนวทางใหสมาชิกในชุมชนหรือ สังคมถือเปนแนวปฏิบัติและอยูรวมกันอยางมีความสงบสุข ส่ิงที่เปนเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของ สมาชิกในชุมชนหรือสังคมนี้คือ“วัฒนธรรม” โดยวัฒนธรรมของชุมชนใดชุมชนหนึ่งยอมจะแตกตางกันไปตาม ภูมิหลังและความเปนมาของแตละชุมชม
2.1.1 องคประกอบของวัฒนธรรม
1) องควัตถุ ไดแก วัฒนธรรมที่มีรูปรางสามารถจับตองได เชน เครื่องมือเครื่องใชในระบบ เกษตรกรรมหรือระบบอุตสาหกรรม ผลผลิตของมนุษยในทางศิลปกรรม ฯลฯ และวัฒนธรรมท่ีไมมีรูปรางจับ ตองไมไดแตเปนเครื่องหมายแสดงถึงสัญลักษณได เชน ภาษา และตัวเลข ฯลฯ
2) องคการ ไดแก องคการ สถาบัน สมาคม หรือสโมสร ซึ่งไดจัดขึ้นอยางมีระเบียบแบบแผนและเปน ระบบ มีกฎเกณฑระเบียบ ขอบังคับ วิธีดําเนินการ และวัตถุประสงคที่แนนอน เชน ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ เปนตน
3) องคพิธีการ ไดแก ขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งแสดงออกในรูปของพิธีกรรมตางๆ เชน ประเพณีการ โกนผมไฟ พิธีการสมรส พิธีการตั้งศพ เปนตน
เดียวกัน
4) องคมิติ ไดแก ความเช่ือ ความคิด ความเขาใจ และอุดมการณตางๆ เชน ความเชื่อในพระเจาองค
กิ่งแกว มรกฎจินดา (2550, หนา 27) ไดจําแนกประเภทของวัฒนธรรมตามแนวคิดของนักสังคม
วิทยาและนักมานุษยวิทยาสวนใหญ โดยแบงวัฒนธรรมออกเปน 2 ประเภทใหญๆ ไดแก
1) วัฒนธรรมทางดานวัตถุ เปนวัฒนธรรมที่เนนสิ่งที่เปนรูปธรรม ไดแก สิ่งของหรือวัตถุที่มนุษยได ประดิษฐคิดคนและสรางขึ้น เชน เครื่องมือเครื่องใชตางๆ
2) วัฒนธรรมที่ไมใชวัตถุ เปนวัฒนธรรมที่เนนสิ่งที่เปนนามธรรม ไดแก ภาษาความคิด ความเชื่อ คานิยม และประเพณีตางๆ
อยางไรก็ตาม นักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาบางทาน ไดแบงวัฒนธรรมออกเปน 7 ประเภท
ดังนี้
1) ภาษา
2) ศาสนาและอุดมการณ เปนวัฒนธรรมที่กําหนดจุดมุงหมายในการดําเนินชีวิตของมนุษย
3) ระบบเศรษฐกิจ เปนวัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับการผลิต การแลกเปลี่ยน และการบริโภคของ
ประชากรในสังคม เพื่อใหรูจักจัดการสิ่งตาง ๆ เหลานั้นใหดีที่สุดภายใตทรัพยากรที่มีอยู
4) จริยธรรม เปนวัฒนธรรมที่ไดวางระเบียบ กฎเกณฑ ในสังคมใหสมาชิกไดปฏิบัติตามเพื่อความสงบ สุขภายในสังคม
5) คานิยม เปนวัฒนธรรมที่แสดงใหเห็นถึงคานิยมที่กําหนดพฤติกรรมของมนุษย
6) อํานาจ เปนวัฒนธรรมที่ไดกําหนดวิธีการจัดการปกครองและการใชอํานาจใหเหมาะสมภายใน
สังคม
7) ศิลปะและสุนทรีศาสตร เปนวัฒนธรรมหนึ่งที่แสดงถึงศิลปะและสุนทรีศาสตรของสมาชิกในสังคม
กาญจนา แกวเทพ (2538, หนา 21 - 25) กลาววา “วัฒนธรรมชุมชน” เปนที่รวมของพลัง ความสามารถ พลังภูมิปญญา และพลังสรางสรรค ที่จะแกปญหาของชุมชน และไดใหความหมายของ วฒนธรรมไวเปน 2 สวน คือ สวนที่เรามองเห็นได เชน ศิลปวัฒนธรรม อาหารการแตงกาย ประเพณี พิธีกรรม การเรียนรู และสวนที่เรามองเห็นไมได เชน ระบบคิด ระบบคุณคา โดยมีกรอบความคิดความเขาใจพื้นฐาน เกี่ยวกับการพัฒนาวัฒนธรรมชุมชนไว ดังนี้
1) การทําความเขาใจเกี่ยวกับรูปแบบ ระบบคิด พฤติกรรมท่ีชาวบานประพฤติปฏิบัติอยูเพื่อเปนการ คนหาความหมาย เบื้องหนา และเบื้องลึกของวัฒนธรรมชุมชน
2) การรื้อฟนวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชนใหมีชีวิตชีวาขึ้นมาใหม เชน การยอนรอยการแตกหนอตอ ยอดของคุณคาที่ดีงาม
3) การพิจารณาวัฒนธรรมชุมชนในฐานะที่เปนเอกลักษณซ่ึงจะทําใหเกิดความรูสึกเปนเจาของ สงผล สืบเนื่องถึงการอนุรักษ บํารุงรักษา และฟนฟูใหมีอายุยืนยาว
4) การพิจารณาถึงศักยภาพและพลังสรางสรรคของชุมชน
5) การมีกรอบความคิดและความเขาใจวัฒนธรรมแบบองครวม
2.2 แนวคิดความสัมพันธชายแดน
2.2.1 ความสัมพันธชายแดนไทยกับกัมพูชา
กัมพูชายึดถือการดําเนินนโยบายตางประเทศที่เปนกลางและไมฝกใฝฝายใดตามที่ไดประกาศไวตอ สภาแหงชาติ ภายหลังจากเหตุการณความวุนวายในประเทศสงบลงกัมพูชาเริ่มแสวงหาแนวทางใหมๆ เพื่อเพิ่ม บทบาทของตัวเองใหเปนที่ยอมรับในเวทีระหวางประเทศ ไดแก
1) การเพิ่มบทบาทในสหประชาชาติ อาทิ การสมัครเปนสมาชิกไมถาวรของคณะมนตรีความมั่นคง แหงสหประชาชาติ การตอตานการกอการรายซึ่งเปนประเด็นสําคัญของประชาคมโลก การแกไขปญหาโรค เอดสและโรคระบาดตางๆ นอกจากนี้ กัมพูชายังมองวาสหประชาชาติเปนองคกรสําคัญ ที่ชวยสงเสริมการ พัฒนาและแกไขปญหาภายในกัมพูชา เพื่อสงเสริมใหการดําเนินการตามแผนพัฒนา ยุทธศาสตรแหงชาติ (National Strategic Development Plan – NSDP) ช วงระห วางป พ .ศ . 2549 – 2553 บรรลุตาม วัตถุประสงคที่วางไว โดยเฉพาะอยางยิ่งการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
2) การเสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือกับประเทศตางๆ ทั้งในกรอบทวิภาคีและพหุภาคี โดยเฉพาะกับประเทศเพื่อนบานและอาเซียน เพื่อเสริมสรางภาพลักษณของประเทศในเชิงบวกในสายตาของ นานาประเทศ และการแสวงหาประโยชนในดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งความชวยเหลือ เพื่อการพัฒนา การ ดึงดูดการลงทุนจากตางชาติ การพัฒนาดานการศึกษา และการสงเสริมการทองเที่ยว ความสัมพันธทั่วไป
ปจจุบัน ความสัมพันธไทย – กัมพูชานับไดวามีพัฒนาการที่กาวหนาและดําเนินไปบนพื้นฐานของ ความเขาอกเขาใจกัน โดยมีกรอบความรวมมือตางๆ เปนพลังขับเคลื่อนความสัมพันธอันดีระหวางกันไดแก ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี – เจาพระยา – แมโขง (Ayeyawady – Chao Phraya – Mekong Economic Cooperation Strategy – ACMECS) กรอบความรวมมืออนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Sub-region – GMS) กรอบความรวมมือสามเหลี่ยมมรกต มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีรวม ไทย – กัมพูชา (ระหวางวันที่ 31 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน พ.ศ. 2546) ที่เมืองเสียมราฐและจังหวัด อุบลราชธานี (ซึ่งถือเปนสัญลักษณของการฟนคืนความสัมพันธไทย – กัมพูชาใหกลับคืนสูภาวะปกติอยาง สมบูรณแบบภายหลังการเกิดเหตุการณไมสงบในกรุงพนมเปญเมื่อวันท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2546) และมติที่ ประชุมคณะกรรมาธิการรวมวาดวยความรวมมือทวิภาคีไทย – กัมพูชา ครั้งที่ 5 ที่กรุงพนมเปญ (ระหวางวันที่ 7 – 8 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549) นอกจากน้ี ยังมีกลไกความรวมมืออีกมากทั้งในระดับรัฐบาลและระดับทองถิ่น ซึ่งมีสวนชวยสงเสริมความสัมพันธระหวางสองประเทศใหแนนแฟนมากยิ่งขึ้น ความรวมมือระหวางรัฐบาลไทย กับกัมพูชาที่สําคัญในปจจุบันและถือเปนสัญลักษณของความสัมพันธที่ใกลชิดระหวางสองประเทศไดแก การ จัดกิจกรรมฉลองครบรอบ 55 ป ของการสถาปนาความสัมพันธทางการทูตไทย – กัมพูชา (ระหวางวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2548 – 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549) โดยมีกิจกรรมที่ทั้งสองฝายฉลองรวมกัน 55 โครงการ ซึ่ง หลายโครงการไดดําเนินการลุลวงไปแลวและประสบความสําเร็จดวยดี ผูนําไทยกับกัมพูชามีความสัมพันธที่ ใกลชิดและมีการแลกเปลี่ยนการเยือนระหวางกันอยางสม่ําเสมอ ซึ่งมีสวนชวยใหความรวมมือระหวางสอง ประเทศดําเนินไปอยางราบร่ืนและสามารถแกไขปญหาและอุปสรรคตางๆ ไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สําหรับความรวมมือที่สําคัญในปจจุบัน ไดแก
– การสํารวจและปกปนเขตแดนทางบกไทย – กัมพูชา ไทยกับกัมพูชามีพรมแดนทางบกติดตอกัน
ประมาณ 798 กิโลเมตร มีหลักเขตทั้งสิ้น 73 หลักเขต โดยมีคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมและ คณะอนุกรรมการเทคนิครวมเปนกลไกสําคัญที่กํากับดูแลภารกิจการสํารวจปกปนและแกไขปญหาเขตแดน ทางบก ขณะนี้ มีความคืบหนาในการแกไขปญหาเขตแดนทางบกโดยสองฝายจะเริ่มสํารวจเสนเขตแดนบริเวณ
หลักเขตที่ 48 – 49 ในจังหวัดสระแกว ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 และจะทยอยสํารวจและปกปนเขต แดน ที่เหลือตอไป นอกจากนี้ รัฐบาลไทยกับกัมพูชายังสนับสนุนใหมีการแกไขปญหาพ้ืนที่ไหลทวีปที่ทั้งสอง ฝาย อางสิทธิ์ทับซอนกันเพื่อใหสามารถแสวงประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในทะเลไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพ ปญหาที่เกิดขึ้น อาทิ มีการปลูกสรางสิ่งกอสรางรุกล้ําเขตแดนหรือปรับสภาพภูมิประเทศเพื่อ วัตถุประสงคใดๆ ในพื้นที่ที่ยังขาดความชัดเจนในเรื่องเสนเขตแดน มีสวนสําคัญในการทําลายสันปนน้ําและ สภาพภูมิประเทศตามธรรมชาติของเสนเขตแดน และมักเปนชนวนนําไปสูความขัดแยงและไมเปนผลดีตอ ความสัมพันธและความเขาใจอันดีระหวางสองประเทศ ซึ่งทั้งสองฝายไดรวมกันแกไขปญหาในกรอบของ คณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย – กัมพูชา เพื่อใหมีการปฏิบัติตามความตกลงรวมกัน
– ความรวมมือชายแดน ปจจุบันไทยกับกัมพูชามีจุดผานแดนถาวรระหวางกัน 6 จุด และจุดผอน ปรนอีก 9 จุด เพื่ออํานวยความสะดวกดานการสัญจรขามแดนระหวางประชาชนท้งสองฝายบนพื้นฐานของ ความตกลงสัญจรขามแดนไทย – กัมพูชา ป 2540 ซึ่งกําหนดใหผูสัญจรขามแดนตองใชเอกสารเดินทาง ที่
ถูกตอง ไดแก หนังสือเดินทางและบัตรผานแดน นอกจากนี้ ยังสนับสนุนใหมีการปฏิบัติตามเอกสาร Concept Paper on Thailand – Cambodia Border Points of Entry: Ways towards New Order, Effective Border Management and Greater Bilateral Cooperation ซึ่งสงเสริมการสัญจรขามแดนที่ถูกตอง การ อนุรักษสภาพแวดลอมตามธรรมชาติในพ้ืนท่ีชายแดน การปองกันและปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่ ชายแดน อยางไรก็ดี ปญหาในพื้นที่ชายแดนยังคงมีอยู โดยเฉพาะการลักลอบคายาเสพติด แรงงานลักลอบเขา เมือง โดยผิดกฎหมาย การโจรกรรมรถยนตและรถจักรยานยนต ปญหาการปฏิบัติตอชาวกัมพูชาท่ีถูกจับกุม ในบางครั้ง การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ไทยเพื่อปองกันและปราบปรามอาชญากรรมอาจนําไปสูการเสียชีวิต และบาดเจ็บ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอความสัมพันธและความเขาใจอันดีระหวางรัฐบาลและประชาชนของทั้ง สองประเทศได
– ความรวมมือดานแรงงานและการตอตานการคามนุษย ไทยกับกัมพูชาไดจัดทําบันทึกความเขาใจ วาดวยความรวมมือในการจางแรงงานไทย – กัมพูชา และบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือในการขจัด การคาเด็กและหญิงและการชวยเหลือเหยื่อจากการคามนุษย เม่ือวันที่ 31 พฤษภาคม 2546 เพื่อจัดระเบียบ
และแกไขปญหาแรงงานขามแดนโดยผิดกฎหมายชาวกัมพูชาในประเทศไทย รวมทั้งปองกันและปราบปราม ขบวนการคามนุษย ทั้งนี้ เมื่อเดือนเมษายน 2548 ทางการไทยไดขึ้นทะเบียนแรงงานชาวกัมพูชาไวแลวจํานวน 183,541 คน ปจจุบันอยูในระหวางการพิสูจนสัญชาติและออกเอกสารประจําตัว (Certificate of Identity – C.I.) แกแรงงานที่ไดรับอนุญาตใหทํางานจํานวน 75,804 คน ซึ่งนับจนถึงวันท่ี 1 เมษายน 2549 มีผูไดรับการ
รับรองสัญชาติและไดรับเอกสารประจําตัวแลวจํานวน 34,113 คน
– การพัฒนารวมเขาพระวิหาร รัฐบาลไทยกับกัมพูชาเห็นชอบรวมกันที่จะพัฒนาปราสาทเขาพระ
วิหารเพื่อใหเปนสัญลักษณของความสัมพันธอันดีงามที่ย่ังยืน โดยไดจัดตั้งกลไกขึ้นกํากับดูแล การดําเนินงาน ดานตาง ๆ ที่สําคัญคือคณะกรรมการรวมเพื่อพัฒนาเขาพระวิหาร และคณะอนุกรรมการอีก 2 คณะ ไดแก
(1) คณะอนุกรรมการวางแผนการพัฒนารวมเขาพระวิหาร
(2) คณะอนุกรรมการเพื่อบูรณปฏิสังขรณปราสาทเขาพระวิหาร โดยทั้งสองฝายเห็นชอบรวมกันให เริ่มโครงการพัฒนาภายหลังจากที่ UNESCO ไดขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเปนมรดกโลกแลว และให เช่ือมโยงการพัฒนาชองตาเฒา (หางจากเขาพระวิหาร 5 ก.ม.) ซึ่งฝายกัมพูชามักรบเราใหฝายไทยเปดเปนจุด ผานแดนเขาเปนสวนหนึ่งของโครงการพัฒนารวมเขาพระวิหาร โดยใหดําเนินการท้ังสองเรื่องควบคูกันใน ลักษณะ package และใหการพัฒนาสงเสริมซึ่งกันและกัน
2.2.2 ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ
ความสัมพันธไทย – กัมพูชาในทางเศรษฐกิจดําเนินไปอยางใกลชิด ปจจุบันมีคนไทยอาศัยอยูใน กัมพูชาประมาณ 1,500 คน สวนใหญเขาไปประกอบธุรกิจสวนตัว อาทิ โรงแรม รานอาหาร และคาขาย ประเทศไทยถือเปนคูคาที่สําคัญและเปนผูลงทุนรายใหญในกัมพูชา แตโดยท่ีระบบการบริหารจัดการภายใน ของกัมพูชา อาทิ การจัดเก็บภาษี การสงเสริมและคุมครองการลงทุน ความโปรงใส ฯลฯ ยังขาดมาตรฐานและ ไมเปนสากล ทําใหการคาและการลงทุนของไทยในกัมพูชามีตนทุนสูงและเติบโตชาซึ่งไมสอดคลองกับศักยภาพ และสถานะทางเศรษฐกิจของไทย ทั้งนี้ รัฐบาลสองฝายไดเล็งเห็นถึงความสําคัญและตกลงที่จะรวมมือกัน เรงรัดการแกไขปญหาและลดอุปสรรคดานการคาและการลงทุนระหวางกันใหปรากฏผลที่เปนรูปธรรมตอไป
มูลคาการคาทวิภาคีไทย – กัมพูชา ในป 2549 มีมูลคา 1,216.28 ลานดอลลารสหรัฐ โดยไทย ไดเปรียบดุลการคา 1,150.65 ลานดอลลารสหรัฐ สินคาสงออกที่สําคัญของไทย ไดแก สินคาอุตสาหกรรม การเกษตร ยานพาหนะ อุปกรณและสวนประกอบสินคาเชื้อเพลิง วัสดุกอสราง เคร่ืองด่ืมและเคร่ืองดื่มบํารุง กําลัง ส่ิงทอ เคมีภัณฑ สินคาอุปโภคบริโภค พลาสติกและผลิตภัณฑ เคร่ืองใชไฟฟา สวนสินคาสําคัญที่นําเขา จากกัมพูชา ไดแก เหล็ก เหล็กกลา และผลิตภัณฑไมแปรรูป ผลิตภัณฑจากไม สินคากสิกรรม สินคาประมง และปศุสัตว สิ่งทอ ยานพาหนะ อุปกรณและสวนประกอบเครื่องจักรไมใชไฟฟา ผลิตภัณฑโลหะ ผลิตภัณฑ กระดาษ สินคาอุตสาหกรรมการเกษตร
สําหรับการคาชายแดนไทย – กัมพูชา ในป 2549 มีมูลคาการคาชายแดน 900.55 ลานดอลลารสหรัฐ โดยไทยไดเปรียบดุลการคา 831.48 ลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งสะทอนใหเห็นวาการคาชายแดนมีความสําคัญใน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางสองประเทศ ท้งนี้ คาดวาหลังการพัฒนาเครือขายคมนาคมทางบกระหวาง ไทย – กัมพูชาแลวเสร็จ ไดแก ถนนหมายเลข 5 (ชวงปอยเปต – ศรีโสภณ) และหมายเลข 6 (ชวงศรีโสภณ – เสียมราฐ) หมายเลข 67 (สะงํา – อันลองเวง – เสียมราฐ) และหมายเลข 48 (เกาะกง – สแรอัมเบิล) การคา ชายแดนจะขยายตัวอีกมาก นอกจากนี้ ไทยกับกัมพูชายังขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจภายใตกรอบตาง ๆ โดยเฉพาะ ACMECS อาทิ การจัดทํา Contract Farming การรับซื้อผลิตผลการเกษตร 10 ชนิด ในอัตราภาษี นําเขารอยละ 0 การสงเสริมการซื้อขายสินคาแบบหักบัญชี (Account Trade) การจัดตั้งOne Stop Service เพ่ืออํานวยความสะดวกดานพิธีศุลกากร การฝกอบรมและพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร โครงการจัดทําแปลง เกษตรสาธิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนของกัมพูชา เปนตน
2.2.3 ความสัมพันธทางสังคมและวัฒนธรรม
ความรวมมือดานวัฒนธรรม ไทยกับกัมพูชามีความคลายคลึงกันทางดานศิลปวัฒนธรรมอยางมาก จึง เปนเรื่องงายที่รัฐบาลทั้งสองฝายจะใชความรวมมือดานวัฒนธรรมเปนสื่อกลางในการสงเสริมความสัมพันธและ ความเขาใจอันดีระหวางกัน ดังเชนความพยายามท่ีจะประสานรอยราวของความสัมพันธภายหลังเหตุการณ ความไมสงบในกรุงพนมเปญเมื่อป 2546 ดวยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการรวมไทย – กัมพูชา เพื่อสงเสริมความ รวมมือดานวัฒนธรรมและใชเปนกลไกในการกระชับความสัมพันธระหวางประชาชนของทั้งสองประเทศ โดย สองฝายไดจัดประชุมรวมกันแลวหลายครั้งเพื่อกําหนดทิศทางความรวมมือและแผนปฏิบัติการประจําปสําหรับ
ใชเปนกรอบในการดําเนินงานรวมกัน นอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งคณะอนุกรรมการดานวัฒนธรรม ประวัติศาสตร และการทองเที่ยว เพื่อผลักดันความรวมมือในแตละสาขาดวย
2.2.4 สถานะลาสุดของความสัมพันธไทย – กัมพูชา
พล.อ. สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรีไดเดินทางไปเยือนกัมพูชาอยางเปนทางการเม่ือวันท่ี 15 ตุลาคม 2549 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) แนะนําตัวตามธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูต สรางความสนิทสนม คุนเคยกับผูนําของกัมพูชา และ “จับมือกัมพูชาไวใหอุน” โดยสรางความเชื่อม่ันระหวางกันเพื่อปูทางการ พัฒนาความสัมพันธระหวางสองประเทศใหเจริญกาวหนาตอไปดวยดี บนพื้นฐานของผลประโยชนรวมกัน (2) ชี้แจงและทําความเขาใจกับผูนําของกัมพูชาเกี่ยวกับสถานการณทางการเมืองในประเทศไทย ภารกิจและความ จําเปนของรัฐบาลในการสรางความสมานฉันทภายในชาติ สรางความเช่ือม่นจากตางประเทศ และการแกไข ปญหาสําคัญเรงดวนที่ไดเกิดขึ้น โดยเฉพาะอุทกภัยภายในประเทศ (3) เนนย้ําความสําคัญที่ทั้งสองฝายจะ รวมมือกันเพื่อพัฒนาความสัมพันธทวิภาคีใหกาวหนาและย่งยืนตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง บนพื้นฐานของการ สงเสริมความสัมพันธและความเขาอกเขาใจซึ่งกันและกันของประชาชนทั้งสองฝาย โดยยืนยันนโยบายและ เจตนาที่จะใหความชวยเหลือและสนับสนุนกัมพูชาใหพัฒนาเจริญกาวหนาขึ้น พรอมกับย้ําถึงความตอเนื่อง ของโครงการความรวมมือตางๆ ที่ดําเนินอยูและตั้งอยูบนพื้นฐานของผลประโยชนรวมกันวาจะดําเนินตอไป โดยไมหยุดชะงัก
สําหรับประเด็นความรวมมือตางๆ ที่ไดมีการหารือกันในครั้งนี้ ที่สําคัญไดแก
(1) การปกปนเขตแดนทางบกและการพัฒนาในพื้นท่ีชายแดน ซึ่งทั้งสองฝายไดตกลงกันที่จะรวมมือ กันอยางจริงจังในการปกปนเขตแดนทางบกใหแลวเสร็จโดยเร็ว รวมทั้งปองกันมิใหการพัฒนาตางๆ ในพื้นที่ ชายแดนมีผลกระทบ/สรางปญหาใหกับการปกปนเขตแดน นอกจากนั้น ยังไดตกลงกันผลักดันความรวมมือ ไทย – ลาว – กัมพูชาในกรอบความรวมมือสามเหลี่ยมมรกต อาทิ การสงเสริมการทองเที่ยว และ ความสัมพันธภาคประชาชน และอื่น ๆ
(2) การเชื่อมโยงคมนาคมทางบก สองฝายเนนย้ําถึงความสําคัญของเรื่องนี้เพื่อสงเสริมการสัญจรไปมา หาสูกันของประชาชนท้ังสองฝาย และผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกันในระยะยาว โดยจะเรงรัดดําเนินการ โครงการพัฒนาเสนทางเชื่อมโยงที่ไทยไดใหการสนับสนุนแกกัมพูชา (ถนนหมายเลข 67 (สะงํา – อันลองเวง – เสียมราฐ) และหมายเลข 48 (ตราด – เกาะกง – สแรอัมเบิล) ใหแลวเสร็จตามกําหนดกอนที่จะพิจารณา รวมมือกันในการพัฒนาเสนทางเชื่อมโยงอื่น ๆ ที่จะมีประโยชนรวมกันตอไป ตลอดจนเรื่องการใหความ สนับสนุนกัมพูชาในเรื่องการซอมสรางเสนทางรถไฟชวงปอยเปต – ศรีโสภณ
(3) การพัฒนารวมในพื้นที่ไหลทวีปทับซอนกัน ทั้งสองฝายไดยืนยันเจตนารมณที่จะเดินหนาโครงการ ตามที่ไดตกลงกันไว กลาวคือ ใหมีการดําเนินงานทางดานเทคนิคทั้งในสวนที่เกี่ยวกับการกําหนดอาณาเขตทาง ทะเล และการพัฒนารวมในพื้นที่ดังกลาวตอไป
(4) ความรวมมือในการปองกันและเฝาระวังโรคไขหวัดนก ซ่ึงทั้งสองฝายไดยกเปนตัวอยางของความ รวมมือสําคัญนอกเหนือจากประเด็นดานการเมืองและเศรษฐกิจ โดยไดตกลงจะรวมมือกันอยางจริงจังในเรื่อง ดังกลาว รวมทั้งใหขยายขอบเขตเปนความรวมมือดานสาธารณสุขในภาพรวมดวย
2.2.5 แนวโนมความสัมพันธไทย – กัมพูชา
เมื่อพิจารณาจากพัฒนาการของความสัมพันธและความรวมมือระหวางไทยกับกัมพูชานับจากตนป พ.ศ. 2547 เปนตนมา การดําเนินความสัมพันธระหวางสองประเทศในทุกสาขาและทุกระดับนาจะพัฒนา ตอไปไดอยางราบรื่น โดยมีกรอบความรวมมือทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคีตามขางตนเปนกลไก ขับเคลื่อนที่ สําคัญ อยางไรก็ดี ความสัมพันธและความรวมมือไทย – กัมพูชา อาจไดรับผลกระทบจากปจจัย และ สภาพแวดลอมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมภายในกัมพูชาไดเชนกัน โดยเฉพาะปญหาเสถียรภาพทาง การเมืองภายใน และการถดถอยทางเศรษฐกิจเนื่องจากวิกฤติการณดานพลังงานและปจจัยแทรกซอนอื่นๆ เชน โรคระบาด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ การกอการราย เปนตน
ความตกลงที่สําคัญๆ กับไทย
1) ความตกลงวาดวยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการรวมวาดวยความรวมมือทวิภาคี (ลงนามเมื่อ 1
มกราคม พ.ศ. 2537)
2) ความตกลงวาดวยความรวมมือดานการทองเที่ยว (ลงนามเมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ. 2538)
3) ความตกลงวาดวยการจัดตั้งคณะกรรมการชายแดน (ลงนามเมื่อ 29 กันยายน พ.ศ. 2538)
4) ความตกลงวาดวยการคา ความรวมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ (ลงนามเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ.
2539)
5) ความตกลงทางวัฒนธรรม (ลงนามเมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2540)
6) บันทึกความเขาใจวาดวยความรว มมือในการปราบปรามการคายาเสพติด สารออกฤทธต์ิ อจิตและ
ประสาท และสารตั้งตน (ลงนามเมื่อ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541)
7) สนธิสัญญาวาดวยการสงผูรายขามแดน (ลงนามเมื่อ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541)
8) ความตกลงวาดวยการตอตานการลักลอบขนสงทรัพยสินทางวัฒนธรรมขามแดนและการสงคืน ทรัพยสินทางวัฒนธรรม (ลงนามเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2543)
2543)
9) บันทึกความเข
ใจวาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก (ลงนามเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ.
10) ความตกลงวาดวยการยกเวนการตรวจลงตราสําหรับผูถือหนังสือเดินทางทูต (ลงนามเมื่อ 13
พฤศจิกายน พ.ศ. 2544)
11) บันทึกความเขาใจวาดวยการพัฒนาถนนหมายเลข 48 (เกาะกง – สแรอัมเบิล) และถนน หมายเลข 67 (สะงํา – อันลองเวง – เสียมราฐ) (ลงนามเมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2546)
12) บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือในการขจัดการคาเด็กและหญิง และการชวยเหลือเหยื่อ จากการคามนุษย (ลงนามเมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2546)
13) บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการเกษตร (ลงนามเมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2546)
14) บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือในการจางแรงงาน (ลงนามเมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2546)
15) บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการศึกษา (ลงนามเมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2546)
16) พิธีสารยกเวนการตรวจลงตราหนังสือเดินทางราชการ (ลงนามเมื่อ 8 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549)
17) บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานสารสนเทศและกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการ วิทยุโทรทัศนไทย – กัมพูชา (ลงนามเมื่อ 8 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549)
2.3 สรุปแนวคิดและการนําเอาไปใช
1) แนวคิดวัฒนธรรมและประเพณีชุมชน เปนแนวคิดที่กลาวถึง วิถีชุมชนบนฐานความคิด การ ปฏิบัติและการใหคุณคาของการอยูรวมกันในสังคมชุมชน โดยคํานึงถึงความเปนคน การใหความสําคัญสถาบัน ครอบครัว ชุมชนและความผสมกลมกลืน รวมถึงประโยชนสุขท่ีไดรับรวมกันอยางเสมอภาค ไมแปลกแยก ทํา ใหสังคมชุมชนอยูรวมกันอยางเอื้ออาทร ชวยเหลือเกื้อกูลและปรับสภาพไดตามสภาพการณที่เปลี่ยนแปลง โดยยึดรากฐานทางวัฒนธรรมที่สั่งสมสืบทอดกันมาเปนสิ่งยึดโยงและปฏิบัติอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ
การนําใชแนวคิดวัฒนธรรมและประเพณีชุมชนในการศึกษาวิจัย เปนการใชฐานความคิด ความเชื่อ การปฏิบัติและการใหคุณคาเชิงวัฒนธรรมที่คลายคลึงกันของชุมชน มาเชื่อมรอยใหเกิดการปฏิบัติการ เพื่อฟน ฟูและสรางสรรคความรูสึกที่ดีตอกัน ลดความหวาดระแวง อันจะนําไปสูการมีปฏิสัมพันธที่ดีตอกันทั้งใน ปจจุบันและอนาคต
2) แนวคิดความสัมพันธชายแดน เปนแนวคิดที่ยืนอยูบนพื้นฐานการสรางความเขาอกเขาใจของ ประชาชนท้งสองฝายหรือหลายฝายเปนความสัมพันธทั้งในรูปลักษณะทวิภาคีและพหุภาคี โดยมีกรอบความ
รวมมือตางๆและเพ่ือเปนพลังขับเคลื่อนความสัมพันธอันดี ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการ ทองเที่ยว
การนําไปใช การศึกษาวิจัยรูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมอยูดีมีสุข ดวย บุญกฐิน มีจุดมุงหมายที่จะฟนฟูวัฒนธรรมประเพณีและความสัมพันธของชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่ง สอดคลองกับแนวคิดความสัมพันธชายแดน โดยเฉพาะการใชวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งทั้งไทยและกัมพูชามีความ คลายคลึงกันอยางมากเปนสิ่งเชื่อมสัมพันธของประชาชนทั้งสองฝาย
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ
คาร มนตรีวงษ และคณะ (2557) ไดศึกษาวิจัยภายใต “โครงการประเพณีแซนโฎนตากับการฟน ความสัมพันธขามแดนของชุมชนไทย-กัมพูชา กรณีศึกษา: ชุมชนบานกันทรอม ตําบลกันทรอม อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ประเทศไทย กับ ชุมชนบานโคกวัด ตําบลแสรนอย อําเภอวาริน จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา” โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใชประเพณีแซนโฎนตาในการรื้อฟนความสัมพันธพี่นองไทย- กัมพูชาที่เคยมีความสัมพันธกันมาในอดีต ทามกลางสถานการณการเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน โดยใช กระบวนการศึกษาวิจัยเพื่ อท องถิ่ น (Community-based Research: CBR) ซ่ึ งวิธีก ารศึกษาวิจั ย ประกอบดวย 1) การสืบคนขอมูลจากเอกสารใบลาน สื่อ และ VCD 2) การลงพื้นที่สํารวจ 3) การพูดคุยโสเหล กัน 4) การขามแดนไป-มาเยี่ยมญาติ 5) การเขารวมกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณี งานแตงงาน งานบุญ ผาปา งานแซนโฎนตา (เบ็นตูจย เบ็นทม) 6) การสัมภาษณผูรู 7) การประชุมกลุมระดมขอมูลเพิ่มเติมรวมกัน
8) การนําเสนอผลความกาวหนาการวิจัย และใชเครื่องมือในการศึกษาวิจัย เชน สมุดบันทึก ประเด็นคําถาม ชวงเวลาหรือเสนประวัติศาสตร แผนท่ีทรัพยากร แผนที่ภาพตัดขวาง ปฏิทินการผลิต ปฏิทินฤดูกาล ปฏิทิน วัฒนธรรม และแผนผังเครือญาติ
ผลที่เกิดขึ้นจากโครงการศึกษาวิจัย คือ 1) เกิดปฏิบัติการ “โฎนตาดลใจ พี่นองไทยกัมพูชา” โดยการ ทําบุญประเพณีโฎนตาขามแดน ไดแก เบ็ญตุยและเบ็ญทม 2) ในมิติความสัมพันธ เกิดการรื้อฟนความสัมพันธ เดิม (กลุมเครือญาติตามสายเลือด) ของชุมชนทองถ่ินชายแดนไทย-กัมพูชา เกิดการสานความสัมพันธใหม (กลุมเครือญาติเสมือนกลุมที่ไมใชตามสายเลือด) เกิดการฟนฟูความสัมพันธระหวางชุมชนชายแดนไทยและ กัมพูชา เกิดการขยายความสัมพันธของชุมชนสูชุมชนใกลเคียงในพื้นที่กัมพูชา และเกิดแนวทางการยกระดับ การพัฒนาชุมชนทองถิ่นชายแดนไทยและกัมพูชา และ 3) เกิดชุดความรูและแหลงเรียนรูพื้นที่ชุมชนทองถ่ิน ชายแดนไทย – กัมพูชา
สุเปน รสชาติ และคณะ (2557) ไดศึกษาการฟนฟูความสัมพันธกลุมเครือญาติขามแดนของชุมชน ทองถิ่นชายแดนไทย – กัมพูชา กรณีศึกษา: บานดานกลาง ตําบลภูผาหมอก อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะ เกษ ประเทศไทย กับบานเวียลโป ตําบลจอมกระสานต อําเภอจอมกระสานต จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจกั ร กัมพูชา เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ไดแก แบบสัมภาษณ แบบประเด็นคําถาม เสนประวัติศาสตร แผนผัง ทรัพยากรรอบในชุมชน ปฏิทินการผลิตของชุมชน ปฏิทินวัฒนธรรมชุมชน และแผนผังเครือญาติ ผลจาก การศึกษามิติความสัมพันธในอดีตของพื้นที่เปาหมาย พบวา ความสัมพันธในพ้ืนที่มีหลายรูปแบบ ไดแก ความสัมพันธเครือญาติ ความสัมพันธดานการแลกเปลี่ยนซื้อขาย ความสัมพันธการใชประโยชนรวมกัน ความสัมพันธดานการชวยเหลือพ่ึงพากัน และความสัมพันธเสมือนญาติ เสี่ยว และเกลอ และที่สําคัญทีมวิจัย ไดคนพบคุณคาและความสําคัญของกลุมเครือญาติ 2 ดาน คือ 1) วัฒนธรรมกลุมเครือญาติสามารถเชื่อม ความสัมพันธการพัฒนาชุมชนรวมกันได และ 2) ระบบกลุมเครือญาติขามแดนไดแสดงใหเห็นถึงความรัก ความไวใจ และความไมเอาเปรียบ
ดํารงคศักดิ์ มะโนแกว และคณะ (2559) ไดศึกษาการเสริมสรางความสัมพันธของชุมชนทองถิ่น ชายแดนไทย – ลาว กรณีศึกษา ชุมชนลุมน้ําเหือง (ทาลี่ – แกนทาว) ในพื้นท่ีบานอาฮี ตําบลอาฮี อําเภอทาลี่ จังหวัดเลย และบานนาแกงมา บานคอนตาปู เมืองแกนทาว แขวงไซยะบุรี วิธีการศึกษาวิจัย ประกอบดวย การศึกษาขอมูลจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ เว็บไซต และบทความ สวนการเก็บขอมูลภาคสนามใชวิธีการ สัมภาษณแบบเจาะลึก วงสนทนากลุมยอย (วงโสเหล) และการสังเกตการณอยางมีสวนรวมในชุมชน ผลจาก การศึกษา พบวา ระบบความสัมพันธของคนในชุมชนทองถิ่นชายแดนไทย – ลาว ทั้ง 3 ชุมชนนั้น แบงออกได เปน 4 ระบบ คือ ระบบความสัมพันธแบบเครือญาติ ระบบความสัมพันธแบบอุปถัมภ ระบบความสัมพันธ ทางดานศาสนาประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และระบบความสัมพันธทางดานการคาระหวางชุมชน ซึ่งทั้ง 3 ชุมชนมีตนทุนที่ชวยเสริมใหแตละระบบความสัมพันธนั้นดํารงอยูไดระหวางชุมชนทั้งสองฝง คือ 1) ทุนคนหรือ ทรัพยากรบุคคล 2) ทุนทางดานสถาบันศาสนา และ 3) ทุนทางประเพณี วัฒนธรรม และความเช่ือ มากกวา นั้น ทีมวิจัยไดจัดทําผาปาเชื่อมสัมพันธขึ้นเพื่อเสริมแรงใหกับคนในชุมชนทั้งฝงไทยและลาวเกิดความสมพันธที่ ดีตอกันอีกดวย
2.5 กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ แบงออกเปน ปจจัยนําเขา (Input) กระบวนการ (Process) และ ผลที่เกิดขึ้น (Output) ดังนี้ (ภาพที่ 1)
ปจจัยนําเขา (Input) ในโครงการ ประกอบดวย
• ทีมวิจัยในพื้นที่
• การพัฒนาศักยภาพทีมวิจัย ไดแก กระบวนการทําวิจัยเพื่อทองถิ่น และการแตกกรอบ ประเด็นเนื้อหา
• ประเด็นหลักๆ ในการศึกษา ไดแก
o บริบทพื้นที่
o ความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมในอดีต-ปจจุบัน
o ปจจัยที่เกี่ยวของ
o รูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคมอยูดีมีสุข
• การติดตามและสนับสนุนจากศูนยประสานวิจัยเพื่อทองถิ่น จังหวัดสุรินทร
• การสนับสนุนจากชุมชนและภาคีเครือขาย
กระบวนการ (Process) ในการดําเนินโครงการแบงออกเปน 2 ชวงหลักๆ ไดแก 1) ชวงกอน ดําเนินงานโครงการ ประกอบดวย การพัฒนาโจทยวิจัย และการพิจารณษกลั่นกรองโครงการ 2) ชวง ดําเนินการ ประกอบดวย สรางความเขาใจรวมกันระหวางทีมวิจัยและที่ปรึกษาไทย-กัมพูชา ประชุมชี้แจงและ สรางความเขาใจรวมในพื้นที่ประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ประชุมในประเทศไทย ประชุมออกแบบ
เครื่องมือการเก็บขอมูลในพื้นท่ี การจัดเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหข มูล การปฏิบัติการ การประชุมสรุป
บทเรียนและสังเคราะหผลการศึกษา เวทีประชุมติดตามงาน และการประชุมสังเคราะหความรู
ผลที่เกิดขึ้น (Output) จากการดําเนินงานโครงการ คือ ไดรูปแบบความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมที่เอื้อ ตอการสรางสังคมอยูดีมีสุข
19
ปจจัยนําเขา (Input)
กระบวนการ (Process)
กอนการดําเนินโครงการ
• ทีมวิจัยในพนที่
• การพัฒนาศักยภาพทีมวิจัย
o กระบวนการทําวิจัยเพื่อทองถิ่น
o การแตกกรอบประเด็นเนื้อหา
• ประเด็นในการศึกษา
o บริบทพื้นที่
o ความสัมพันธเชิงวัฒนธรรมใน อดีต-ปจจุบัน
o ปจจัยที่เกี่ยวของ
o รู ป แ บ บ ค ว า ม สั ม พั น ธ เชิ ง วัฒนธรรมที่เอื้อตอการสรางสังคม อยูดีมีสุข
• การติดตามและสนบสนนุ จากศูนย ประสานวิจยเพื่อทองถิ่น จังหวัดสุรินทร
• การสนับสนุนจากชุมชนและภาคี เครือขาย
• การพัฒนาโจทยวิจัย
• การพิจารณากลั่นกรองโครงการ
ชวงดําเนินงานโครงการ
ผลที่เกิดขึ้น (Output)
• รูปแบบความสมั พันธเชิง วัฒนธรรมที่เอื้อตอการ สรางสังคมอยูดีมีสุข
• สรางความเขาใจรวมกันระหวางทีมวิจัยและที่ ปรึกษาไทย-กัมพูชา
• ประชุมชี้แจงและสรางความเขาใจรวมในพื้นท่ี ประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ประชุมใน ประเทศไทย
• ประชุมออกแบบเครื่องมือการเก็บขอมูลใน พื้นที่
• การจัดเก็บรวบรวมขอมูล
• การวิเคราะหขอมูล
• การปฏิบัติการ
• การประชุมสรุปบทเรียนและสังเคราะหผล การศึกษา
ภาพที่ 1, กรอบแนวคิด
• เวทีประชุมติดตามงาน
• การประชุมสังเคราะหความรู
บทที่ 3
วิธีการดําเนินการวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้ มุ่งศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการสร้างสังคมอยู่ดีมีสุข ด้วย บุญกฐิน กรณีศึกษาตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) มีรายละเอียดการดําเนินงาน ดังนี้
3.1 ขอบเขตการศึกษาวิจัย
3.1.1 ขอบเขตประชากรและกลุ่มเป้าหมาย
ประเทศไทย
กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย พระสงฆ์ ผู้นําชุมชน ผ
1) อําเภอกาบเชิง จังหวดสุรินทร์ จํานวน 50 คน
ู้ ปราชญ์ หน่วยงานราชการ นกวิชาการ ดังน
- ผู คนเฒ่าคนแก่/ปราชญ์ (70-80 ป)ี จํานวน 10 คน
- ผู้นําชุมชน จํานวน 10 คน
- หน่วยงาน จํานวน 10 หน่วยงาน
- พระ จํานวน 5 รูป
- นักวิชาการ จํานวน 5 คน
- กลุ่มท่ัวไป (เยาวชน/ผ ่วมกิจกรรม) จํานวน 10 คน
48 คน
ประเทศกัมพูชา
2) อําเภอกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย (บ้านกระทม บ้านโกนเกรียล บ้านป๊ัวะ และบ้านบะนิม) จํานวน
- ผู้รู้ จํานวน 10 คน
- ผู้นําชุมชน จํานวน 10 คน
- หน่วยงาน จํานวน 10 หน่วยงาน
- พระ จํานวน 5 รูป
-นักวิชาการ จํานวน 3 คน
- ประชาชนทั่วไป จํานวน 10 คน
3.1.2 ขอบเขตพื้นท่ี
ในการวิจัยคร้ังนี้ ทีมวิจัยได้เลือกพื้นที่เป้าหมายตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จ.สุรินทร์ ประเทศไทย และ บ้านกระทม บ้านโกนเกรียล บ้านป๊ัวะ และบ้านบะนิม อ. กรุงสําโรง จ. อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา ซึ่ง
23
การเลือกพ้ืนที่ทํางานวิจัยในกัมพูชาน้ันค่อนข้างยาก ถึงแม้จะเป็นหมู่บ้านที่มีอายุ 100 ปี แต่ผู้คนได้แตก กระจัดกระจายในสมัยสงครามหมดแล้ว โดยทีมวิจัยเสนอว่าอาจจะเลือกพ้ืนท่ีท่ีเป็นหมู่บ้านเก่าแก่และหมู่บ้าน ใหม่เพ่ือเปรียบเทียบกัน ส่วนพื้นที่ประเทศไทยใช้พื้นที่ติดชายแดนที่เคยไปมาหาสู่หรือปฏิสัมพันธ์กับพี่น้อง กัมพูชาเป็นหลัก
ภาพที่ 2, แผนที่แสดงพื้นที่วิจัย ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ประเทศไทยและ อ.กรุงสําโรง จ.อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
25
ภาพท่ี 3, แผนที่แสดงพื้นที่วิจัย ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ประเทศไทยและ อ.กรุงสําโรง จ.อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
3.1.3 ขอบเขตเน้ือหา
1) บริบทชุมชน /พื้นที่อําเภอกาบเชิงและกรุงสําโรง ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและ ศกยภาพชุมชน (ผูร้ ู้ ปราชญ์ กลุ่มองค์กรในพื้นที่)
2) รูปแบบความสัมพนธ์เชิงวัฒนธรรมตงั แต่อดีต-ปัจจุบัน ทงั ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
3) ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องในความสัมพนธ์ทงั ภายในและภายนอกท่ีสนับสนุนและเป็นอุปสรรค
4) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมที่เอือต่อการสรางสังคมอยู่ดีมีสุข
3.1.4 ขอบเขตเวลา
1 มีนาคม 2560 – 31 พฤษภาคม 2561 รวมระยะเวลา 15 เดือน
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการดําเนินการวิจัย
เคร่ืองมือที่ใช้ในการดําเนินการศึกษาวิจัย ประกอบด้วย
1) เวทีประชุม การประชุมเป็นเคร่ืองมือที่สําคญประการหนึ่งในการสร้างการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม ของบุคคล หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินโครงการศึกษาวิจัย เช่น การประชุมชี้แจงทําความ เข้าใจเกี่ยวกับโครงการศึกษาวิจัย การประชุมทีมวิจัยและที่ปรึกษา การคืนข้อมูลชุมชน และการประชุมสรุป บทเรียน เป็นต้น
2) กลุ่มย่อย (Focus Group) เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้รายละเอียดเชิงลึกตามความ ต้องการของผู้ศึกษาวิจัย และเป็นเวทีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบโจทย์งานวิจัย รวมถึงการ ระดมความคิดในการนําไปใช้ประโยชน์ เช่น การจัดเวทีกลุ่มย่อยผู้รู้เกี่ยวกับบุญกฐิน การวิเคราะห์และ สังเคราะห์ความรู้ เป็นต้น รวมถึงการจัดเวทีกลุ่มย่อยเพื่อจดทํารายงานผลการศึกษาวิจัย
3) การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นเป็นวิธีการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ได้มีการรวบรวมและจัดทํา เป็นสารสนเทศเพื่อเผยแพร่ และเป็นหลักฐานอ้างอิง ซึ่งประกอบด้วย เอกสารงานวิจัย ความรู้และภูมิปัญญา ชุมชน แหล่งข้อมูล ไดแก่ เอกสารทางวิชาการ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น
4) แบบสัมภาษณ์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิ โดยการออกแบบแนวคําถามตาม กรอบประเด็นเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่จะนําไปสู่การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อตอบโจทย์ งานศึกษาวิจัย
5) การบันทึกภาพกิจกรรม เป็นเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อเป็นภาพประกอบเน้ือหา รายละเอียดที่นําเสนอให้เห็นชัดเจนและเป็นหลักฐานอ้างอิงประการหนึ่งในการศึกษาวิจัย
6) แบบบันทึกกิจกรรม เป็นแบบฟอร์มที่ออกแบบมาใช้ในการบันทึกผลการดําเนินกิจกรรมวิจัยราย กิจกรรมหลังจากดําเนินการแล้วเสร็จ เพื่อใช้ประโยชน์ในการเขียนรายงาน
3.3 กระบวนการดําเนินการวิจัย
ทีมวิจัยโครงการรูปแบบรูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการสร้างสังคมอยู่ดีมีสุข ด้วยบุญ กฐิน กรณีศึกษาตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา ได้ ดําเนินการตามแผนงานการศึกษาวิจัยโดยมีกิจกรรมสําคัญ ดังนี้
3.3.1 การพัฒนาโจทย์วิจัย
23 กันยายน 2559 ประชุมพัฒนาโจทย์วิจัยคร้ังท่ี 1 ณ วัดทับทิมนิมิต ตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ผู้เข้าร่วมจํานวน 10 คน ประกอบด้วย พระสงฆ์ 1 รูป ครูอาวุโส 1 ครู พัฒนาการอําเภอกาบ เชิง 1 คน ผู้นําชาวบ้าน 4 คน นักพัฒนาอิสระ 1 คน และทีมงานศูนย์ประสานงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่นจังหวัด สุรินทร์ 2 คน
ปรีชา สังข์เพ็ชร ผู้ประสานงาน ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์ได้แนะนําเกี่ยวกับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เพื่อทําความรู้จักงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น โดยเน้นให้เห็นว่างานวิจัย เพื่อท้องถิ่น เป็นการสนับสนุนให้ชุมชนค้นหาคําตอบเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน โดยใช้ฐานความรู้และกลไกชุมชน เป็นสําคัญ จากนั้น ได้บอกกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งน้ีว่า เป็นการระดมความคิดและวิเคราะห์ ปัญหาในเขตพื้นท่ีชายแดนว่าเป็นอย่างไรบ้าง เราจะมีวิธีการจัดการแก้ปัญหาอย่างไร จะใช้เครื่องมืองานวิจัย ท้องถิ่นได้หรือไม่ อย่างไร จากการระดมความคิดในที่ประชุม พบว่า ชุมชนบ้านด่าน ตําบลบ้านด่าน อําเภอ กาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ประสบปัญหาหลายประการด้วยกัน ได้แก่ ปัญหาด้านความมั่นคง เช่น การประทะสู้ รบกันตามแนวชายแดนไทย– กัมพูชาในอดีต ประชาชนถูกจับกุม กรณีการเข้าไปหาของป่า และอันตรายจาก กับระเบิด ปัญหาด้านสงคม เช่น อาชญากรรมและยาเสพติด การมีพฤติกรรมทางเพศท่ีเสี่ยงต่อโรคภัย การด่ืม เหล้าและทะเลาะวิวาท การขายซีดีเถื่อน สินค้าผิดกฎหมาย บ่อนการพนัน ประชาชนไม่มีความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน ความกลัวหวาดระแวงซึ่งกันและกัน ปัญหาการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมกันของ ชุมชนในการแก้ไขปัญหา เนื่องจากชุมชนมีความซบซ้อนมากขึ้น เกิดความเหลื่อมล้ําในการพัฒนา
จากสภาพปัญหาข้างต้น ที่ประชุมเห็นพ้องกันว่า ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชาเป็นปัญหา ที่สําคัญและมีความซับซ้อน การสานสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนชายแดน จําเป็นท่ีจะต้องอาศัยความ ร่วมมือหลายฝ่าย หากจะดําเนินการศึกษาวิจัยควรมีพืนที่วิจัยท้ังประเทศไทยและประเทศกัมพูชา เพราะอยู่ใน พื้นที่ภูมินิเวศเดียวกัน มีสถานการณ์ปัญหาเกี่ยวโยงกัน ผู้ประสานงานศูนย์ประสานงานฯ ได้ให้คําแนะนําว่า พืนที่ต้องวิเคราะห์ปัญหาและกําหนดประเด็นท่ีจะทําการศึกษาให้ชัดเจน และทั้งสองฝ่าย ไทยและกัมพูชาต้อง มาปรึกษาหารือร่วมกัน
27 ตุลาคม 2559 ประชุมพัฒนาโจทย์วิจัยครั้งท่ี 2 ณ วัดทับทิมนิมิต ตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ผู้เข้าร่วม จํานวน 14 คน ประกอบด้วย พระสงฆ์ 1 คน ครูอาวุโส 1 คน นักพัฒนาชุมชน 1 คน ผู้นําและแกนนําชาวบ้าน 8 คน นักพัฒนาอิสระ 1 คนและทีมงานศูนย์ประสานงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่นจังหวัด สุรินทร์ 2 คน
เจาอธิการพิเชษฐ์ พิเชษโฐ ไดประสานงานกบตัวแทนชุมชน หน่วยงานราชการและศูนย์ประสานงานฯ พร้อมทั้งมอบหมายให้ตัวแทนชุมชนจัดเตรียมสถานท่ีในการประชุม การจดประชุมพัฒนาโจทย์ ครั้งที่ 2 ปรีชา สังข์เพ็ชร ผู้ประสานงานศูนย์ฯ ได้ช่วยสรุปทบทวนการประชุมคร้ังที่ผ่านมาและแจ้งความคาดหวังการประชุม
คร้ังน้ีว่า ต้องได้ความชัดเจนเรื่องโจทย์วิจัย ทีมศึกษาวิจัย วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา วิธีการศึกษา ขันตอน กระบวนการศึกษาและการเขียนโครงการวิจัย
ผลการประชุม ที่ประชุมมีข้อคิดเห็นว่า โจทย์วิจัยควรจะเป็นการค้นหา รูปแบบวัฒนธรรมที่เชื่อม ความสัมพันธ์ เพราะประเด็นปัญหาสําคัญท่ีวิเคราะห์จากท่ีประชุม คือ ปัญหาด้านสังคม เรื่องความ หวาดระแวง ไม่ไว้วางใจกัน ส่วนปัญหาด้านความม่ันคงและเศรษฐกิจน้ัน เป็นเร่ืองยากท่ีชุมชนจะดําเนินการ ดังน้ันถ้าจะฟื้นฟูความสัมพันธ์จริงๆน่าจะเข้าถึงวัฒนธรรมท่ีสะท้อนการกินอยู่และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สามารถ ขยายไปผลในเรื่องเศรษฐกิจได้ด้วย ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีท่ีเคยทําร่วมกันมาแล้ว คือ แซนโฎนตา เป็น กิจกรรมที่เชื่อมระหว่างรัฐต่อรัฐ แต่การเชื่อมความสัมพันธ์ในมิติประชาชนหรือประชาสังคมจะทําผ่านอะไร ที่ ประชุมเสนอว่า “จุลกฐิน” เป็นวัฒนธรรมประเพณีท่ีน่าสนใจเพราะไม่มีใคร ทําแล้วและสามารถส่ือได้หลาย อย่าง เช่น อาหารและเศรษฐกิจท้องถิ่น ความสามัคคีเพราะต้องมาร่วมกันทอผ้า ตัดเย็บ ย้อมสีผากฐินให้เสร็จ ในวันเดียว เป็นการใช้บุญนําในการทํางานร่วมกัน
จากน้ันได้มีการระดมความคิดเกี่ยวกับหน่วยงาน องค์กรและบุคคลที่จะมีส่วนร่วมในการเป็นทีม ศึกษาวิจัยและที่ปรึกษา รวมถึงบทบาทภารกิจที่จะหนุนเสริมกระบวนการศึกษาวิจัย ซ่ึงสรุปได้ตามตารางที่ 1
ตารางที่ 1 บุคคล หน่วยงาน องค์กร และบทบาทการมีส่วนร่วม
บุคคล หน่วยงาน องค์กร | บทบาทการมีส่วนร่วม |
ประเทศไทย | |
1. ผูน้ ํา แกนนําชุมชน ผู้รู้ ปราชญ์ ชาวบ้าน | 1. ใหข้ ้อมูลเกี่ยวกบบริบทประวัติศาสตร์ชุมชน ประเพณี วฒนธรรมท้องถิ่น บุญกฐิน และภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. ผู้นําประกอบพิธีกรรมทางศาสนา การแต่งขัน 5 พานบายศรี ถวายพระ สอนการพับกรวย พบนก สาธิต การตําข้าว ฟัดข้าว ขนมพืนบาน 3. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรูและดําเนินกิจกรรมศึกษาวิจัยทง้ ใน ประเทศไทยและประเทศกมพูชา |
2. หน่วยงาน องค์กร • ท่ีว่าการอําเภอกาบเชิง (นายอําเภอ ปลดอําเภอ) • พัฒนาชุมชนอําเภอกาบเชิง • ด่านตรวจคนเข้าเมือง • หน่วยประสานงานพื้นท่ีชายแดน | 1. เป็นที่ปรึกษา ให้คําปรึกษา แนะนําเก่ียวกบการดําเนินงานตาม โครงการศึกษาวิจยั 2. อํานวยความสะดวกเรื่องการประสานงานและเอกสารการข้าม แดนไทย-กัมพูชา |
ประเทศกัมพูชา | |
1. ผู้นํา แกนนําชุมชน ผู้รู้ ปราชญ์ ชาวบ้าน 1.1 พระวิสุทธิเมตา (บุญสาลวด) เจ้า คณะจังหวัดอุดรมีชัย /เจาอาวาสวดั ปราสาทสําโรง | 1) เป็นท่ีปรึกษา ใหค้ ําปรึกษาและอํานวยความสะดวกในการทํา วิจัยในกัมพูชา เช่น การอนุเคราะห์สถานท่ีจัดประชุม ณ วัด ปราสาทราชาสําโรง |
บุคคล หน่วยงาน องค์กร | บทบาทการมีส่วนร่วม |
1.2 พระโททูร๊วะ (รองเจ้าคณะจังหวดรูป ท่ี 1 /รองเจาอาวาสวดปราสาทสําโรง / เลขานุการเจาคณะจงหวดอุดรมีชัย) 1.3 ชอย สมเอ็ด /รึดสุวรรน /ต๊ึสสุธี (ครู โรงเรียนเอกชน) 1.4 ผูน้ ําทางศาสนา /พระสงฆ์ | 1) ประสานงานและเอื้ออํานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมใน พนื ที่ประเทศกัมพูชา 1) ประสานงานคนในชุมชน 2) ศึกษาและรวบรวมขอมูล 3) ร่วมกิจกรรมศึกษาวิจัยทั้งในประเทศกัมพูชาและประเทศไทย 1) ร่วมกิจกรรมและเป็นผูใหข้ ้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชุมชน และบุญกฐิน |
2. หน่วยงาน / องค์กร 2.1 ท่ีว่าการอําเภอกรุงสําโรง (นายอําเภอ) 2.2 กระทรวงธรรมการ | 1) เป็นที่ปรึกษา ให้คําปรึกษา แนะนําและเอืออํานวยความ สะดวกในการดําเนินโครงการศึกษาวิจัย 1) เป็นที่ปรึกษา ใหค้ ําปรึกษาการทํางานกับพระสงฆ์ในประเทศ กัมพูชา 2) ให้ข้อมูลเกี่ยววฒนธรรมประเพณี บุญกฐินประเทศกัมพูชา หมายเหตุ ติดต่อประสานงานในช่วงแรกเท่านั้น เนื่องจากทาง อําเภอมีข้อเสนอใหทางทีมวิจัยติดต่อประสานงานผ่านทางจังหวัด แต่ด้วยเหตุข้อขัดของในการประสานงานกับทางจังหวัดสุรินทร์ จึงไม่ได้ดําเนินการประสานการทํางานร่วมกนอย่างต่อเนื่อง |
สุดท้ายที่ประชุมได้ข้อสรุปร่วมกันว่า งานวิจัยคร้ังนี้ คือ “การศึกษารูปแบบวัฒนธรรมความสัมพันธ์ ชาติพันธุ์พนมดงเร็กพื้นท่ีชายแดนไทย-กัมพูชา จ.สุรินทร์” จากนั้น มอบหมายให้คณะทํางานที่เป็นทีมวิจัยยก ร่างโครงการเพื่อนําเสนอในเวทีพิจารณากลั่นกรองโครงการต่อไป
3.3.2 การพิจารณากลั่นกรองโครงการ
28 พฤศจิกายน 2559 ทีมวิจัย จํานวน 3 คน ได้เข้าร่วมเวทีพิจาณากลั่นรองโครงการ โดยมี ผู้ทรงคุณวุฒิ สกว. ประกอบด้วย ดร.ปรีชา อุยตระกูล ผศ.ดร.ชูพักตร์ สุทธิสาและอุบล อยู่หว้า ณ ศูนย์ ฝึกอบรม มูลนิธิพัฒนาอีสาน ผลการนําเสนอ ผูทรงคุณวุฒิมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
1) โจทย์การวิจัย ควรเกริ่นให้เห็นปัญหาและความสําคัญ ปัญหาที่เกิดขึ้นเอื้อหรือไม่เอื้อต่อสันติสุข ชายแดนอย่างไร เช่น ปัญหาอาชญากรรม แรงงาน ฯลฯ โดยการเพิ่มข้อมูลประวัติศาสตร์ การเปลี่ยนแปลง
ปัญหาจากภายนอกท่ีส่งผลต่อความสัมพันธ์ ประเพณี วัฒนธรรม โจทย์วิจัยหรือปัญหาวิจยที่อยากทําจริงๆ คือ
อะไร และควรหาประเด็นที่ชดเจนในการทํา เพราะวัฒนธรรมเป็นส่งท วาง้ จะทําในมติิ ใด รวมทงควรทบทวน้ั
เอกสารงานวิจัยของอาจารย์บัญญัติ เพื่อให้เห็นว่ายังมีประเด็นอะไรท่ียังต้องเพิ่มเติมเข้ามา ควรให้คํานิยามคํา ว่า “สันติสุข” ในแบบฉบับของเราด้วยว่าหมายถึงอะไร
2) ระเบียบวิธีวิจัย ควรเขียนให้เห็นถึงการสร้างสันติสุขว่าทําอย่างไร ไปหาใคร วิธีการอย่างไร ซ่ึงใน กระบวนการวิจัยอาจจะต้องลองเขียนเพื่อค้นหาความรู้ว่าจะมีรูปแบบ วิธีการอย่างไร กระบวนการออกแบบ งานวิจัย เน้นให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัยและมีส่วนร่วมในกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการ
เรียนรู้ร่วมก โดยใชการวจิ ัยเชงคิ ุณภาพมากกวาเช่ ิงปริมาณและใชเคร่ื้ องมือที่เหมาะสมในการเก็บข้อมูล
3) เป้าหมายของงานวิจัยคืออะไร ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมที่มีอยู่เดิมนั้นเข้าใจว่าเป็นอยู่อย่างไร ผลการวิจัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เกิดนวัตกรรมหรือกลไกใหม่ๆอย่างไร และนํามาซึ่งสังคมสันติสุขได้ อย่างไร ซ่ึงสามารถยกระดับงานวิจัยสู่การพัฒนาโจทย์ชุดโครงการเพื่อเคลื่อนงานหรือขยายพื้นที่อื่นได้ใน อนาคต ส่วนจุดเด่นของงาน คือ เป็นงานเชิงอุดมการณ์ ควรทําความเข้าใจถึงเป้าหมายร่วมกัน ซึ่งกลุ่มก่อการ จะต้องเข้าใจร่วมเพื่อขยายผลไปสู่กลุ่มอื่นๆต่อไป ท้ังนี้มีข้อที่ควรคํานึงถึงคือทัศนคติ อุดมคติเร่ืองเชื้อชาติจะ ส่งผลต่อการทํางานของเราอย่างไร”
30 มกราคม 2560 เวทีประชุมพิจารณาปรับปรุงแก้ไขข้อเสนอโครงการวิจัย ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่และผู้ทรงคุณวุฒิ สกว. ทีมพ่ีเล้ียงศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์ ตวแทนทีมวิจัยจํานวน .3 คน และตัวแทนโครงการวิจัยอีก 2 โครงการ
การพิจารณาปรับปรุงแก้ไขโครงการ เริ่มจากเจ้าหน้าท่ี สกว. และผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ให้ทีมวิจัยทบทวน ประเด็นหลักๆ 2 ประการ คือ หนึ่ง ภาพรวมความเป็นมา สถานการณ์ด้านวัฒนธรรมและความสัมพันธ์ท่ีผ่าน มาของทั้งสองประเทศเป็นอย่างไร มีปัญหาความเปล่ียนแปลงอะไรบ้างและความเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นกระทบ ต่อวิถีชีวิตคนในชุมชนอย่างไร รวมถึงทบทวนความจําเป็นที่ต้องทําวิจัยน้ี สอง ทบทวนวัตถุประสงค์และ ปรับเปลี่ยนจากเพื่อการศึกษาปัจจัยเงื่อนไขที่เก่ียวข้องกับการสร้างความสมพันธ์เชิงวัฒนธรรม เป็น เพื่อศึกษา รูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมที่เอือต่อการสรางสังคมอยู่ดีมีสุขด้วยบุญกฐิน
ผลการประชุม ได้ปรับเปลี่ยนหัวข้อวิจัยจาก “ศึกษารูปแบบวัฒนธรรมความสัมพันธ์ชาติพันธุ์พนมดง เร็กพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา จ.สุรินทร์” เป็น “รูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการสร้างสังคม อยู่ดีมีสุขด้วยบุญกฐิน กรณีศึกษาตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา” หลังจากน้ันเจ้าหน้าที่ สกว. ได้ช้ีแจงระเบียบการจัดการงบประมาณและเอกสาร ประกอบการจัดทําสัญญาโครงการให้ทางทีมวิจัยได้รับทราบ และให้ทีมวิจัยทําการปรับปรุงแก้ไขโครงการวิจัย นําเสนอต่อทาง สกว. ต่อไป
เวทีพิจารณากล่ันกรองโครงการ เป็นเวทีที่เป็นประโยชน์อย่างมาก ในแง่ของการสร้างการเรียนรู้และ ช่วยให้นักวิจัยชุมชนได้แง่คิดและมุมมองขยายเพิ่มมากขึ้น เกิดการวิเคราะห์ทบทวนแนวคิดและกําหนด ประเด็นโจทย์วิจยได้ชัดเจนมากขึ้น
3.3.3 กิจกรรมวิจัย
1) สร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างทีมวิจัยและท่ีปรึกษาไทย-กัมพูชา
การจดเวทีประชุมสรางความเข้าใจร่วมกันระหว่างทีมวิจยและที่ปรึกษาไทยและกมพูชา เดิมทีกําหนด จัดประชุมร่วมกันที่ประเทศไทย 1 ครั้ง กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย นักวิจัยและที่ปรึกษาประเทศไทย จํานวน 29 คน นักวิจัยและท่ีปรึกษาประเทศกัมพูชา จํานวน 5 คน เพ่ือชี้แจงทําความเข้าใจร่วมโครงการวิจัยในพ้ืนที่ แต่ไม่สามารถดําเนินการจัดประชุมได้ เนื่องจากประเทศกัมพูชาอยู่ในช่วงการเลือกตั้งท้องถ่ินทั่วประเทศ ทีม วิจัยจึงจัดกระบวนการ โดยจัดประชุมในประเทศไทย 1 คร้ัง เป็นการประชุมเพื่อทําความเข้าใจเกี่ยวกับ งานวิจัยร่วมกับนายอําเภอและเจ้าหน้าที่ส่วนราชการอําเภอกาบเชิง จัดประชุมที่ประเทศกัมพูชา 1 ครั้ง เป็น การประชุมชี้แจงทําความเข้าใจและกําหนดแนวทางการประสานความร่วมมือในการศึกษาวิจัยในพื้นที่ โดย ประชุมร่วมกับนายอําเภอและส่วนราชการอําเภอกรุงสําโรง
วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 จัดประชุมร่วมกับนายอําเภอกาบเชิงและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง แต่ นายอําเภอติดภารกิจเร่งด่วนท่ีจังหวัด จึงมอบหมายให้ ว่าท่ีรอยตรีสกุล แสนมั่น ปลดฝ่ายบริหารงานปกครอง และนายอัศวิน พรหมมา ปลัดฝ่ายป้องกันฯ ประชุมร่วมกับคณะวิจัยแทน โดยมีผู้เข้าร่วมจํานวน 9 คน ได้แก่ นกวิจัยไทย 5 คน ทีมพี่เล้ียงศูนย์ประสานงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่น 1 คน ผู้นําชุมชน 1 คน และส่วนราชการ 2 คน วัตถุประสงค์เพ่ือชี้แจงรายละเอียดการโครงการวิจัยและประสานงานเก่ียวกับการออกหนังสือลงนามโดย นายอําเภอกาบเชิงถึงนายอําเภอกรุงสําโรง เพ่ือแจ้งและนัดหมายการประชุมร่วมกับนายอําเภอกรุงสําโรงกับ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องท่ีประเทศกัมพูชา ในวันท่ี 30-31 พฤษภาคม 2560 ณ ที่ว่าการอําเภอกรุงสําโรง เพ่ือ ชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับโครงการวิจัย การวางแผนปฏิบัติการและรับฟังข้อเสนอแนะในการทํางานร่วมกัน ระหว่างนกวิจัยไทยและกัมพูชา
ผลการประชุมร่วมกับทางส่วนราชการ พบว่า ท่ีผ่านมา ทางอําเภอกาบเชิงมีการจัดกิจกรรมสาน ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาหลายประการ เช่น กีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ ณ ประเทศไทย ประเภทวอลเล่ย์บอล ฟุตซอล เปตอง งานแห่เทียนพรรษา หรือการออกร้านจําหน่ายสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ที่กรุง สําโรง เป็นต้น อีกทั้ง ส่วนราชการอําเภอกาบเชิงได้รับทราบรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัย และอํานวย ความสะดวกในการออกหนังสืออย่างเป็นทางการแจ้งทางนายอําเภอกรุงสําโรงเกี่ยวกับการขอนัดประชุมเพื่อ
ช จงโครงการวิจัย ในวันที่ 30-31 พฤษภาคม 2560
วันที่ 30-31 พฤษภาคม 2560. ช่วงเช้าวันที่ 30 พ.ค. ประชุมทีมวิจัยไทย-กัมพูชาที่วัดปราสาทสําโรง
มีผู้เข้าร่วม จํานวน 11 คน คือ นักวิจัยไทย 3 คน นักวิจัยกัมพูชา 6 คน ล่ามจากประเทศไทย 1 คน และล่าม จากประเทศกัมพูชา 1 คน เพื่อทําความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ เป้าหมายการทําวิจัย จากนั้นช่วงบ่าย ประชุมร่วมกับส่วนราชการอําเภอกรุงสําโรง มีผู้เข้าร่วม จํานวน 23 คน ได้แก่ ทีมวิจัยไทย 3 คน ทีมวิจัย กัมพูชา 6 คน ล่ามจากประเทศไทย 1 คน และล่ามจากประเทศกัมพูชา 1 คน นายอําเภอกรุงสําโรงและส่วน ราชการ จํานวน 12 คน กรอบประเด็นเนื้อหาเป็นการปรึกษาหารือเกี่ยวกับการประสานงานความร่วมมือการ ทําวิจัยในพืนที่อําเภอกรุงสําโรง
เจ้าอธิการพิเชษฐ์ พิเชษโฐ หัวหน้าโครงการวิจัย ได้เล่าความเป็นมา วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยให้ ทางนายอําเภอและเจ้าหน้าที่ส่วนราชการกรุงสําโรงได้รับทราบ พร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก นายอําเภอและเจ้าหน้าท่ี ผลการประชุม นายอําเภอและเจ้าหน้าที่ส่วนราชการเห็นชอบเกี่ยวกับโครงการ ศึกษาวิจัย โดยเฉพาะทางด้านขนบธรรมเนียมประเพณี (บุญกฐิน) แต่ขั้นตอนการประสานเสนอให้ทีมวิจัยไทย ประสานงานตั้งแต่ระดับจังหวัด ไล่เรียงลงมายังระดับอําเภอและหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านศาสนาและ พิธีกรรมโดยตรง เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เก่ียวข้องทราบโดยทั่วกันและยังเป็นการสร้างความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับบุญกฐินให้แก่คนรุ่นหลังหรือคนรุ่นใหม่ได้รับรู้ด้วย พรอมทั้งให้จัดทํารายละเอียดเก่ียวกับเนื้อหา วิธีการ ขั้นตอนการดําเนินงานและแผนปฏิบัติการให้ชัดเจนว่าจะดําเนินการเร่ืองอะไร ช่วงเวลาไหนบ้าง
รวมท้ังให้มีการจัดทําเอกสารรายงานความก้าวหน้าและรายงานผลการวิจัย เพ่ือเป็นหลักฐานและเป็นสิ่งที่ เชื่อมสัมพันธ์อันดีของกัมพูชา-ไทย ทั้งน้ีให้จัดการเรื่องการประสานและทําความเข้าใจระหว่างท้ังสองฝ่าย (ไทย-กัมพูชา) ให้ชัดเจนก่อนดําเนินการ ทั้งในเร่ืองการประชุมและการเก็บข้อมูล โดยที่ประชุมได้รับข้อเสนอ เพ่ือไปดําเนินการต่อไป
31 พฤษภาคม 2560 ภาคเช้าทีมวิจัยไทย-กัมพูชา ประชุมร่วมกับพระครูบุญสาลวด เจ้าคณะจังหวัด อุดรมีชัย ผู้มีบทบาทสําคัญในการทํางานพัฒนาและอนุรักษ์ป่าซ็องโรกกะเวือนในจังหวัดอุดรมีชัย จํานวน 18,261 เฮกตาร์ หรือ 113,218.2 ไร่ เพื่อชีแจงเก่ียวกับโครงการวิจยและวางแผนการทํางานร่วมกัน ผู้เข้าร่วม ฝ่ายประเทศไทย ประกอบด้วย นักวิจัยไทย 5 คน ที่ปรึกษา 1 คน ผู้อาวุโส /ผู้รู้ 4 คน พี่เลี้ยง 1 คน ฝ่าย กัมพูชา พระสงฆ์ 2 คน นักวิจัย 3 คน และนักวิชาการ 1 คน รวมทั้งหมด 20 คน ผลการพูดคุย 1) ทุกฝ่ายมี ความเข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยท่ีจะดําเนินการร่วมกัน ทั้งเป้าหมาย วัตถุประสงค์และวิธีการดําเนินงาน 2) ได้ แนวทางการศึกษาสํารวจและจัดเก็บข้อมูลชุมชน 3) การรับรู้เร่ืองงานบุญประเพณีที่คล้ายคลึงกันของทั้ง ประเทศ ภาคบ่าย ทีมวิจัยฝ่ายไทยและกัมพูชา ได้ลงสํารวจพื้นท่ีชุมชนบ้านเบ๊าะสเบา กรุงสําโรง ตามคําบอก กล่าวของเจ้าหน้าท่ีอําเภอกรุงสําโรงว่าเป็นหมู่บ้านเก่าแก่ท่ียังคงดํารงและสืบทอดวัฒนธรรมด้ังเดิม เป็นชุมชน ที่มีความเข้มแข็งด้านวัฒนธรรม ซึ่งทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ได้เข้ามาศึกษาและแลกเปล่ียนเรียนรู้เชิง วัฒนธรรม
บทเรียนการประสานงานกับทางหน่วยงานราชการ (ประเทศไทยและประเทศกัมพูชา) มีความเข้มงวด เร่ืองสายงานบังคับบัญชาอย่างมาก ต้องดําเนินงานตามขั้นตอน ทําให้การดําเนินงานของโครงการเกิดความ ล่าช้า เพราะต้องรอหนังสือรับรองและสุดท้ายทางจังหวัดไม่รับรองให้กับทางทีมวิจัย อย่างไรก็ดี ส่วนหนึ่งทีม วิจัยได้ปรับความคิดและกระบวนการทํางานท่ีเชื่อว่า “การทํางานในประเทศกัมพูชาให้สะดวกราบรื่นนั้น จะต้องเชื่อมประสานงานราชการ” แต่ในทางปฏิบัติไม่เป็นไปตามที่คิดไว้ แม้ว่า ทางนายอําเภอกรุงสําโรงจะ พร้อมและยินดีให้ความร่วมมือ แต่ก็ต้องประสานงานผ่านทางจังหวัด ทีมวิจัยจึงปรับกระบวนการทํางาน โดย ใช้พระสงฆ์และวัดเป็นฐานในการทํางานและเชื่อมประสาน
2) ประชุมชีแจงและสร้างความเข้าใจร่วมในพืนท่ีประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ประชุมในประเทศไทย
25 เมษายน 2560 ประชุมทีมช้ีแจงและสร้างความเข้าใจร่วมในพื้นที่ประเทศไทยกับผู้นําชุมชนท้ัง ทางการและไม่เป็นทางการ ณ วัดทับทิมนิมิต ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ เพื่อชี้แจงทําความเข้าใจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายโครงการและการดําเนินงานร่วมกัน มีทีมวิจัย ผู้นําและแกนนําชุมชน เข้าร่วมประชุม จํานวน 35 คน ประกอบด้วย ผู้นําชุมชน 4 คน ผู้รู้ 5 คน ที่ปรึกษา 1 คน ชาวบ้าน 18 คน และทีมวิจัย 7 คน วิธีการดําเนินงาน หัวหน้าโครงการ เจ้าอธิการพิเชษฐ์ ได้ทําการติดต่อประสานงานกับตัวแทนชุมชนและ ชาวบ้าน เพื่อให้มาร่วมกิจกรรมในวันเวลาดังกล่าว ในช่วงการจัดประชุม หัวหน้าโครงการได้บอกเล่าเกี่ยวกับ ที่มาที่ไปของโครงการ วัตถุประสงค์ และผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากนั้นได้ให้ผู้เข้าร่วมได้แลกเปลี่ยน ซักถาม และเสนอความคิดเห็นต่องานวิจัย ผลการประชุม ตัวแทนชุมชนได้รับรู้และเห็นชอบร่วมกันในการจัดทําวิจัย โดยการใช้งานบุญเป็นส่ือในการสร้างความเข้าใจร่วมกันของท้ังสองประเทศ รวมทั้งการพิจารณาคัดเลือก นักวิจัยเข้าร่วมอบรมการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย เรื่องการออกแบบเครื่องมือ ในวันที่ 4-5 พฤษภาคม 2560 ณ ศูนย์ฝึกอบรมเนท มีเจ้าอธิการพิเชษฐ เกลียวเพียร นางสาวละไมย์ คําใบ นางพรสุดา อาจหาญ นางพร สงวน สมศรี และนางสาวณัฐกานต์ สิทธิสงข์ เข้าร่วมอบรมในครั้งนี้
ประชุมในประเทศกมพูชา
3 พฤษภาคม 2560 ประชุมทีมชแี จงและสร้างความเข้าใจเก่ียวกับโครงการวิจัยกบผู้นําชุมชนปราชญ์ ชาวบ้านและพระสงฆ์ ณ วัดปราสาทสําโรง อําเภอกรุงโรง จ.อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา มีผู้เข้าร่วมประชุม จํานวน 32 คน ประกอบด้วย ฝ่ายไทย (นักวิจัยไทย) จํานวน 4 คน ฝ่ายกัมพูชา (นักวิจัย) จํานวน 4 คน พระสงฆ์ 4 รูป ผู้รู้และชาวบ้าน 16 คน วิธีการดําเนินงาน เจ้าอธิการพิเชษฐ์ ได้ติดต่อประสานงานกับรองเจ้า อาวาส (เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย) วัดปราสาทราชาสําโรง เพื่อให้ช่วยประสานงานกับนักวิจัย ผู้รู้ และชาวบ้านในพื้นที่เป้าหมาย เพ่ือเข้าร่วมประชุมรับฟังคําช้ีแจงและทําความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมา วัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการวิจัย จากนั้นจัดประชุมเพื่อชี้แจงทําความเข้าใจ พร้อมทั้งเปิดอภิปราย แลกเปลี่ยน ในประเด็นการใช้บุญกฐินเช่ือมความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา ซึ่งพบว่า ในอดีตมีการดําเนินการ เกี่ยวกับเรื่องน้ีมาแล้ว หากมีการนําใช้งานบุญประเพณี โดยเฉพาะบุญกฐินเช่ือมประสานน่าจะเป็นส่วนสําคัญ ที่ทําให้เกิดความสัมพันธ์ดีต่อกัน จากนั้นได้คัดเลือกนักวิจัยเข้าร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยเรื่องการ ออกแบบเคร่ืองมือ ในวนที่ 4-5 พฤษภาคม 2560 ณ ศูนย์ฝึกอบรม มูลนิธิพัฒนาอีสาน จ.สุรินทร์ ประเทศไทย โดยมีนายชอยสมแอด นายรึดสุวรรณ นายกิมิ นางสาวบินโกนงา จากนั้นได้แจ้งการเดินทางของนักวิจัย กัมพูชา เนื่องจากการเดินทางในกัมพูชาใช้ระบบการจ้างเหมารถเท่าน้ัน หากต่างคนต่างมาจะทําให้ค่าใช้จ่าย สูง ดังนั้นจึงขอความร่วมมือให้นักวิจัยเดินทางมาพร้อมกันท่ีด่านช่องจอมเพื่อเดินทางพร้อมกับนักวิจัยไทย ปัญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน 1) การสื่อสารทางภาษา คําศัพท์ทางวิชาการบางคําไม่สามารถทําความ เข้าใจได้ 2) เวลาว่างไม่ตรงกัน เน่ืองจากทีมวิจัยกัมพูชา ส่วนใหญ่เป็นเจ้าหน้าที่รัฐ ที่รู้จักกันเป็นการส่วนตัว และไดช้ ักชวนมาทํางานวิจยร่วมกัน แต่เนืองด้วยมีปัญหาดานการประสานงาน หน่วยงานภาครัฐ(ประเทศไทย) ไม่สามารถรับรองนักวิจัยไทยได้ จึงทําให้ไม่สามารถเชื่อมประสานและหนุนเสริมการทําร่วมกันในฐานะ หน่วยงานองค์กรในพื้นท่ีตามวันเวลาทํางานปกติได้ ทางแก้ไขได้ประสานงานกับล่ามและนักวิชาการทั้งทาง ฝ่ายไทยและกัมพูชาให้มาช่วยในการแปลภาษา ซ่ึงทําให้มีความเข้าใจและคล่องตัวมากขึ้นในการสื่อสร้างการ เรียนรู้ร่วมกัน ในแง่ของช่วงเวลา ได้กําหนดใช้ช่วงวันเสาร์ อาทิตย์ในการจัดกิจกรรมในพื้นที่ประเทศกัมพูชา
3) กรอบความคิดและความเข้าใจเรื่องงานวิจยั ทีมวิจัยกัมพูชาไม่เคยเรยนรูเรื่องงานวิจยเพ่ือท้องถ่ิน จึงไม่ค่อย
เข้าใจกระบวนการทํางานที่เน้นการสร้างการมีส่วนร่วมและการเรียนร ่วมกันของทุกภาคสวน่ การแสดงความ
คิดเห็นจึงมีค่อนข้างจํากัด อีกทั้งติดขัดเรื่องการเชื่อมประสานหน่วยงานราชการในประเทศกัมพูชา จึงทําให้ โอกาสการมีส่วนร่วมลดน้อยลง
3) ประชุมออกแบบเครื่องมือการเก็บข้อมูลในพื้นที่
หลังจากทีมวิจัยไทย-กัมพูชาได้เข้าอบรมพัฒนาศักยภาพการออกแบบเครื่องมือ ในวันที่ 4-5 พฤษภาคม 2560 ซึ่งจัดโดยศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถ่ินจังหวัดสุรินทร์ มีนักวิจัย/ที่ปรึกษา ฝ่ายไทย จํานวน 4 คนและฝ่ายกัมพูชา จํานวน 3 คน ผลจากการอบรมทีมวิจัยได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแตกรอบประเด็น เนื้อหาและเครื่องมือการเก็บข้อมูล พร้อมทั้งจัดทําตารางการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่ อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วย ขอจํากัดเรื่องเวลาและการสือสารด้านภาษา กรณีนักวิจัยกัมพูชา ทําให้ไม่สามารถแตกกรอบประเด็นเนื้อหาได้ ครบทุกประเด็น แม้ว่าจะให้ล่ามมาช่วยดําเนินการแต่เนื่องด้วยมีศัพท์เฉพาะบางคําที่ล่ามไม่สามารถแปลเป็น
ภาษากัมพูชาได้ จึงเป็นปัญหาระหว่างการจัดระดมความคิดและหาข้อสรุปร่วมกัน จากปัญหาดังกล่าว ทีมวิจัย จึงได้จัดประชุมเพื่อดําเนินการต่อเนื่องเพิ่มเติมอีก 2 ครง้ั ดังนี้
23 พฤษภาคม 2560 ประชุมทีมวิจัยไทย-กัมพูชา ณ วดทับทิมนิมิต ผูเข้าร่วม ประกอบดวย ฝ่ายไทย นักวิจัย 7 คน ที่ปรึกษา 1 คน ผู้รู้และผู้นําชุมชน 8 คน ฝ่ายกัมพูชา นักวิจัย 5 คน รวมจํานวน 21 คน วัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนและตรวจสอบเคร่ืองมือการจัดเก็บข้อมูลว่า ครบสมบูรณ์แล้วหรือไม่ อย่างไร ที่ ประชุมได้เสนอแนะเพ่ิมเติมประเด็นในส่วนบริบทชุมชน สถานการณ์ไทย-กัมพูชา คือ ตําบลด่าน กรุงสําโรงมี พ้ืนที่ และอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ไหนบ้าง ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าอําเภอ จังหวัดกี่กิโลเมตร ส่วนประเด็นระบบ เครือญาติ อําเภอกาบเชิงมีวัฒนธรรมประเพณีอะไรในรอบ 12 เดือน มีวิธีการทําอย่างไร มีคุณค่าอย่างไร (จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม) มีความสัมพันธ์เชิงการค้าเป็นเป็นอย่างไร เริ่ม มีมาตั้งแต่เมื่อไหร่ ความสัมพันธ์ด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมเป็นอย่างไร มีข้อดีข้อจํากัดอย่างไร ส่วนประเด็นผู้นําและ ปราชญ์ชุมชน มีผู้รู้ในชุมชนมีหรือไม่ เป็นใครบ้าง แต่ละคนมีภูมิความรู้และเชี่ยวชาญในเรื่องอะไร และจัดทํา แบบสัมภาษณ์เป็น 2 ชุด คือ ชุดสัมภาษณ์ผู้รู้ ผู้นําชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน พระสงฆ์ และหน่วยงานราชการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง จากนั้น มอบหมายให้ทีมวิจัยออกแบบเคร่ืองมือจัดเก็บข้อมูล (แบบสัมภาษณ์) เพ่ือ นําเสนอในเวทีประชุมครั้งต่อไป
8 มิถุนายน 2560 ประชุมทีมวิจัยฝ่ายไทย จํานวน 7 คน ประกอบด้วย ทีมวิจัย 5 คน พ่ีเลี้ยง 2 คน ณ วัดทับทิมนิมิต ต.ด่าน อ.กาบเชิง วัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาแบบสัมภาษณ์ที่ได้มอบหมายให้กับทางทีมวิจัย ได้ออกแบบและมานําเสนอ ผลที่ประชุมได้เสนอแนะให้เพิ่มเติมในส่วนคําชี้แจงให้ชัดเจน รวมทั้งการแบ่ง บทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบ เช่น บทบาทการประสานงาน การเขียนรายงาน การเงินบัญชี การบันทึก ข้อมูลและการบริหารจัดการโครงการ เป็นต้น ผลจากการประชุมทําให้นักวิจัยทราบประเด็นการจัดเก็บข้อมูล เข้าใจบทบาทของตนเอง รวมทงั ได้สะท้อนประเด็นการส่ือสารระหว่างทีมงานผ่านกลุ่มสื่อออนไลน์ยังมีน้อยอยู่ หากมีการสื่อสารความเคลื่อนไหวการทํางานเป็นระยะจะทําใหการเกิดพลงในการทํางานร่วมกันมากย่ิงขึ้น
กรอบประเด็นสมภาษณ์ผู้นําชุมชน /ผูทรงคุณวุฒิ / ปราชญ์ชาวบ้าน/พระสงฆ์
ส่วนที่ 1 บริบทชุมชน
1. ที่ต /อาณาเขต
1.1 ที่ตั้ง
- ชุมชนตงั อยู่ท่ีไหน
- มีระยะห่างจากอําเภอกี่กิโลเมตร
- มีระยะห่างจากจังหวัดกิโลเมตร
1.2 อาณาเขตติดต่อ
- มีอาณาเขตติดต่อพื้นที่ไหนบ้าง
- มีเนื้อที่ทงั หมดกี่ตารางกิโลเมตร หรือกี่ไร่
2. ความเป็นมาและพฒนาการของชุมชน
2.1 ประวัติศาสตร์ชุมชน
- สภาพของชุมชนในอดีตเป็นอย่างไร
- คนในชุมชนโยกย้ายถ่ินฐานเข้ามาอยู่เมื่อปีไหน
- อพยพโยกย้ายมาจากที่ไหนบาง
- ทําไมจึงอพยพโยกย้ายเข้ามาตง้ ถิ่นฐานอยู่บริเวณนี้
- ครอบครัวที่อพยพเข้าอาศยอยู่ช่วงแรก มีก่ีครอบครัว
- มีครอบครัวไหนบ้าง หวหนาครอบครัวชื่อ-นามสกุลอะไรบ้าง
- สภาพความเป็นอยู่และการดํารงชีวิตเป็นอย่างไร
- มีปัญหาหรือไม่ อย่างไร
- ทางราชการประกาศจัดตังเป็นหมู่บานอย่างเป็นทางการเมื่อปีพ.ศ. อะไร
- ใครเป็นผใู หญ่บ้านคนแรก
- สภาพของชุมชนในปัจจุบนเป็นอย่างไร(การตงั บานเรอน / ชีวิตความเป็นอยู่ / สภาพพ
- ทางราชการยกสถานะเป็นตําบลเม่ือปีไหน มีหมู่บ้านในเขตการปกครองก่ีหมู่บ้าน
- ใครเป็นกํานันคนแรก
- ปัจจุบันเป็นใคร
- มีหมู่บานในเขตการปกครองกี่หมู่บาน
- มีจํานวนครัวเรือนกี่ครัวเรือน
- มีประชากรกี่คน ชายก่ีคน หญิงกี่คน
3. ด้านเศรษฐกิจ
สภาพเศรษฐกิจในอดีต
- ในอดีตคนในชุมชนมีวิถีการดําเนินชีวิตและทํามาหากินอย่างไร
- รายได้หลักมาจากไหน มีรายได้เฉล่ียปีละเท่าไหร่
- พืชเศรษฐกิจหลักคืออะไร
- มีรายจ่ายทางดานไหนบาง เฉล่ียปีละเท่าไหร่
ท่ี)
- มีหนสินหรือไม
- (ถามี) หนีส
ินเร่ืองอะไร จํานวนหน
ินเท่าไหร่ (โดยเฉลี่ยต่อครัวเรือน)
- ชุมชนมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจอะไรบ้าง
- ชุมชนมีวิธีการในการแก ัญหาเศรษฐกิจอย่างไร
- ผลการแกป้ ัญหาเป็นอย่างไร
- มีหน่วยงาน/องค์กรใดบางที่เขามาเกี่ยวข้อง / ช่วยเหลือ ผลเป็นอย่างไร
สภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน
- ปัจจุบันคนในชุมชนมีวิถีการดําเนินชีวิตและประกอบอาชีพอะไร
- ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงด้านการประกอบอาชีพ (ใหม่) ตง้ แต่ปีไหน เพราะอะไร
- รายได้หลักมาจากไหนบ้าง (ภาคเกษตร/นอกภาคเกษตร) เฉลี่ยครัวเรือนละเท่าไหร่
- รายจ่ายของครัวเรือนมีด้านใดบาง (ค่าเล่าเรียนลูก ภาษีสังคม อุปโภค บริโภค ค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย) เฉลี่ยครัวเรือนละเท่าไหร่
- คนในชุมชนมีหนี้สินอะไรบ้าง เฉลี่ยต่อครัวเรือนเท่าไหร่
- มูลเหตุของการเป็นหนี้ เพราะเหตุใด
- แหล่งเงินกู้มีท่ีไหนบ้าง อัตราดอกเบยี เท่าไร
- คุณภาพชีวิตในอดีต-ปัจจุบันแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร เพราะเหตุใด
4. ระบบเครือญาติ
- ความสมพันธ์ของคนในชุมชนตง้ แต่อดีตถึงปัจจุบันเป็นลักษณะอย่างไร
- รูปแบบและระบบความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ มีความเกี่ยวของและเช่ือมโยงกันอย่างไร
(จัดทําผงเครือญาติ)
5. ดานวัฒนธรรม
- ชุมชนมีความเชื่อในเร่ืองของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอย่างไร
- ขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒนธรรมของชุมชนในรอบ 1 ปีมีอะไรบ้าง
ขนบธรรมเนียม ประเพณี / วฒนธรรมชุมชน | ความเช่ือ / ความสําคญั | วิธีการ /ขนั ตอน การปฏิบัติ | ผลต่อชุมชน | คุณค่า |
6. ผู้นําชุมชน / ผ ู้ / ปราชญ์ชาวบาน
- ผู้นําชุมชน (ทางการ) ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันมีใครบ้าง
อย่างไร
- ผู
ู/้ ปราชญ์ชาวบ้าน (ปัจจุบัน) มีใครบาง มีความรู้และเชี่ยวชาญในเร่ืองอะไร สถานภาพปัจจุบันเป็น
ผู้รู้ / ปราชญ์ชาวบ้าน | ความรู้/ความเชี่ยวชาญ | สถานภาพปัจจุบัน |
7. กลุ่ม /องค์กร
- ชุมชนมีกลุ่มองค์กรใดบ้าง
- แต่ละกลุ่มองค์กรก่อตงั เม่ือปีไหน
- ใครเป็นผูร้ ิเร่ิมและก่อตั้ง
- มีวัตถุประสงค์ในการจดตั้งเพื่ออะไร
- ประธานคนแรกช่ืออะไร และปัจจุบันชื่ออะไร
- มีสมาชิกในช่วงเริ่มต้นเท่าไหร่และสมาชิกปัจจุบันจํานวนเท่าไหร
- การดําเนินงานในปัจจุบันเป็นอย่างไร (กิจกรรม, กองทุน,ฯลฯ)
- ความสําเร็จท่ีภาคภูมิใจมีเรื่องอะไรบ้าง
- บทเรียนสําคญในการดําเนินการมีอะไรบ้าง
8. ดานการศึกษา
- การศึกษาของชุมชนในอดีตเป็นอย่างไร (รูปแบบ/วิธีการ)
- แหล่งศึกษาเรียนรู้ของคนในชุมชนมีที่ไหนบ้าง
- ปัจจุบันรูปแบบและวิธีการศึกษาของชุมชนเป็นอย่างไร มีกี่รูปแบบ
- แหล่งเรียนรู้ / สถานท่ีศึกษามีที่ไหนบาง
- ระดับการศึกษาของคนในชุมชนเป็นอย่างไร
9. ด้านสาธารณสุข
- ในอดีตระบบสุขภาพของชุมชนอย่างไร
- ปัจจุบันระบบสุขภาพชุมชนเป็นอย่างไร
- สถานที่ให้บริการด้านสุขภาพมีท่ีไหนบ้าง
- ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับระบบสุขภาพชุมชนมีอะไรบ้าง (สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม)
10. ด้านสาธารณูปโภค
- ด้านสาธารณูปโภคในอดีตเป็นอย่างไร
- ชุมชนมีการพัฒนาด้านสาธารณูปโภค (ถนน ไฟฟ้า ประปา ฯลฯ) ในช่วงปีไหน
- ปัจจุบันดานสาธารณูปโภคของชุมชนมีอะไรบ้าง
11. ทรพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
- ชุมชนมีทรัพยากรธรรมชาติที่สําคญอะไรบ้าง (ดิน นา้ํ ป่าไม้)
- จํานวน ขนาดพื้นท่ีของทรัพยากรธรรมชาติแต่ละประเภทเป็นอย่างไร
- มีการใช้ประโยชน์ทรพยากรธรรมชาติอย่างไรบ้าง (ที่ดิน น้ํา ป่าไม้)
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อมมีหรือไม่ อย่างไร (ดิน นา้ํ
ส่วนที่ 2 ความสัมพนธ์ระหว่างไทย-กัมพูชา
ป่าไม้)
1. ความสมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ (สัมภาษณ์ผู
ําชุมชน/ผ
ู้/ปราชญ์ชาวบ้าน)
- ลกษณะความสมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชาในอดีตเป็นอย่างไร
- ความสมพันธ์ทางสังคม(เครือญาติ)
- ความสมพนธ์ทางเศรษฐกิจ(การค้า)
- ความสมพันธ์ทางวัฒนธรรมประเพณี
- ปัจจุบันรูปแบบความสัมพนธ์ไทย-กัมพูชาเป็นอย่างไร (ทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม)
- มีข้อดี ข้อจํากัดอย่างไร
2. ความสมพันธ์แบบทางการ (สัมภาษณ์หน่วยงานภาครัฐ)
- ลักษณะความสัมพนธ์ระหว่างไทย-กมพูชาท่ีผ่านมาเป็นอย่างไร
- ปัจจุบันรูปแบบความสัมพันธ์เป็นอย่างไร
- กิจกรรมหลกๆในการเช่ือมความสัมพนธ์มีอะไรบ้าง เป้าหมาย/วัตถุประสงค์เพื่ออะไร มีรูปแบบและ วิธีการดําเนินงานอย่างไร มีหน่วยงานไหนบ้างท่ีเก่ียวข้อง ผลลัพธ์ท่ีเกิดขึนเป็นอะไร (สงคม เศรษฐกิจ
วฒนธรรม)
- มีปัจจัยสําคญที่เกี่ยวของกบการสร้างความสัมพันธไทย-กัมพูชาอะไรบ้าง
ส่วนที่ 3 บุญกฐิน
1. ความเป็นมาของบุญกฐิน
- บุญกฐินมีความเป็นมาอย่างไร
- ในอดีตรูปแบบการทําบุญกฐินทําอย่างไร
2. ความเชื่อ
- ชุมชนมีความเช่ือเร่ืองบุญกฐินอย่างไร
3. ประเภทของบุญกฐิน
- บุญกฐินมีกี่ประเภท
- แต่ละประเภทมีความเป็นมาอย่างไร (ความเป็นมา/ความเชื่อของบุญกฐินแต่ละประเภท)
- มีรูปแบบ/วิธีการปฏิบัติอย่างไร
4. คุณค่าของบุญกฐิน
-บุญกฐินมีคุณค่าต่อชุมชนอย่างไร (ด้านสังคม เศรษฐกิจ วฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ)
กรอบประเด็นสมภาษณ์หน่วยงานราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่วนที่ 1 การสร้างความสมพันธ์ไทย-กัมพูชา
- หน่วยงานที่มีบทบาทในการสร้างความสมพนธ์ไทย-กัมพูชามีหน่วยงานในบาง
- แต่ละหน่วยงานมีบทบาทสําคัญอย่างไร
- การสรางความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาที่ผ่านมามีลักษณะใด
- มีกิจกรรมเช่ือมความสัมพนธ์อะไรบ้าง
กิจกรรมอะไร | วัตถุประสงค์ | วิธีการ/ข้นตอนดําเนินการ | ผลท่ีเกิดขึ้นเป็นอย่างไร |
- กิจกรรมที่ทางหน่วยงานไทยไปร่วมที่ประเทศกัมพูชา มีอะไรบ้าง
ส่วนที่ 2 ปัจจยหนุนเสริมและปัญหาอุปสรรคต่อการสร้างความสัมพนธ์ไทย-กัมพูชา
- ปัจจัยหนุนเสริมท่ีส่งผลต่อการสร้างความสมพันธ์มีอะไรบาง
- ปัญหาอุปสรรคต่อการสร้างความสัมพันธ์ไทย-กมพูชาที่ผ่านมามีอะไรบ้าง
- มีวิธีการแก้ไขปัญหาอุปสรรคอย่างไร
ส่วนท่ี 3 ผลที่เกิดขนึ จากการสรางความสมพันธ์ท่ีผ่านมา
3.1 ด้านสังคมและวัฒนธรรม
3.2 ด้านวัฒนธรรม
3.3 ด้านเศรษฐกิจ
บทเรียนการออกแบบเคร่ืองมือการเก็บข้อมูล เป็นการสร้างการเรียนร ่วมกนระหวางที่ั มวจิ ัยกับทีมพ่ี
เลี้ยงและที่ปรึกษา แต่ด้วยข้อจํากัดด้านการสื่อสารทางภาษาระหว่างนักวิจัยไทยกับนักวิจัยกัมพูชา จึงทําให้ เกิดความล่าช้า เพราะต้องใช้เวลาสร้างความเข้าใจในการออกแบบเคร่ืองมือร่วมกัน อย่างไรก็ดี ผลที่เกิดข้ึน คือ เกิดความสัมพันธ์ที่ดีแบบพี่น้องของนักวิจัยทั้งสองประเทศ
ตารางที่ 2 ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล
ประเด็นหลกั | ข้อมูลที่ต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บขอมูล | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
1.บริบท ชุมชน / สถานการณ์ ไทย-กัมพูชา | 1.1 ดานสงคม 1) ที่ต้ัง /อาณาเขต | เอกสารทางราชการ | แบบสัมภาษณ์ | การสืบค้นขอมูล จากเอกสาร | อําเภอกาบเชิงและกรุงสําโรงมีที่ตั้งและ อาณาเขตเป็นอย่างไร? | ทีมวิจยไทย/กมพูชา |
2) ความเป็นมา | -เอกสารทางราชการ -ผู้นําชุมชน / ปราชญ์ ชาวบาน | แบบสมภาษณ์ | -การสืบคนขอมูล จากเอกสาร -ประชุมกลุ่มย่อน ผนู้ ําชุมชน/ปราชญ์ ชาวบ้าน | -ชมชนอําเภอกาบเชิงและกรุงสําโรงมี ความเป็นมาอย่างไร? | ทมวิจัยไทย/กมพูชา | |
3) ระบบเครือญาติ | ผูน้ ําชุมชน /ผูอาวุโส / ปราชญ์ชาวบาน | ประชุมกลุ่มย่อย | -ประชุมกลม่ ย่อน ผนู้ ําชุมชน/ปราชญ์ ชาวบ้าน | -ในอําเภอกาบเชิงมีระบบเครือญาตเป็น อย่างไร? ลกษณะความสมพนธ์เช่ือมโยง กันอย่างไร -อําเภอกาบเชิงมีวัฒนธรรมประเพณีอะไร ในรอบ 12 เดือน มีวิธีการทําอย่างไร? มี คุณค่าอย่างไร (จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมอย่างไร) -มีความสัมพนธ์เชิงการค้าเป็นเป็นอย่างไร เริ่ม มีมาตง้ แต่เมื่อไหร่? -ความสัมพันธ์ด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมเป็นอย่างไร มีข้อดีขอจํากดั | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลกั | ข้อมูลที่ต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
อย่างไร? | ||||||
4) ผูน้ ํา/ปราชญ์ | เอกสารแผนพฒนา ชุมชนตําบล | -การสืบคนขอมูล จากเอกสาร | ชุมชนมีปราชญ์ชุมชนดานใดบาง จํานวนก่ี คน | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | ||
5) กลุ่มองค์กร | เอกสารแผนพฒนา ชุมชนตําบล | -การสบคนขอมูล จากเอกสาร | ชุมชนมีกล่มองค์กรด้านใดบาง ทํางาน ประเด็นใด | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | ||
6) การศึกษา | เอกสารแผนพฒนา ชุมชนตําบล | -การสืบค้นข้อมูล จากเอกสาร | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | |||
7) สุขภาพ | เอกสารายงานผลการ ดําเนินงาน รพ.สต. ด่าน | -การสืบคนขอมูล จากเอกสาร | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | |||
8) สาธารณูปโภค | เอกสารแผนพฒนา ชุมชนตําบล | -การสืบคนขอมูล จากเอกสาร | ทีมวิจยไทย/กมพูชา | |||
1.2 ด้านเศรษฐกิจ 1) อาชีพ | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลม่ ย่อย | -อาชีพในชุมชนมีอะไรบาง -ภาคเกษตรกรรมมีอะไรบ้าง -นอกภาคเกษตรมีอะไรบ้าง | ทีมวิจยไทย/กมพูชา | |
รายได้ | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุมย่อย | -มีรายได้จากภาคเกษตรที่เกิดจากการ ปลูกพืชผักผลไมและเลียงสตว์ ปีละ เท่าไหร่ | ทีมวิจยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลกั | ข้อมูลที่ต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ข้อมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผรู้ ับผิดชอบ |
-มีรายได้นอกภาคเกษตรท่ีเกิดจากการค้า ขาย จักสาน ทอผ้า รับจ้างทั้งในและนอก พื้นที่ปีละเท่าไหร่ | ||||||
รายจ่าย | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชมกลุ่มย่อย | -มีรายจ่ายจากการลงทนภาคการเกษตร ดานการเลยี งสตว์และปลูกพืชผักผลไม้เป็น อย่างไร -มีรายจ่ายครัวเรือนดานใดบาง (ค่าเล่า เรียนลูก ภาษีสงคม อุปโภค บริโภค ค่าใชจ้ ่ายฟุ่มเฟือย) | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | |
หนี้สิน | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกล่มย่อย | -มีหนี้สินอะไรบาง -แหล่งกยู้ ืม จากที่ไหน? | ทีมวิจยไทย/กมพูชา | |
1.3 วัฒนธรรม ประเพณี 1) ความเช่ือ | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกล่มย่อย | -ชุมชนมีวฒนธรรมประเพณีในรอบ 12 เดือนอะไรบ้าง เกี่ยวของกบวิถีชีวิต อย่างไร /เกี่ยวของกบการกินอยู่อย่างไร / เกี่ยวข้องกับการแต่งกายอย่างไร / เก่ียวข้องกับวิถีการผลิต อย่างไร และ เกี่ยวของกับสุขภาพอย่างไร? | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | |
2) ประเพณี | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุมย่อย | -ชุมชนมีวัฒนธรรมประเพณีในรอบ 12 เดือนเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตอย่างไร (การกิน | ทีมวิจยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลกั | ข้อมูลที่ต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
อยู่ การแต่งกายอย่างไร) /เกี่ยวข้องกับวิถี การผลิต /สุขภาพอย่างไร? -วัฒนธรรมประเพณีท่ัวไปมีอะไรบ้าง -วัฒนธรรมประเพณีเฉพาะมีอะไรบ้าง | ||||||
3) วฒนธรรม | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -ชุมชนมีวฒนธรรมในรอบ 12 เดือน อะไรบ้าง เกี่ยวข้องกบวิถีชีวิตการกินอยู่ การแต่งกาย วิถีการผลิต และสุขภาพอย่างไร? -ประเพณีทั่วไปมีอะไรบ้าง -ประเพณีเฉพาะมีอะไรบ้าง -วัฒนธรรมด้านภาษาเป็นอย่างไร | ||
4) ภูมิปัญญา | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบาน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุมย่อย | -มีภูมิปัญญาด้านงานชางอะไรบ้าง -มีภูมิปัญญาด้านงานจกสานอะไร -มีภูมิปัญญาดานสมุนไพรอะไรบาง | ทีมวิจยไทย/กมพูชา | |
5) ดนตรีชาวบ้าน | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ชาวบ้าน | -แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -ในชุมชนมีดนตรีพื้นบานอะไรบ้าง -ดนตรีท่ีใชในบุญกฐินมีอะไรบาง | ทีมวิจยไทย/กมพูชา | |
2. รูปแบบ ความสัมพนธ์ | 2.1 ทางการ 2.1.1 แบบรฐต่อรัฐ | -นายอําเภอกาบเชิง และกรุงสําโรง -ด่านตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) | แบบสมภาษณ์ | การสมภาษณ์ | -รูปแบบความสัมพันธ์อดีต-ปัจจุบันเป็น อย่างไร -มีกิจกรรมอะไรบาง -รูปแบบเป็นอย่างไร | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลัก | ข้อมูลที่ต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เคร่ืองมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
-เริ่มทําตั้งแต่ปีไหน? มีใครมาร่วม -ผลเป็นอย่างไร -มีปัญหาอุปสรรคและข้อจํากดอะไร | ||||||
2.2 ไม่เป็นทางการ | ||||||
2.2.1 เครือญาติ 2.2.2 เกลอ/เพ่ือน 2.2.3 งานบุญร่วมกนั 2.2.4 คาขายร่วมกัน | ผนู้ ําชมชน / ผูอาวุโส/ ปราชญ์ชาวบาน | แบบสมภาษณ์ | การประชุมกลุ่ม ย่อย | ทีมวิจยไทย/กมพูชา | ||
3.ปัจจัย สนบสนุน / อุปสรรคต่อ ความสมพนธ์ ของคนใน ชุมชน ชายแดนไทย- กัมพูชา | -นโยบายชายแดนทง้ั 2 ประเทศ -ชาติพันธุ์เดียวกนั -ศาสนา ภาษาและ วฒนธรรมเดียวกนั | ผู้นําชุมชน / ผูอาวุโส/ ปราชญ์ชาวบาน | แบบสัมภาษณ์ | การประชุมกลุ่ม ย่อย | ทีมวิจยไทย/กมพูชา | |
4.บุญกฐิน | 4.1 ความเป็นมาของ บุญกฐิน | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผนู้ ําชุมชน -นกวิชากากร -ชาวบ้าน | แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -บุญกฐินมีความเป็นมาอย่างไร -บุญกฐินเกิดข้ึนครงั แรกเม่ือไหร่ -บุญกฐินในไทย-กมพูชา มีมาตั้งแต่ เมื่อไหร่ -ทําไมถึงทําบุญกฐิน | ทีมวิจยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลกั | ข้อมูลที่ตองเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
-บุญกฐินมีความสําคัญอย่างไร -ทํากี่วัน /วันไหน? -ต้องเตรียมการอย่างไร -สถานที่ตงั องคกฐินอยู่ท่ีไหน? | ||||||
4.2 ความเชื่อ/ความ ศรทธา -ความเช่ือทางศาสนา -ความเชื่อในเร่ืองการ ดําเนินชีวิต -ความเช่ือของบรรพ บุรุษ -ความเชื่อในเร่ือง อาหารและทรพยากร | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผู้นําชุมชน -นักวิชากากร -ชาวบ้าน | แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -ทําบุญกฐินแลวไดอะไร /เกิดอะไรขึ้น -ทําบุญกฐินแลวตนเองและครอบครวจะมี ความสุขอย่างไร -ถาไม่ทําบุญกฐินแล้วจะเกิดอะไรข้ึน -การแต่งกายในบุญกฐินท่ีเหมาะสมเป็น อย่างไร? -มีความเช่ืออย่างไรในการทําบุญกฐิน ถ้า ทําแบบส่วนตวเป็นอย่างไรและส่วนรวม เป็นอย่างไร แตกต่างกันอย่างไร -คนส่วนใหญ่คิดว่าการทําบุญกฐินเป็นงาน บุญที่ย่ิงใหญ่ ได้บุญมากเพราะเหตุใด -บุญกฐินเป็นการทําต่อๆกันมาหรือไม่ อย่างไร? -เหตุใดถึงทําบุญกฐินไดป้ ีละครง้ั -เหตุใดวัดสามารถรบกฐนไดเพียง 1 คร้งั ต่อปี | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | |
4.3 ประเภทบุญกฐิน | -พระสงฆ์ | แบบสมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -บุญกฐินมีกี่ประเภท | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลัก | ข้อมูลท่ีต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ข้อมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
-ปราชญ์ -ผูน้ ําชุมชน -นกวิชากากร -ชาวบาน | -แต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร -ทําอย่างไร -ใครเป็นคนทํา -ทําแล้วได้อะไร -ทําไปเพื่ออะไร | |||||
4.3.1 กฐินราษฎร์ | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผู้นําชุมชน -นกวิชากากร -ชาวบ้าน | แบบสมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | กฐนราษฎร์มีความเป็นมาอย่างไร? -จุลกฐิน กฐินสามัคคี กฐินโจร กฐินส่วน บุคคลคืออะไร? -มีลักษณะอย่างไร? -ทําอย่างไร -แตกต่างจากกฐินประเภทอื่นอย่างไร? -ใครเป็นคนทํา -ทําแลวได้อะไร -ทําไปเพ่ืออะไร -รูปแบบกฐินเป็นอย่างไร? -องค์ประกอบกฐินมีอะไรบ้าง? -มีกระบวนการทําอย่างไร -มีวิธีการและกระบวนการทําอย่างไร | ทมวิจยไทย/กมพูชา | |
1) จุลกฐิน | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผนู้ ําชุมชน | แบบสมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -จุลกฐนมีความเป็นมาอย่างไร? -จุลกฐินคืออะไร -จุลกฐินมีลกษณะอย่างไร? | ทีมวิจยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลัก | ข้อมูลที่ตองเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผรู้ ับผิดชอบ |
-นักวิชากากร -ชาวบ้าน | -จุลกฐินทําอย่างไร -จุลกฐินแตกต่างจากกฐินประเภทอื่น อย่างไร? -ใครเป็นคนทําจุลกฐิน -ทําจุลกฐินไปเพื่ออะไร แล้วได้อะไร -รูปแบบกฐินเป็นอย่างไร? -องค์ประกอบกฐินมีอะไรบ้าง? -มีกระบวนการทําอย่างไร -คุณค่าของการทําจุลกฐินเป็นอย่างไร | |||||
2) กฐินสามคคี | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผู้นําชุมชน -นกวิชากากร -ชาวบ้าน | แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -กฐินสามัคคีมีความเป็นมาอย่างไร? -กฐินสามัคคีคืออะไร -กฐินสามัคคีมีลักษณะอย่างไร? -กฐินสามคคีทําอย่างไร -กฐินสามัคคีแตกต่างจากกฐินประเภทอ่ืน อย่างไร? -ใครเป็นคนทํากฐินสามัคคี -ทํากฐินสามัคคีไปเพ่ืออะไร แล้วได้อะไร -รูปแบบกฐินสามคคีเป็นอย่างไร? -องค์ประกอบกฐินสามัคคีมีอะไรบ้าง? -มีกระบวนการทําอย่างไร -คุณค่าของการทํากฐินสามคคีเป็นอย่างไร | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลกั | ข้อมูลที่ต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
3) กฐินโจร | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผูน้ ําชุมชน -นักวิชากากร -ชาวบ้าน | แบบสมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -กฐินโจรมีความเป็นมาอย่างไร? -กฐินโจรคืออะไร -กฐินโจรมีลกษณะอย่างไร? -กฐินโจรทําอย่างไร -กฐินโจรแตกต่างจากกฐินประเภทอ่ืน อย่างไร? -ใครเป็นคนทํากฐินโจร -ทํากฐินโจรไปเพื่ออะไร แล้วได้อะไร -รูปแบบกฐินโจรเป็นอย่างไร? -องค์ประกอบกฐินโจรมีอะไรบ้าง? -มีกระบวนการทําอย่างไร -คุณค่าของการทํากฐินโจรเป็นอย่างไร | ||
4) กฐินส่วนบุคคล | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผู้นําชุมชน -นกวิชากากร -ชาวบ้าน | แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -กฐินส่วนบุคคลมีความเป็นมาอย่างไร? -กฐินส่วนบุคคลคืออะไร -กฐินส่วนบุคคลมีลักษณะอย่างไร? -กฐินส่วนบุคคลทําอย่างไร -กฐินส่วนบุคคลแตกต่างจากกฐินประเภท อื่นอย่างไร? -ใครเป็นคนทํากฐินส่วนบุคคล -ทํากฐินส่วนบุคคลไปเพ่ืออะไร แลวได้ อะไร | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลัก | ข้อมูลที่ตองเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ขอมูล | วิธีการเก็บข้อมลู | ประเด็นคําถาม | ผู้รับผิดชอบ |
-รูปแบบกฐินส่วนบุคคลเป็นอย่างไร? -องค์ประกอบกฐินส่วนบุคคลมีอะไรบ้าง? -มีกระบวนการทําอย่างไร -คุณค่าของการทํากฐินส่วนบุคคลเป็น อย่างไร | ||||||
4.3.2 กฐินหลวง | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผนู้ ําชุมชน -นักวิชากากร -ชาวบาน | แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -กฐินหลวงมีความเป็นมาอย่างไร -กฐินหลวงคืออะไร? -กฐินหลวงมีลกษณะอย่างไร? -องค์ประกอบกฐินหลวงมีอะไรบาง? -กฐินหลวงแตกต่างจากกฐินประเภทอื่น อย่างไร? -ใครเป็นคนทํากฐินหลวง -กฐินหลวงทําไปเพื่ออะไร ทําแล้วไดอะไร -รูปแบบกฐินหลวงเป็นอย่างไร? -มีกระบวนการทําอย่างไร | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา | |
4.4 คุณค่าของบุญ กฐิน 4.4.1 คุณค่าทาง จิตใจ | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผนู้ ําชุมชน -นักวิชากากร -ชาวบาน | แบบสมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | -ทํากฐินแล้วรูส้ ึกอย่างไร -คุณค่าของกฐินคืออะไร -สาเหตุที่ทําใหคนออกมาร่วมทําบุญกฐิน คืออะไร -ทําบุญกฐินแลวจะไดข้ ึนสวรรค์จริงหรือไม่ อย่างไร? | ทีมวิจยไทย/กมพูชา |
ประเด็นหลัก | ข้อมูลที่ต้องเก็บ | แหล่งข้อมูล | เครื่องมือการเก็บ ข้อมูล | วิธีการเก็บข้อมูล | ประเด็นคําถาม | ผูร้ บผิดชอบ |
4.4.2 ภูมิปัญญา/ ความศรทธา | -พระสงฆ์ -ปราชญ์ -ผู้นําชุมชน -นักวิชากากร -ชาวบาน | แบบสัมภาษณ์ | -ประชุมกลุ่มย่อย | ทําบุญกฐินแลวรู้สึกอิ่มอกอิ่มใจเป็นเพราะ เหตุใด | ทีมวิจัยไทย/กมพูชา |
4) การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่ประเทศไทย
การศึกษาข้อมูลมือสอง
คณะวิจัยไทย จํานวน 5 คน ได
ําการศึกษาข้อมูลสองในส่วนบริบทชุมชน แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่างๆ คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเกษตรถาวร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตําบลด่าน องค์การบริหารส่วนตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ มหา
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาล และวัดปราสาทสําโรง กรุงสําโรง เป็นตน้ ทําให้ทราบข้อมูลเก่ียวกบเรองบ่ื ุญประเพณี
บุญกฐิน บริบทสังคม ทุนทางสังคม ความเปล่ียนแปลงและความมั่นคงชายแดน เป็นตน้
การจัดเวทีเรียนรู้กลุ่มย่อย 5 กลุ่ม
19 มิถุนายน 2560 ประชุมกลุ่มย่อยจัดเก็บข้อมูล มีผู้เข้าร่วม จํานวน 60 คน ประกอบด้วย ผู้รู้ 6
คน ผู้นําชุมชนทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 4 คน ครู 1 คน นักวิจัย 5 คน (พระ 1 รูป,ฆราวาส 3 ) และชาวบ้านบ้านด่าน (ม.1,12,14,18) 44 คน สถานที่ ณ ศาลาวัดบ้านด่าน ตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัด สุรินทร์ วัตถุประสงค์ เพ่ือจัดเก็บข้อมูลในพื้นท่ีและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นบริบทชุมชน ทุนทางสังคม ปัญหาและศักยภาพพื้นท่ีอําเภอกาบเชิง และความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมไทย-กัมพูชา ต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน วิธีการดําเนินงาน หัวหน้าโครงการวิจัย ติดต่อประสานงานผู้นําชุมชน เพื่อให้ช่วยประสานผู้รู้ แกนนําและ ชาวบ้าน เข้าร่วมเวทีเพื่อจัดเก็บข้อมูล ในการดําเนินการจัดเก็บข้อมูล เข้าอธิการพิเชษฐ พิเชษฐโฐ ได้พูดคุย การชี้แจงทําความเข้าใจกับผู้นําชุมชน ผู้รู้และชาวบ้าน ว่าวันนี้มาทําอะไร มีเป้าหมาย วัตถุประสงค์อะไร พร้อมทั้งบอกเล่าเกี่ยวกับความเป็นมา เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย จากนั้นแบ่งกลุ่มย่อยตาม ประเด็นเนื้อหา 1) ด้านสังคม ซึ่งเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ชุมชนและเหตุการณ์การเปล่ียนแปลงที่สําคัญ ผู้ ร่วมวงให้ข้อมูลจะเป็นผู้นําชุมชน ทั้งอดีตและปัจจุบัน ด้านบุญประเพณีและวัฒนธรรม จะเป็นกลุ่มผู้รู้ที่เป็นผู้ ประกอบกิจกรรมทางศาสนาและชาวบ้าน ทางด้านเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่จะเป็นวงชาวบ้าน ท้ังนี้ในแต่ละกลุ่ม จะให้ชาวบ้านที่เข้าร่วมได้มีส่วนร่วมเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มด้วย โดยมีนักวิจัยเป็นวิทยากรกระบวนการเพื่อระดม ความคิดในแต่ละกลุ่มย่อย
ผลที่เกิดขึ้น ทีมวิจัยและผู้เข้าร่วมได้ข้อมูลและเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานของ ชุมชนตําบลด่าน พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ซ่ึงประกอบด้วย เหตุการณ์สําคัญที่เกิดข้ึนใน ชุมชน การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี เช่น บุญประเพณีในชุมชน (ความเช่ือ ขั้นตอนพิธีกรรม สภาพการจัดกิจกรรมในปัจจุบัน) ปราชญ์ท้องถ่ินแต่ละด้าน การจัดกิจกรรมคร้ังน้ี ผู้อาวุโสที่ เป็นคนเก่าแก่ของชุมชนมีความกระตือรือร้นในการให้ข้อมูลอย่างมาก
ก่อนปิดการประชุม เจ้าอธิการพิเชษฐ์ พิเชษโฐ หัวหน้าโครงการวิจัยได้นัดหมายการเก็บข้อมูลเชิงลึก เพิ่มเติม โดยปรับกระบวนการเป็นการใช้วิธีสัมภาษณ์รายบุคคลตามบ้าน เนื่องจากผู้รู้บางท่านอายุมาก การ เดินทางไม่ค่อยสะดวก จึงไม่ได้เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้
บทเรียนการจัดเก็บข้อมูล คนในชุมชนได้ทบทวนเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนผ่านทางผู้รู้และผู้อาวุโส โดยกระบวนการบอกเล่าและแลกเปลี่ยนซักถาม ทําให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างรุ่นและนําไปสู่ความตระหนักใน คุณค่าของบุญประเพณีที่มีต่อวิถีการดําเนินชีวิตของคนในชุมชน
การจดเวทีประมวลสรุปและวิเคราะห อมูลเบองต้ื ้น
22 กรกฎาคม 2560 จัดเวทีประมวลสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ณ วัดทับทิมนิมิต มีผู้เข้าร่วม จํานวน 16 คน ประกอบด้วย ทีมวิจัยฝ่ายไทย 6 คน ทีมวิจัยฝ่ายกัมพูชา 5 คน ผู้นําชุมชนและผู้รู้ 5 คน เป็น การประชุมเพื่อประมวลและวิเคราะห์ขอมูลเบอื งต้น พร้อมทงั วางแผนจัดเก็บข้อมูลเพ่ิมเติมในส่วนอื่นๆท่ียังไม่ สมบูรณ์
วิธีการ หัวหน้าโครงการวิจัย นําเสนอข้อมูลที่ได้จัดเก็บ ประกอบด้วย ประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐาน ของชุมชนตําบลด่าน พัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของชุมชน ซึ่งประกอบด้วย เหตุการณ์สําคัญที่เกิดขึ้นใน ชุมชน การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี เช่น บุญประเพณีในชุมชน (ความเชื่อ ข้ันตอนพิธีกรรม สภาพการจัดกิจกรรมในปัจจุบัน) ปราชญ์ท้องถิ่นแต่ละด้าน พร้อมท้ังให้ที่ประชุมได้เสนอ เพิ่มเติมในส่วนของข้อมูลที่ขาดความสมบูรณ์ อีกทั้งได้แลกเปล่ียนกระบวนการทํางานร่วมกันระหว่างทีมวิจัย ฝ่ายไทยและกัมพูชา ผลที่ได้จากการประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล ทําให้ทีมวิจัยมีความเข้าใจและเห็นภาพการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมชุมชนชายแดนอย่างชัดเจน โดยเฉพาะเหตุปัจจัยภายนอก เช่น ผลกระทบจากสงคราม และความไม่สงบภายในของประเทศเพื่อนบ้านบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ของชุมชนด้ังเดิม รวมถึงนโยบายการพัฒนาและการเปิดประตูการค้า ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วต่อชุมชนชายแดน ทั้งด้านบวก เช่น การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเติบโตของเมือง และ
ผลกระทบเรื่องขยะ การจดการทรัพยากร และความม คงในชวติี เป็นตน้
บทเรียนการทํางานร่วมกัน มีความสัมพันธ์และรู้สึกที่ดีต่อกันทั้งระหว่างนักวิจัยด้วยกันเองและผู้ให้ ข้อมูล การเข้าใจบริบทชายแดนเพิ่มมากขึ้นในเชิงการเปลี่ยนแปลงทางด้านการค้าและความสัมพันธ์ที่ส่งผล กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชน
เก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่ประเทศกัมพูชา
การจัดเวทีประชุมกลุ่มย่อยผู้นําและชาวบ้าน
22 –24 สิงหาคม 2560 จัดเวทีประชุมกลุ่มย่อยผู้นํา ชาวบ้านและนักวิชาการกัมพูชา ณ วัดปราสาท ราชาสําโรงและในพื้นที่ชุมชนกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา มีผู้เข้าร่วม 20 คน ฝ่าย กัมพูชา ได้แก่ นักวิจัย 4 พระ 1 รูป แกนนําชุมชน 10 คนและที่ปรึกษา 1 รูป(พระครูสาลวด) และฝ่ายไทย ได้แก่ นักวิจัย 3 คน ล่ามแปลภาษา 1 คน วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเรียนรู้บริบท ปัญหาและศักยภาพชุมชน รูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และรูปแบบบุญ กฐินไทย-กัมพูชา วิธีการดําเนินงาน เจ้าอธิการพิเชษฐ์ พิเชษโฐ หัวหน้าโครงการวิจัย ประสานงานกับทางทีม วิจัยกัมพูชาและเลขานุการเจ้าคณะจังหวัด เพื่อแจ้งเร่ืองการจัดประชุมและนัดหมายผู้ที่เกี่ยวข้องมาร่วมให้ ข้อมูลและแลกเปล่ียนเรียนรู้ วันแรก เป็นการเตรียมความพร้อมทีมวิจัย โดยทําความเข้าใจเกี่ยวกับแบบ สัมภาษณ์ และประมวลเฉพาะหัวข้อหลักสําคัญ ได้แก่ ประวัติศาสตร์ชุมชน การเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี เช่น บุญประเพณีในชุมชน (ความเชื่อ ขั้นตอนพิธีกรรม สภาพการจัด กิจกรรมในปัจจุบัน) พร้อมทั้งให้ทีวิจัยแปลเป็นภาษากัมพูชา เพื่อให้ง่ายในการส่ือสาร รวมถึงการกําหนดตัวผู้ ดําเนินรายงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แก่ พระทูปูรั๊วะ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย และรึดสุวรรณ วันท่ี สอง-สาม จัดเวทีประชุม ผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลชาวกัมพูชา จะเป็นพระสงฆ์ ครู ผู้อาวุโสในชุมชน ซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับบริบทชุมชน และงานบุญประเพณี โดยเฉพาะในส่วนของรูปแบบบุญกฐินและ ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา วิธีการเป็นระดมความคิดและพูดคุยแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มใหญ่ เนื่อง
ดวยจะต้องใช ่ามชวยแปลภาษา่ จึงตองใชเวท้้ ีกลมใหญุ่ ่จะได้รับรู้และเข้าใจร่วมกนทง้ ฝ่ายไทย-กัมพชาู ในการ
นี้ รึดสุวรรณ ทีมวิจัยกัมพูชา จะเป็นวิทยากรดําเนินรายการ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย เป็นผู้เขียน ขึนกระดาน พร้อมกับทีมวิจยกัมพูชา
ผลที่ได้รับจากการทํากิจกรรม ทําให้ทราบข้อมูลเก่ียวกับบริบทชุมชน ความสัมพันธ์เครือญาติของ ประชาชนในอดีต และเร่ืองประเพณีวัฒนธรรมท้องถ่ิน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของชุมชนสําโรง ที่เกิดจาก สงครามภายในประเทศ ถือว่ามีผลกระทบโดยตรง แม้ว่าสงครามสงบลงแล้วแต่ผลพวงจากสงครามยังประทับ ในความทรงจํา ประเพณีวัฒนธรรม วิถีชีวิต หลังสงครามเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชัด ผู้ให้ข้อมูลมีความ กระตือรือร้นและเหลือผู้รู้จํานวนน้อย แต่มีการสอบทานข้อมูลกันเองเบ้ืองต้นในขณะดําเนินกิจกรรม รูปแบบ กฐินในอดีตที่ขาดช่วงมาช่วงหนึ่งจากสงครามทําให้รูปแบบด้ังเดิมบางส่วนขาดหายไป ยังเหลืออยู่บ้างที่ยังสืบ ต่อจนถึงปัจจุบัน แต่ความศรัทธาในพระพุทธศาสนายังเหนียวแน่นเช่นเดิม
การจัดเวทีประชุมกลุ่มย่อยหน่วยงานราชการและนักวิชาการ
26 กันยายน 2560 ทางหัวหน้าทีมวิจัยประสานงานกับผู้ประสานงานในประเทศกัมพูชา ซ่ึงเป็น พระสงฆ์ เพื่อประสานงานกับทางหน่วยงานราชการและนักวิชาการในการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้เกี่ยวกับ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกัมพูชากับไทยในส่วนที่เป็นบทบาทของหน่วยงานรัฐ แต่เนื่องจากประสบปัญหา อุปสรรคสําคัญ คือ 1.การประสานงานเกี่ยวกับดําเนินโครงการวิจัยท่ีประเทศกัมพูชา ทางหน่วยงานราชการ กรุงสําโรง จงหวัดอุดรมีชัย ต้องการหนังสือรับรองนักวิจัยไทยอย่างเป็นทางการจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ แจ้งถึงผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรมีชัย แต่การดําเนินการติดขัดเรื่องการแต่งตั้ง เนื่องจากทีมวิจัยไม่ใช่บุคคลากร ของภาครัฐ ตัวแทนรัฐโดยผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ ไม่สามารถออกหนังสือรับรองให้ได้ ผลจากการรอ หนังสือรับรอง ทําให้งานวิจัยไม่สามารถดําเนินการตามแผนท่ีวางไว้ได้ ทีมวิจัยจึงปรับเปล่ียนกระบวนการ ทํางาน โดยการอิงสถาบันทางศาสนาแทน อาศัยวัดปราสาทราชาสําโรงเป็นฐานสําคัญในการจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้และรวบรวมข้อมูลต่างๆ มีพระสงฆ์ที่เป็นเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย เป็นผู้ ประสานงานเชิญชวนผู้นํา แกนนําชุมชนและทีมวิจัยกมพูชาเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เร่ืองบุญกฐิน อีก ประการหนึ่ง ทีมวิจัยและที่ปรึกษากัมพูชาส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าส่วนราชการและผู้นําชุมชน จึงมีข้อจํากัดเรื่อง เวลาและเป็นช่วงจังหวะการโยกย้ายตําแหน่งตามวาระ ทําให้การเข้าร่วมกิจกรรมขาดความต่อเนื่อง กอปรกับ ไม่มีหนังสือรับรองจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ จึงไม่กล้าเข้ามาร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ เพราะเกรงกลัวถูก ตําหนิ
จากสถานการณ์ปัญหาข้างต้น ทีมวิจัยจึงจัดปรับกิจกรรมเป็นการพูดคุยกับผู้นําและผู้อาวุโส โดยจัด กิจกรรม ณ วัดปราสาทราชาสําโรง กรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย มีผู้เข้าร่วมทั้งไทย กัมพูชา จํานวน 20 คน ผล การแลกเปล่ียนได้ข้อสรุปร่วมกันว่าแม้ว่าเหตุการณ์ดูเหมือนจะย่ําแย่ แต่ก็สามารถปรับกระบวนการ โดยอาศัย สถาบันสงฆ์เป็นแกนหลักในการประสานงาน เพื่อให้การดําเนินงานวิจัยมีความต่อเนื่องและสะดวกมากยิ่งขึ้น และหน่วยงานราชการกัมพูชามีทศคติที่ดีขึ้น
บทเรียนการดําเนินงาน สถาบันศาสนาและพระสงฆ์ เป็นสถาบันที่ทุกฝ่ายให้ความเคารพนับถือและ ศรัทธา ไม่ว่าจะเป็นฝั่งประเทศไทยหรือประเทศกัมพูชา การยึดสถาบันศาสนาเป็นแกนกลางในการเชื่อม ประสานช่วยลดแรงเสียดทานและปัญหาในการดําเนินงาน ทําให้การศึกษาวิจัยขับเคลื่อนงานไปได้ ทุกฝ่าย ยอมรับ ทั้งชุมชนและหน่วยงานราชการ
5) การวิเคราะห์ข้อมูล
การจัดเวทีเรียนรูและวิเคราะห์ข้อมูล
24 –25 กันยายน 2560 จัดเวทีเรียนรู้และวิเคราะห์ข้อมูล ณ วัดปราสาทราชาสําโรง กรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา มีผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบด้วย ฝ่ายไทย 12 คน ได้แก่ ที่ปรึกษา 1 คน ผู้รู้ 4 คน นักวิจัย 6 คนและล่ามแปลภาษา 1 คน ฝ่ายกัมพูชา 30 คน ได้แก่ นักวิจัย 5 คน ผู้รู้ / แกนนํา ชุมชน / ชาวบ้าน 25 คน วัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของ ผู้รู้ แกนนําชุมชน ชาวบ้าน หน่วยงานรัฐและนักวิชาการระหว่างไทย-กัมพูชา เพื่อวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมท่ีเอื้อต่อ การสร้างสังคมอยู่ดีมีสุขผลที่ได้รับจากการทํากิจกรรม วิธีการดําเนินงาน หัวหน้าโครงการวิจัยประสานงานกับ ทางเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย เพื่อนัดหมายการจัดเวทีเรียนรู้พร้อมทั้งนัดปรึกษาหารือเตรียมการกับ ทางทีมวิจัยกัมพูชาและผู้รู้ เพื่อทําความเข้าใจเน้ือหาและกําหนดรูปแบบวิธีการระดมความคิดร่วมกัน การจัด เวทีแลกเปลี่ยนใช้รูปแบบกลุ่มใหญ่เพื่อให้ง่ายในการสื่อสารและทําคาวามเข้าใจ อีกทั้งจะไดร้ ับรู้ข้อมูลไปพร้อม
กัน ประเด็นนําเสนอและวิเคราะห์ร่วมกัน คือ 1) ความเป็นไปไดในการนําใช ุญกฐินสานสรางความสัมพนธท่์ั ีดี
ไทย-กัมพูชา และควรเลือกใช้รูปแบบไหน จึงจะเหมาะสมและเป็นจริงในทางปฏิบัติ โดยการนําข้อมูลเกี่ยวกับ ความเป็นมา ความคิด ความเชื่อ รูปแบบ วิธีการประกอบพิธีกรรมของทั้งฝ่ายไทยและกัมพูชา มานําเสนอและ แลกเปล่ียน เพื่อหาแนวปฏิบัติการร่วมกัน การแลกเปลี่ยนวันแรกค่อนข้างมีข้อจํากัด เน่ืองด้วยนักวิจัยกัมพูชา ยังไม่ค่อยเข้าใจแนวคิดและประเด็นเนื้อหาเกี่ยวกับรูปแบบการจัดแต่ละประการ เช่น แบบจุลกฐิน กฐิน สามัคคี เป็นต้น ซึ่งแต่ละประการมีความแตกต่างกัน (รูปแบบที่ประเทศกัมพูชานิยมและเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ คือ บุญกฐินท่ีมีเจ้าภาพหลัก) จึงต้องใช้เวลาค่อนข้างมากในการอธิบาย ตีความและสร้างความเข้าใจ ทําให้การ ซักถามแลกเปลี่ยนจํากัดอยู่ในวงแคบๆ ซึ่งภายหลังได้จัดปรับมาเป็นการพูดคุยแลกเปลี่ยนเฉพาะเจาะจงใน
กลุ่มพระสงฆ์และผ
ู้ เพ่ือใหได้ข้อมูลรายละเอียดและแนวทางปฏิบ
ิที่ชดเจนมากขึ้น อีกส่วนหนึ่งข้อมูลมือสอง
ของกัมพูชา ซึ่งส่วนใหญ่จะเขียนด้วยภาษากัมพูชา ทีมวิจัยไทยไม่สามารถอ่านทําความเข้าใจได้ 2) ผลการจัด บุญกฐินจะช่วยเสริมสร้างความสมพนธ์ท่ีดีไทย-กัมพูชาอย่างไร ซึ่งเป็นประเด็นสําคัญของการศึกษาวิจัยครั้งน้ี
ผลท่ีเกิดขึ้น ผู้เข้าร่วมเวทีประชุม มีความเข้าใจในแนวคิดและเห็นพ้องกันว่า “บุญ” เป็นเคร่ืองมือท่ีดี ในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม บุญกฐินเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจ เพราะทั้งไทยและกัมพูชามีการจัดทําบุญ ประเพณีลักษณะน้ีในช่วงเดียวกัน จึงมีความเหมาะสม และประการสําคัญ การทําบุญประเพณีจําต้องอาศัย ความร่วมมือและความพร้อมเพรียงของคนในชุมชนจึงจะเกิดงานบุญขึ้น ภายใต้ความร่วมมือนี้ ผลก็คือ การ ปฏิสัมพันธ์ของคนทุกเพศ ทุกวัย ทง้ ในและนอกชุมชนน่ันเอง โดยทุกคนมีเป้าหมายร่วม คือ การมาเอาบุญ
จากการวิเคราะห์ร่วมกัน รูปแบบการจัดงานบุญกฐินท่ีทางประเทศไทยจะจัด คือ จุลกฐิน ซึ่งเป็น รูปแบบกฐินท่ีสร้างการมีส่วนร่วมของคน ตั้งแต่การเย็บผ้ากฐิน จนกระทั่ง การทอดผ้ากฐิน นับเป็นการสร้าง การปฏิสัมพันธ์ที่ดี เกิดเนื้อนาบุญร่วมกันโดยไม่แบ่งเพศ วัย ชนชั้น วรรณะ นอกจากน้ี ก็จะนําเร่ืองภูมิปัญญา ท้องถ่ินเข้ามาผสมผสานเพื่อให้เห็นภาพของวิถีดั้งเดิมของชุมชน ทางประเทศกัมพูชาน้ัน จะดําเนินการในรูป ของกฐินสามัคคี เพราะชาวกัมพูชายังคงยึดในแนวปฏิบัติแบบดั้งเดิม คือ จะต้องมีเจ้าภาพกฐิน และได้ตกลง กําหนดวันจัดงานบุญกฐินที่วัดป่าทับทิม ตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ในวันที่ 8 ตุลาคม 2560 เพื่อเป็นแนวทางการเรียนรู้สู่ภาคปฏิบัติจริง ในการนําข้อมูลชุดความรู้เร่ืองบุญกฐินมาปรับใช้ในสถานการณ์ จริง ซ่ึงคาดหวังว่า บุญจะเป็นตัวนําพาให้เกิดมิตรภาพที่ดีของพี่น้องทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะการใช้รูปแบบ
จุลกฐินมาทดลองปฏิบัติ การได้พบก ปฏบตกิัิ ิจกรรมร่วมกัน จะชวยใหเก้่ ิดความสัมพนธท์ั ี่ดไดหร้ี ือไม่ อย่างไร
6) การปฏิบัติการ
การประชุมทีมวิจัย
29 กันยายน 2560 จัดประชุมทีมวิจัย ณ ศูนย์ทับทิมนิมิต ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ มีผู้เข้าร่วม จํานวน 10 คน ประกอบด้วย ทีมวิจัยไทย 5 คน กัมพูชา 2 คน (เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย/รึด สุวรรณ) และแกนนําชุมชน 3 คน วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและวางแผนปฏิบัติการรูปแบบ
ความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมท่ีเอื้อต่อการสร้างสงคมอย่ ีมีสุขดวยบุญกฐินไทย-กัมพชาู
ผล ทีมวิจัยได้กําหนดวันและรูปแบบการจัดบุญกฐิน ณ วัดทับทิมนิมิต ในวันท่ี 8 ตุลาคม 2560 รูปแบบบุญกฐิน เป็นลกษณะจุลกฐิน โดยมีกิจกรรมต่างๆดังนี้ 1) การเย็บผ้ากฐิน 2) การจัดแสดงและสาธิตภูมิ ปัญญาท้องถิ่น เช่น ดานอาหารพื้นบาน การแสดงศิลปวัฒนธรรม เรื่องพลงงานทางเลือก ได้แก่ เตาหุงต้ม การ เผาถ่านไม้แบบถัง 200 ลิตร โซล่าเซลล์ เป็นต้น จากนั้นแบ่งบทบาทภารกิจทีมงานในการติดต่อประสานงาน และรับผิดชอบแต่ละกิจกรรม พร้อมทั้งนัดประชุมเตรียมการอีกครั้งในวันท่ี 2 ตุลาคม 2560
การประชุมผ
ี่เกี่ยวข้องในพ
ที่ประเทศกัมพูชา
30 กันยายน 2560 จัดประชุมผู้ที่เก่ียวข้อง ณ วัดปราสาทราชาสําโรง อ.กรุงสําโรง จ.อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา มีผู้เข้าร่วม 30 คน ประกอบด้วย ฝ่ายไทย ได้แก่ นักวิจัย 3 คน ผู้รู้ 3 คน ท่ีปรึกษา 1 คน ฝ่ายกัมพูชา ได้แก่ นักวิจัย 3 คน ครู 1 คน ผู้รู้และชาวบ้าน 19 คน วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและ วางแผนปฏิบัติการรูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมที่เอ้ือต่อการสร้างสังคมอยู่ดีมีสุขด้วยบุญกฐินไทย- กัมพูชา วิธีการทางเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย ได้ประสานงานทีมวิจัย ผู้รู้และชาวบ้านในพื้นที่ให้มา ประชุมระดมความคิดเตรียมความพร้อมและวางแนวปฏิบัติในการจัดงานบุญกฐิน ทั้งในส่วนของประเทศไทย และกมพูชา
ผลที่เกิดขึ้น ที่ประชุมมีข้อสรุปร่วมกันดังน้ี การจัดบุญกฐินในประเทศไทย วันที่ 8 ตุลาคม 2560 ให้ ทางกัมพูชา 1) การบอกบุญเชิญชวนพุทธศาสนิกชน มอบหมายให้ทางผู้นําและผู้อาวุโสเป็นผู้บอกบุญตามคุ้ม วัดและเตรียมรถเพื่อเดินทาง 2) การรวบรวมรายชื่อและจัดทําเอกสารข้ามแดน มอบหมายภารกิจให้พระโท ทูรั๊ว เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัย 3) การจัดกิจกรรมต่างๆ ทางฝ่ังไทยจะเป็นผู้เตรียมการ ชาวกัมพูชา
เป็นผู้เขาร่วมบุญ ร่วมเรียนร ละทํากิจกรรมตางๆ่
ในส่วนการจัดบุญกฐินท่ีประเทศกัมพูชา วันท่ี 10 ตุลาคม 256 นั้น เน่ืองจากกัมพูชายังยึดธรรมเนียม ที่เคยปฏิบัติสืบทอดกันมา ทางผู้อาวุโสรับที่จะไปปรึกษาหารือกับทางเจ้าภาพอีกครั้งหนึ่งว่าทางฝั่งไทยจะร่วม ขบวนบุญกฐินอย่างไร
2 ตุลาคม 2560 จัดประชุมปรึกษาและวางแผนการจัดบุญกฐิน ณ วัดทับทิมนิมิต ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ มีผู้เขาร่วมจํานวน 30 คน ประกอบด้วย ตัวแทนชุมชน ต.ด่าน 25 คน และนักวิจัย 5 คน เจ้าอธิการ พิเชษฐ์ พิเชษโฐ ได้นําเสนอรูปแบบการจัดงาน ดังนี้ 1) การเย็บผ้ากฐิน โดยจะให้พ่ีน้องทั้งไทย-กัมพูชา ได้ ช่วยกันเย็บผ้ากฐิน ซ่ึงเป็นกิจกรรมสําคัญ เป็นการสร้างความสามัคคีปรองดองและความรู้สึกที่ดีในการทํา กิจกรรมร่วมกัน 2) การจัดแสดงและสาธิตภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ด้านอาหารพื้นบ้าน การแสดง ศิลปวัฒนธรรม เรื่องพลังงานทางเลือก ได้แก่ เตาหุงต้ม การเผาถ่านไม้แบบถัง 200 ลิตร โซล่าเซลล์ ผลการ ประชุม ตัวแทนชาวบ้านเห็นชอบในการนํารูปแบบจุลกฐินในอดีตมาปฏิบัติการจริง เพื่อสร้างการเรียนรู้ การมี ส่วนร่วมในการดําเนินกิจกรรมและสร้างความรู้สึกที่ดีระหว่างไทย-กัมพูชา แต่เนื่องด้วยเวลาค่อนข้างกระชั้น
ชิด จําตองปรับรูปแบบวิธีการบางประการเพื่อให้สอดคล้องเหมาะสม โดยมีแนวปฏิบัติและแบ่งบทบาทการจัด บุญกฐินในประเทศไทย ดงนี้
1) การประชาสัมพันธ์ มอบหมายให้ผู้นําชุมชน ผู้อาวุโสและส่วนท่ีเกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้แก่ อบต.ด่าน ฝ่ายปกครอง ช่วยกันประชาสัมพันธ์บอกกล่าวลูกหลาน ญาติโยมทั้งในและชุมชนข้างเคียงให้มาร่วมบุญ ร่วม กิจกรรมและร่วมจัดทําโรงทานต่างๆ
2) กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน มอบหมายให้ทางครูผู้ดูแลการแสดงของนักเรียนเป็น
ผ ับผิดชอบในการเตรียมการต่างๆ ซ่ึงเป็นชุดการแสดงของนกเรียนโรงเรียนกาบเชิงวิทยา
3) กิจกรรมการแสดงและสาธิตเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การพับนก การทําบายศรี การเย็บ
กรวยขันธ์ 5 การทําขนมโบราณ การตําข้าว การหุงข้าว โดยมอบหมายให้นายสันติ ชมช่ืน แกนนําชุมชนและ
ทีมวิจัย เป็นผ ับผิดชอบในการประสานงานและจัดกิจกรรม
4) การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา มอบหมายให้พ่อสุบี ดีงามและพ่อฉวี วงษ์เจริญ เป็นผู้นํา อธิษฐานก่อนให้พุทธศาสนิกชนร่วมเย็บผ้ากฐินและทอดผ้ากฐินในลําดับต่อไป
5) การประสานงานและนําพาญาติโยมทางฝ่ายกัมพูชามาร่วมกิจกรรมกฐิน ได้แก่ รองเลขานุการเจ้า คณะจังหวัดอุดรมีชัยและทีมวิจัยกัมพูชา ผู้ท่ีประสานงานและเอื้ออํานวยความสะดวกทางฝั่งประเทศไทย ได้แก่ เจ้าอธิการพิเชษฐ พิเชษโฐและหนวยประสานงานพืนที่ชายแดน
6) การประสานงานภาคีเครือข่ายโครงการวิจัยเพื่อร่วมจัดนิทรรศการและสาธิตเกี่ยวกับเร่ืองพลังงาน มอบหมายให้ทางศูนย์ประสานงานวิจัยเพ่ือท้องถ่ินสุรินทร์
7) งานอํานวยการ ท่ีเกี่ยวข้องกับการต้อนรับ การรับบริจาคส่ิงของและปัจจัย การลงทะเบียน การ ประชาสัมพันธ์และพิธีกรในงาน มอบหมายให้ทีมวิจัย คณะกรรมการวัดและตัวแทนชุมชน ต.ด่าน เป็น ผู้รบผิดชอบ
ปฏิบัติการจัดบุญกฐินไทย-กมพูชา การเตรียมการบุญกฐิน
จากข้อสรุปการประชุม เม่ือวันที่ 2 ตุลาคม 2560 ก่อนจัดงานตัวแทนชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ทีม
วิจัย พี่เลี้ยง ภาคีเครือข่ายและพระสงฆ์ ได้จัดเตรียมสถานท่ีบริเวณศาลาวัด โดยการตกแต่งตามแบบที่ชุมชน ปฏิบัติสืบทอดกันมา การจัดสถานที่ที่จะทําการแสดงและสาธิตภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน เช่น การตําข้าว การ ทําอาหารพื้นบ้าน และจุดสาธิตเทคโนโลยีพลงงานทางเลือก ได้แก่ เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง การเผาถ่านแบบ ถัง 200 ลิตร และระบบสูบน้ําโซล่าเซลล์ พ้อมท้ังสถานท่ีที่จัดทําโรงทานเพื่อเลี้ยงอาหารญาติโยมและกลุ่ม ญาติธรรมทังไทยและกัมพูชาที่จะมาร่วมกิจกรรมบุญกฐินในวันที่ 8 ตุลาคม 2560
การจัดบุญจุลกฐินในประเทศไทย
8 ตุลาคม 2560 ปฏิบัติการบุญกฐิน ในรูปแบบ “จุลกฐิน” วัดป่าทับทิมนิมิต ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ. สุรินทร์ มีผู้เข้าร่วม ทั้งในส่วนของชุมชน ภาคธุรกิจเอกชน โรงเรียน หน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายต่างๆและ พระสงฆ์ จํานวน 756 คน จําแนกเป็น ชาวไทย 444 คน ชาวกัมพูชา 312 คน สําหรับญาติโยมชาวกัมพูชาที่ เดินทางมาร่วมกิจกรรม ประสบปัญหาบางประการในการข้ามแดน แต่สุดท้ายก็สามารถคลี่คลายได้ จากเดิมท่ี กําหนดกิจกรรมเย็บผ้ากฐินร่วมกันระหว่างไทย-กัมพูชา ในช่วงเช้า แต่ด้วยเหตุความล่าช้าในการข้ามแดน จึง ต้องขยับเลื่อนเวลาออกไป
สําหรบการจัดนิทรรศการต่างๆน้ัน ทางตัวแทนชุมชนและภาคีเครือข่ายพลงงานทางเลือก ได้ร่วมด้วย ช่วยกันจัดกิจกรรมอย่างพร้อมเพรียง เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนําไปสู่การฟื้นฟูสิ่งดีงาม อันเป็น รากเหง้าทางด้านวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน ซึ่งประกอบด้วย การตําข้าว การหุงข้าวกับหม้อโบราณ (ชนัง ควัน) การทําขนมข้าวตู (บายกรีม) การพับนกจากใบตาล ซึ่งได้รับความสนใจทั้งจากชาวไทยและกัมพูชา ใน การร่วมกิจกรรมเรียนรู้และปฏิบัติเก่ียวกับการพับนก การตําข้าวและการทําขนมพื้นบ้าน ในส่วนพลังงาน ทางเลือกน้ัน มีการสาธิตการปั้นเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง การเผาถ่านแบบถัง 200 ลิตร และการสูบน้ําด้วย ระบบโซล่าเซลล์
งานบุญจุลกฐิน ไทย-กัมพูชา ครั้งนี้ นับเป็นคร้ังแรกที่จัดข้ึนในอําเภอกาบเชิง แม้ว่าการจัดทําผ้ากฐิน จะไม่เป็นไปตามกระบวนการหรือประเพณีโบราณท่ีปฏิบัติกันมา คือ การทอผ้าและเย็บผ้ากฐินจะต้องร่วมแรง ร่วมใจกันทําให้แล้วเสร็จภายในวันเดียว แต่กิจกรรมเย็บผ้าร่วมกันของชาวไทยและกัมพูชา ได้ก่อให้เกิดการ “อนุโมทนาบุญร่วมกัน” เกิด “ญาติธรรม” ที่เช่ือมร้อยความสัมพันธ์ด้วย “เนื้อนาบุญ” เป็นการเชื่อมร้อยด้วย จิตอันเป็นกุศล บนฐานความคิดความเชื่อเหมือนกัน คือ บุญกฐิน เป็นบุญที่ย่ิงใหญ่ในบรรดาบุญทั้งหลาย อีก ประการหนึ่ง การเย็บผ้าไตรร่วมกัน เป็นการปฏิบัติการท่ีไม่มีการแบ่งแยกยากดีมีจน หรือฐานะทางสังคม ไม่มี
การกีดก มีแตความเท่ ่าเทียม
กฐินสามัคคีในประเทศกัมพูชา
10 ตุลาคม 2560 เจ้าอธิการพิเชษ เกลียวเพียร นําคณะชาวไทย ซ่ึงประกอบด้วย ผู้นําชุมชน ชาวบ้าน ทีมวิจัยและพี่เลี้ยง จํานวน 24 คน เข้าร่วมกิจกรรมทอดกฐินสามัคคี ณ วัดปราสาทราชาสําโรง กรุง สําโรง จังหวดอุดรมีชัย นับเป็นครั้งแรกของทางจังหวัดอดรมชี ัยที่จัดทําบุญกฐินแบบกฐินสามัคคี ที่ผ่านมาส่วน ใหญ่จะมีเจ้าภาพหลักในการจัดงานเพียงเจ้าเดียว ซึ่งครั้งนี้คณะจัดทําบุญกฐิน ประกอบด้วย คณะญาติโยม จากจังหวัดเสียมราฐ คณะจากประเทศไทย คณะนางเชิญประกอบ เจ้าของโรงแรมเชิญประกอบ และ ประชาชนชาวจังหวดอุดรมีชยั ประมาณ 500 คน ร่วมกิจกรรมงานบุญ
แรกเร่ิมเดิมที ทางฝั่งประเทศไทยมีผู้แจ้งความประสงค์และลงชื่อเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ ประมาณ 400 คน แต่เมื่อใกล้วันเดินทาง ทางราชการแจ้งว่า ต้องใช้หนังสือเดินทาง (พาสปอร์ต) และหนังสือผ่านแดน (บอเดอร์พาส) เท่านั้น จึงเหลือผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีหนังสือเดินทางและผ่านแดนเพียง 24 คน เนื่องจากเวลา กระชันชิดไม่สามารถจัดทําได้ทัน
เมื่อเดินทางถึงสถานที่ตั้งองค์กฐิน คณะได้เข้าร่วมการประกอบพิธีกรรม ฟังพระสวดมนต์ จากนั้น คณะผู้จัดและประชาชนที่เข้าร่วมงานร่วมกันแห่ขบวนองค์กฐินสามัคคีไปรอบเมืองอุดรมีชัย ระยะทางกว่า 1 กิโลเมตร โดยมีวงมโหรี “ตีงโมง” เป็นผู้นําขบวน เมื่อใกล้ถึงวัดทางคณะได้จัดรูปขบวนองค์กฐินใหม่ โดยให้ คณะเจ้าภาพกฐินสามัคคีอยู่หน้าขบวน จากนั้นแห่ขบวนกฐินเข้าวัด เดินเวียนขวารอบโบสถ์ 3 รอบ แล้วเข้าไป ประกอบพิธีทอดผ้ากฐิน
การจัดงานบุญกฐินของประเทศกัมพูชา ยังคงยึดปฏิบัติตามแบบฉบับท่ีเคยปฏิบัติสืบทอดกันมา แม้ว่า การจัดงานบุญปีนี้จะเป็น บุญกฐินสามัคคี แต่ระเบียบแบบแผนการปฏิบัติยังเหมือนเดิม การเปลี่ยนแปลงแนว ปฏิบัติในลักษณะท่ีดําเนินการในประเทศไทยยังคงเป็นเรื่องท่ีค่อนข้างยากลําบาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เป็น ปรากฏการณ์ใหม่ คือ การร่วมเป็นเจ้าภาพกฐิน ซ่ึงเป็นส่ิงบ่งชี้ให้เห็นว่า บุญกฐิน เป็นนวัตกรรมทางด้าน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นท่ีก่อเกิดความสัมพันธ์ในหมู่ชนทุกหมู่เหล่า
สรุปการปฏิบัติการจุลกฐินไทย-กัมพูชา นักวิจัยและผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ 1) เร่ืองบุญกฐิน ประเพณีของ ไทยและกัมพูชา มีส่วนที่คล้ายกัน หากแต่บริบทสังคมต่างกัน เช่น การจัดท่ีประเทศไทยสามารถกําหนด
กิจกรรมได้เพราะรูปแบบกฐินสามคคี จึงมีความยืดหยุ่น เสริมเพ กจกรรมที่ิ เกี่ยวข้อง อาทิการเย็บผ้ากฐิน การ
ทําขนม การพับนก เป็นต้น ส่วนกฐินที่กัมพูชามีเจ้าภาพเจาะจง รูปแบบมีความเฉพาะตัวตามความเช่ือและ การปฏิบัติสืบมา 2) เร่ืองความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ ระหว่างบุคคลต่อบุคคล เชื่อมร้อยความสัมพันธ์ ด้วย “เน้ือนาบุญ” เป็นการเชื่อมร้อยด้วยจิตอันเป็นกุศล บนฐานความคิดความเชื่อเหมือนกัน การเย็บผ้าไตร ร่วมกัน เป็นการปฏิบัติการท่ีไม่มีการแบ่งแยกยากดีมีจน หรือฐานะทางสังคม ไม่มีการกีดกัน มีแต่ความเท่า เทียม
7) การประชุมสรุปบทเรียนและสังเคราะห์ผลการศึกษา การประชุมทีมวิจัย
7 ธันวาคม 2560 จัดประชุมทีมวิจัยเพ่ือสรุปผลและวางแผนการสรุปบทเรียนการทํางาน โดยมี
ผูเข้าร่วมจํานวน 6 คน เป็นนักวิจัย 5 คน และทีมพี่เลียง 1 คน ประเด็นเนื้อหาการประชุมมีดงน้ี
1) นําเสนอเร่ืองการเขียนการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (Research Exploitation – RE) โดย ณัฐ กานต์ สิทธิสังข์ ซ่ึงเป็นตัวแทนของสุรินทร์ที่เข้าร่วมอบรม ณ บ้านสวนซุมแซง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม ส่ิงที่บอกเล่า ประกอบด้วย เป้าหมายการเขียน RE เป็นการบอกกล่าวให้สาธารณชนรับรู้และ เข้าใจว่ามีการนํางานวิจัยของ สกว. ไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ถือเป็นตัวชี้วัดหน่ึงขององค์กรในการเผยแพร่ งานผ่านสื่อต่างๆ เช่น จดหมายข่าว ประชาคมวิจัย รายงานประจําปี หรือเว็บไซด์ รวมท้งเป็นฐานข้อมูลความรู้ ความเคลื่อนไหวโครงการวิจัยและใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ทิศทางงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่นและโครงการเด่นอีก ด้วย
การเขียน RE สามารถเขียนได้ทุกครั้งที่มีการนํางานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรืองานวิจัยก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง รวมถึงกรณีที่บางโครงการอาจเคยมีการเขียน RE ไปแล้ว แต่เมื่อมีการนําไปใช้ ประโยชน์ซ้ําอีก ก็สามารถนํามาเขียน RE ได้อีกครั้งหน่ึง ทั้งน้ีหมายความครอบคลุมถึงการใช้ประโยชน์ท่ีเกิด จากกระบวนการวิจัย ผลการวิจัย หรือเกิดจากทีมวิจัยเอง อย่างกรณี กระบวนการวิจัย การทํากิจกรรมใด กิจกรรมหนึ่งของโครงการ อันเป็นกระบวนการที่นําสู่ก่อเกิดการรวมกลุ่มของชาวบ้านเพื่อแก้ปัญหาภายใน ชุมชนนั้นๆ ทางด้านผลการวิจัย กรณีที่ผลการวิจัยนั้นได้มาซ่ึงผลิตภัณฑ์หรือสินค้าใหม่ๆ เช่น ผ้าไหม นํ้าพริก สาหร่าย ผ้าย้อมสีธรรมชาติที่สร้างงานสรางรายได้สู่ชุมชน หรือมีหน่วยงาน องค์กร ชุมชนอื่นนําเอาผลการวิจัย ไปใช้หรือถูกบรรจุไว้ในแผนการพัฒนาของหน่วยงาน เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.) เทศบาล หรือ ผลการวิจัยถูกนําไปเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ จัดพิมพ์เพ่ือเป็นเอกสาร ประกอบการเรียนการสอน การสัมมนา การฝึกอบรม เกิดการสร้างกฎระเบียบ มาตรการต่างๆ ในชุมชน เช่น กฎระเบียบในการใช้ประโยชน์จากป่า การออกมาตรการในอนุรักษ์พันธ์ุปลา การอนุรักษ์ผักพื้นบ้านมีการรื้อ ฟื้นประเพณีพิธีกรรมต่างๆ รวมทั้งเกิดการพัฒนาคน เช่น เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมของคนใน ชุมชนในทางท่ีดีและมีคุณภาพยิ่งขึ้น (เปรียบเทียบพฤติกรรมก่อน - ระหว่าง - หลังการวิจัย) คนในชุมชนมี สุขภาพกาย ใจ สมบูรณ์แข็งแรง เช่น กรณีของการลดเหล้า บริโภค ผัก-ผลไม้ปลอดสารพิษ ชุมชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น การปลูกข้าวอินทรีย์ การลด ละ เลิก สารเคมีในการเพาะปลูก หรือเกิดการริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ขึ้นใน ชุมชน เช่น การจัดตั้งโรงเรียนนายฮ้อยวัว-ควาย เกิดพิพิธภัณฑ์ชุมชน หรือพื้นท่ีวิจัยกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงานของชุมชนอ่ืน หน่วยงานองค์กรอื่นๆ
ในส่วนของทีมวิจัย เช่น ทีมวิจัยได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย นักวิจัยเขาร่วมเป็นกรรมการพิจารณา ในประเด็นที่เก่ียวของกับงานวิจัยของหน่วยงานอื่น เป็นต้น
2) การระดมความคิดเกี่ยวกับผลท่ีเกิดขึ้นจากทําวิจัย นักวิจัยสะท้อนว่า เป็นการนําหรือฟื้นฟูภูมิ ปัญญาท้องถิ่นขึ้นมาเพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น การตําข้าว การทําขนมข้าวตู การจักสานจากใบตาล ใบ มะพร้าว เช่น การพับนก กุ้ง ปลา การฟื้นฟูวัฒนธรรมการเย็บผ้ากฐินร่วมกัน เกิดความสัมพันธ์ในลักษณะ
“กลุ่มญาติธรรมทั้งไทย-กมพูชา” หลายคนได้รู
ักเพ่อนใหม่และเกิดทัศนคติเชิงบวก ถูกชะตาเสมือนร
ักกันมา
นาน ดงกรณีเพ่ือนใหม่ชาวกัมพูชาของพ่ีบัวศรี ถึงกับน้ําตาไหลเมือพ่ีบัวศรีกลับประเทศไทย
นอกจากนี้ ทีมวิจัยยังค้นพบ ข้อห้ามหรือสิ่งที่ควรหลีกเล่ียงในการสนทนาระหว่างไทย-กัมพูชา คือ 1) เรื่องเขตแดน กรณีการกําหนดเขตแดนยุคสมัยอาณานิคมฝร่งเศส 2) เรื่องสงครามในอดีต และ 3) นโยบายรัฐ และการเมืองการปกครอง
3) การวางแผนปฏิบัติการสรุปบทเรียน ทีมวิจัยได้กําหนดช่วงเวลาในการจัดกิจกรรมสรุปบทเรียน
ดังนี้ ม.ค.61
ประชุมทีมวิจัยเพื่อออกแบบการจัดเวทีสรุปบทเรียน และแบ่งบทบาทภารกิจความรบผิดชอบ วันท่ี 8
การจดเวทีสรุปบทเรียนในประเทศไทยและกัมพูชา วันที่ 18 ม.ค.61 จดเวทีสรุปบทเรียนที่ประเทศ
ไทย และวนท่ี 25 ม.ค.61 จดเวทีสรุปบทเรียนที่ประเทศกมพูชา
ประชุมทีมที่ปรึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือนําเสนองานวิจัยและรับฟังข้อเสนอแนะ ในวันที่ 23
ก.พ.61
ประชุมทีมวิจัยเพื่อเตรียมการสรุปบทเรียนไทย-กัมพูชา
8 มกราคม 2561 จัดประชุมทีมวิจัยเพ่ือเตรียมการสรุปบทเรียนงานบุญกฐินไทย-กัมพูชา มีผู้เข้าร่วม
จํานวน 5 คน เป็นนักวิจัย 4 คน และทีมพี่เลี้ยง 1 คน ประเด็นเนื้อหาพูดคุย 4 ประเด็น คือ 1) ทบทวน ข้อเสนอแนะของ สกว.ต่อรายงานวิจัยงวดงานที่ 1 ให้ใช้กรอบและรายละเอียดจากเวทีสรุปบทเรียนท้ังไทย และกัมพูชา ในส่วนการอ้างอิงแนวคิดทฤษฎีมอบหมายให้นางสาวละไมย์ คําใบ ไปทบทวนและหาข้อมูล เพ่ิมเติมให้สมบูรณ์ และข้อมูลใดที่ยังขาดสามารถเก็บเพิ่มเติมได้จากเวทีสรุปบทเรียนการทํางาน 2) ทบทวน และวางแผนการทํางาน วันที่ 14-16 ม.ค. 61 อบรมการวิเคราะห์ข้อมูลที่มูลนิธิพัฒนาอีสาน โดยมีเจ้าอธิการ พิเชษฐ พิเชษโฐ และนางสาวละไมย์ คําใบ เข้าร่วมอบรม ในส่วนของ นางสาวณัฐกานต์ สิทธิสังข์ เข้าร่วมใน นามกลุ่ม JSN ของโหนด สกว. 3) กําหนดการจัดเวทีสรุปบทเรียน ประเทศไทย วันที่ 18 ม.ค. 61 กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ทีมวิจัย 8 คน ตัวแทนชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน 25 คน ที่ปรึกษาโครงการวิจัย 9 คน และทีมพ่ีเลี้ยง ศูนย์ประสานงานฯ สุรินทร์ 2 คน กรอบประเด็นเนื้อหา นําเสนอแนวคิด กรอบการ ดําเนินงานโครงการวิจัยและภาพรวมการจัดงานจุลกฐิน ระดมความคิดการจัดงานบุญกฐิน แบบจุลกฐิน เกิดผลอย่างไรบ้าง ข้อดี ข้อด้อย ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแก้ไขการดําเนินงานข้างหน้า และประเทศกัมพูชา วันที่ 25 ม.ค.61 กลุ่มเป้าหมาย ท้ังนักวิจัยไทย กัมพูชา พระสงฆ์ ตัวแทนชุมชนและปราชญ์ชาวบ้าน จํานวน 32 คน ประเด็นหลักเกี่ยวกับแนวคิด ความเช่ือและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับบุญกฐินในประเทศกัมพูชา การจัดกฐิน สามัคคีเกิดผลอย่างไรในแง่ของการเสริมสร้างความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา ส่วนประเด็นที่นอกเหนือจากนี้ เจ้า อธิการพิเชษฐ์ พิเชษโฐ จะไปปรึกษาหารือกับทางทีมวิจัยกัมพูชาและเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรมีชัยอีก คร้ังหนึ่ง 4) การประชุมท่ีปรึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อนําเสนอและรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
กําหนดจัดในวันที่ 23 ก.พ. 61 กลุ่มเป้าหมายที่เชิญเข้าร่วมประกอบด้วย ทีมวิจัย ท่ีปรึกษา ตัวแทนชุมชน นักวิชาการและพี่เลียง
การประสานงานเพ่ือจัดการประชุมทีมวิจัย ส่วนใหญ่มีข้อจํากัดเรื่องวันเวลาว่างไม่ค่อยตรงกัน เน่ืองจากนักวิจัยและที่ปรึกษามาจากหลายภาคส่วน จึงเป็นเรื่องค่อนข้างยากในการประสานและนัดหมาย เกี่ยวกับวันเวลาประชุมและการจัดกิจกรรมร่วมกัน แม้ว่าบางคร้ังนัดหมายได้แล้ว แต่เมื่อถึงเวลาก็มีภารกิจ เร่งด่วน จึงทําให้มาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ได้
การจัดเวทีประชุมสรุปบทเรียนพืนที่ประเทศไทย
18 มกราคม 2561 จดประชุมสรุปบทเรียน มีผู้เขารวมจํานวน 40 คน ประกอบดวย นักวิจัย 6 คน
ตวแทนชุมชนและผู้รู้ 31 คน ที่ปรึกษา 1 คน และพี่เล ง 2 คน เจ้าอธิการพเชษฐิ ์ ไดท้ ําการชแจงว้ี ัตถประสงคุ
และสรุปทบทวนการดําเนินงานที่ผ่านมาใหผ กลุ่มท่ี 1 เจ้าอธิการพิเชษฐ์ พิเชษโฐ เป็นผดู้
ูเข้าร่วมได้รับทราบ จากนันแบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 2 กลุ่ม
ําเนินการ กลุ่มที่ 2 สรุปการจดนิทรรศการ กิจกรรมแสดงและ
สาธิตภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านและพลังงานทางเลือก ดําเนินรายการโดยละม คําใบ ทีมวจิ
ประเด็นเนือหาการสรุปบทเรียน
1) แนวความคิด ความเช่ือเก่ียวกับบุญกฐิน
- เกริ่นกรอบแนวคิดงานวิจัยเพ่ือสร้างความเข้าใจร่วมกนั
- เราคาดหวังอะไรจากงานวิจัยโดยใช้บุญกฐินน้ี แล้วนําเสนอภาพโดยรวมจากการจัดงานบุญกฐิน
2) องค์ประกอบของงานบุญกฐิน
- การเตรียมการ (การออกแบบบุญกฐิน การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สถานท่ี การเตรียมชุมชน การ แบ่งบทบาทหน้าที่)
- การประกอบพิธีการ (การตง้ องค์กฐินมีองคประกอบอะไรบาง ตองอธิบายใหช้ ัดเจน การเย็บผ้า กฐิน การทอดผ้ากฐิน)
- ความคิด ความเชื่อบุญกฐินในอดีตเป็นอย่างไร และปัจจุบันเป็นอย่างไร
- ผลการจัดบุญกฐินเป็นอย่างไร และการทําจุลกฐินครั้งนี้ทําให้เกิดสังคมอยู่ดีมีสุข เกิดคุณค่าใหม่ หรือไม่ อย่างไร
- ข้อดี ข้ออ่อน
3) การจัดนิทรรศการ สาธิต ดานศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นและพลังงานทางเลือก รูปแบบ เนือหาการจัด นิทรรศการเป็นอย่างไร เกิดประโยชน์อย่างไรบาง ขอดี ขอดอยเป็นอย่างไรและข้อเสนอแนะเพ่ือการจัด กิจกรรมครั้งต่อไป
4) ข้อเสนอแนะต่อการดําเนินงานต่อเน่ืองในงานบุญกฐินสองแผ่นดิน หลังจากกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มได้ระดมความคิดและประมวลข้อสรุปตามประเด็นเสร็จสิ้นแล้ว ตัวแทน
กลุ่มได้นําเสนอผลต่อเวทีกลุ่มใหญ่ เพื่อประมวลสรุปและวิเคราะห์ภาพรวมว่าการจัดบุญจุลกฐินเป็นอย่างไร เกิดคุณค่าใหม่ในการเชื่อมร้อยความสัมพันธ์ชุมชนไทย-กัมพูชา หรือไม่ อย่างไร และถ้าจะดําเนินการต่อเนื่อง ในระยะต่อไป ควรมีการปรับปรุงหรือพัฒนารูปแบบอย่างไร ท่ีก่อให้เกิดการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมทั้งสอง
แผ่นดิน สามารถกระชับและขยายวงสัมพันธ์มากข ทั้งในระดับชมชนและกลุ ุ่มญาติธรรม
สรุป การจัดงานบุญรูปแบบจุลกฐินเชื่อมสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา มีรูปธรรมในการสร้างสังคมอยู่ดีมีสุข คือ การปฏิบัติการ “เย็บผ้ากฐิน” ซ่ึงกิจกรรมดังกล่าว ช่วยให้ชาวไทย-กัมพูชา มีความรู้สึกท่ีดีต่อกัน ลดความ
หวาดระแวงและความไม่ไว้ใจซ่ึงกันและกัน เกิดความเสมอภาคและเท่าเทียม ไม่มีการแบ่งแยก อีกทั้ง การใช้ ทุนทางสังคมวัฒนธรรมท่ีมีรากฐานร่วมกันมาตั้งแต่อดีต ได้ก่อให้เกิดการ “อนุโมทนาบุญร่วมกัน” เกิด “ญาติ ธรรม” ที่เช่ือมร้อยความสัมพันธ์ด้วย “เนื้อนาบุญ” เป็นการเชื่อมร้อยด้วยจิตอันเป็นกุศลบนฐานความคิด ความเชื่อเหมือนกัน และด้วยอานิสงค์บุญกฐินในงานมีกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตที่คล้ายกัน อาทิ การตํา ข้าว การหุงข้าวด้วยหมอขวัญ การพับนก การทําขนมโบราณ เป็นต้น ผู้เข้าร่วมทั้งไทยและกัมพูชาได้ร่วม กิจกรรมตําข้าว พบนก บรรยากาศเป็นไปอย่างธรรมชาติ มีการเกื้อกูลช่วยเหลือ เรียนรู้ แบ่งปัน พูดคุย เสมือน ญาติพ่ีน้อง ไม่มีเร่ืองอบายมุขเข้ามาเกี่ยวข้อง เพราะทุกคนเข้าใจเร่ืองบุญ และนับถือพระพุทธศาสนา เช่นเดียวกัน ดังนั้น การเกิดความรู้สึกท่ีดีต่อกัน นับเป็นสะพานเชื่อมอันสําคัญที่จะนําไปสู่มิตรภาพที่ดี มิตรภาพในรูปของ “กลุ่มญาติธรรม มีบุญนํา” นั่นหมายถึง การอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ลดอคติ ลดความ ขัดแย้งและนําไปสู่สังคมอยู่ดีมีสุข
บทเรียนการจัดสรุปบทเรียนการจัดกิจกรรม เนื่องด้วยองค์ประกอบผู้เข้าร่วมมาไม่ครบตามท่ีกําหนด ไว้ ขาดตัวแทนฝ่ายบริหาร อบต. โรงเรียนและส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องในการดําเนินกิจกรรม จึงทําให้ ข้อคิดเห็นและมุมมองต่อการจัดงานบุญกฐินท่ีได้ไม่ครบจากทุกภาคส่วน
การจัดเวทีประชุมสรุปบทเรียนพืนที่ประเทศกมพูชา
เดิมทีกําหนดจัดเวทีสรุปบทเรียนและสังเคราะห์ผลการศึกษาประเทศกัมพูชา ในวันที่ 23-24
มกราคม 2561 แต่ทีมงานกัมพูชาติดภารกิจจึงขยับเลื่อนมาเป็นวนที่ 20-21 มกราคม 2561 ผู้เข้าร่วม จํานวน
23 คน จากประเทศไทย 6 คน ได้แก่ ทีมวิจัย 3 คน ผู้อาวุโส 2 คน ล่ามแปลภาษา 1 คนประเทศกัมพูชา 16 คน ได้แก่ พระสงฆ์ 3 รูป ทีมวิจัย 2 คน ครู 1 คน ผู้อาวุโส 10 คน และพ่ีเลี้ยง 1 คน การจัดแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ช่วง ช่วงแรก วันท่ี 20 มกราคม เป็นการประชุมเพ่ือทําความเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงค์และรายละเอียด ประเด็นเน้ือหาการสรุปบทเรียน พร้อมทั้ง ระดมความคิดออกแบบการจัดกิจกรรม ในวันที่ 21 มกราคม ผล การประชุม มีข้อสรุปร่วมกัน ดงนี้
1) รูปแบบการสรุปบทเรียน ใช้การประชุมกลุ่มใหญ่ โดยทางผู้เฒ่าและทีมวิจัยกัมพูชา ให้เหตุผลว่า การประชุมกลุ่มใหญ่ สามารถช่วยกนระดมความคิดและเป็นการสร้างการเรียนรูร้ ่วมกัน
2) เนือหาการพูดคุยประกอบด้วย
- ความเป็นมา แนวคิด ความเชื่อเก่ียวกับบุญกฐิน (ทําบุญกฐินแล้วได้อานิสงค์อะไร เกิดประโยชน์ อะไรต่อคน ครอบครวและสงคม)
- องค์ประกอบของบุญกฐิน มีอะไรบ้าง ไดมาอย่างไร มีประโยชน์อะไร
- ผากฐิน การไดมา มีวิธีการจดทํา ประโยชน์ท่ีได้ต่อสังคม (อดีต-ปัจจุบัน)
- กระบวนการ/ขันตอนการทําบุญกฐิน
- จากการเข้าร่วมกิจกรรมบุญกฐิน ท่ีประเทศไทย คิดว่ารูปแบบการจดกิจกรรมเป็นอย่างไร เราได้ ประโยชน์จากกิจกรรมต่างๆท่ีจดอย่างไรบ้าง มีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่อการจัดกิจกรรมอย่างไรบ้าง
- การเข้าร่วมกิจกรรมบุญกฐินที่ผ่านของคนไทยในประเทศกัมพูชา คิดว่าเป็นอย่างไร ช่วยทําให้ ความสัมพันธ์ของประชาชนทั้งสองประเทศดีขึ้นหรือไม่ อย่างไร เช่น ทัศนคติท่ีดีต่อกัน การปฏิบัติอย่างเป็นพี่
เป็นน้อง เป็นญาติ เป็นเพ่ือน เป็นหมู่พวก (การปฏิบ
ิการต้อนร
/การรบรอง เลี้ยงดู)
- ถาจะใช ุญกฐินในการสรางความส้ ัมพนธที่์ั ดี รูปแบบบุญกฐินที่เหมาะสมควรเป็นอย่างไร
จากน้ัน ท่ีประชุมมอบหมายให้ รึดสุวรรณ ทีมวิจัยกัมพูชา เขียนประเด็นคําถามตามเนื้อหาที่กําหนด ข้างต้นเป็นภาษากัมพูชาและเป็นผู้ดําเนินการระดมความคิด แลกเปลี่ยนซักถาม พระทูปูรั๊วะ เลขานุการเจ้า
คณะจังหวัด เป็นผ ันทึกและเขียนขึนกระดาน
21 มกราคม 2561 เร่ิมกิจกรรมเวลา 10.00 น. ณ อาคารเรียน วัดปราสาทราชาสําโรง เจ้าอธิการ พิเชษฐ พิเชษโฐ ชี้แจงเป้าหมายวัตถุประสงค์ ต่อจากน้ัน รึดสุวรรณ นักวิจัยกัมพูชา อธิบายเพิ่มเติม พร้อม ดําเนินการระดมความคิดและเปิดอภิปรายแลกเปลี่ยนในท่ีประชุมตามแนวคําถามที่วางไว้ โดยมีพระทูปูร๊ัวะ เป็นผู้เขียนขึนกระดานเพื่อให้เห็นข้อมูลร่วมกัน โดยมีทีมงานจากประเทศไทยเป็นล่ามช่วยแปลภาษา
ผลการจัดเวทีประชุม ทีมวิจัยได้รับทราบเกี่ยวกับแนวความคิด ความเชื่อแนวปฏิบตั ิและการให้คุณค่า เก่ียวกับเรื่องบุญกฐินชัดเจนมากขึ้น รวมถึงแนวทางหรือแนวปฏิบัติท่ีเหมาะสมท่ีจะดําเนินการในช่วงปีต่อไป อย่างไรก็ตาม การชักชวนพูดคุยข้อมูลเชิงลึกบางประการ เช่น การวิเคราะห์เชิงคุณค่าของการประกอบ พิธีกรรมในแต่ละขั้นตอนของการทําบุญกฐินที่เกิดขึ้นต่อชุมชน ทําได้ค่อนข้างยากและใช้เวลานาน เนื่องด้วย ทีมวิจัยส่วนใหญ่ อ่านอักษรภาษากัมพูชาไม่ได้ และกรอบความคิดคนไทย-กัมพูชามีความแตกต่างกัน ทาง กัมพูชามองว่า ตําราและคนรุ่นก่อนสั่งสอนอย่างไรก็ปฏิบัติตามน้ันให้ครบถ้วน จะปฏิบัติแตกต่างจากเดิมไม่ได้ แต่ไม่สามารถใหเหตุผลเชิงลึกได้ว่าเพราะอะไร เพียงแต่บอกกล่าวว่าปฏิบัติสืบทอดตามกันมา
8) เวทีประชุมติดตามงาน
4 มกราคม 2561 ณ วัดทับทิมนิมิต ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ทีมงาน สกว. จํานวน 3 คน นําทีม โดย ดร.สุวรรณา บัวพันธ์ ได้ลงมาติดตามและเยี่ยมเยียนการทํางานในพื้นท่ี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือรับทราบ ความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค และแนวปฏิบัติงานตามโครงการวิจยั ผูเขาร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยน ประกอบด้วย นักวิจัยพื้นที่ 4 คน และพ่ีเล้ียง 2 คน ผลการพูดคุย ทีมติดตามมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ 1) การสรุปบทเรียนการทํางาน เน่ืองด้วยช่วงจังหวะในการเก็บข้อมูลของทีมวิจัยในพื้นที่มีความล่าช้า เน่ืองจากประสบปัญหาอุปสรรคเร่ืองการประสานงานกับทางประเทศกัมพูชา ทําให้ได้ข้อมูลไม่ครบถ้วนท่ีจะ ทําการประมวลและวิเคราะห์ผลรูปแบบบุญกฐิน แต่การปฏิบัติการจัดงานบุญกฐินต้องดําเนินการตามเวลาท่ี กําหนด คือ หลังออกพรรษา ทางทีมวิจยั จึงตัดสินใจที่จะดําเนินการตามช่วงเวลาที่กําหนดตามกรอบประเพณี ท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมา โดยอิงแนวทางที่เคยปฏิบัติมา คือ จุลกฐิน ซึ่งเป็นรูปแบบกฐินท่ีทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้น คือ การทอ เย็บ ย้อมผ้ากฐินและอธิษฐานทอดผ้ากฐิน ทางทีมติดตามได้เสนอแนะให้ดําเนินการสรุป บทเรียนการจัดจุลกฐินว่าส่งผลต่อการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีหรือไม่ อย่างไร เพื่อตอบโจทย์งานวิจัยและจะได้ เป็นแนวปฏิบัติในปีต่อไป 2) เรื่องการทูตชาวบ้าน จุดเน้นสําคัญของการศึกษาวิจัยท้องถิ่น คือ เป็นเครื่องมือ ในชุมชนท้องถิ่นได้นําใช้ประโยชน์ ข้อเสนอแนะอีกประการหนึ่ง คือ การสร้างความสัมพันธ์ในลักษณะทูต ชาวบ้าน หรือจุดเด่นที่ทําอยู่แล้ว คือ สถาบันศาสนา พระสงฆ์เป็นตัวเชื่อมและเกิดการก่อรูปของกลุ่มญาติ ธรรมน่าจะเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการสรางความสมพนธ์ไทย-กัมพูชา
9) การประชุมสังเคราะห์ความร
13 มีนาคม 2561 เวทีสังเคราะห์ความรู้รูปแบบความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อการสร้างสังคมอยู่ดีมีสุขด้วยบุญ กฐิน ผู้เข้าร่วม จํานวน 20 คน ประกอบดวย ทีมวิจัย 8 คน ผู้รู้/แกนนําชุมชน 4 คน นักวิชาการ 2 คน (ม.ราช ภัฏสุรินทร์) ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ล่ามแปลภาษา 1 คน และพี่เล้ียง 2 คน เจ้าอธิการพิเชษฐ์ พิเชษโฐ หัวหน้า
โครงการวิจัย ได้บอกเล่าความเป็นมา วัตถุประสงค์ กระบวนการศึกษาและผลการปฏิบัติการจัดงานบุญกฐิน
รูปแบบจุลกฐินให ู้เข้ารวม่ ได้รับฟงั พร้อมทั้งปญหาขอั จากํ ัดต่างๆที่เกิดขน้ึ จากน้ัน ดร.ดาเกงิํ โถทอง อาจารย์
ม.ราชภัฏสุรินทร์ ได้ช่วยในการเปิดประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรูและสังเคราะห์ร่วมกัน
ผลการแลกเปล่ียนเรียนรู้ พบว่า 1) การจัดบุญกฐินเพื่อสร้างความสัมพันธ์เคยมีการดําเนินการมาแล้ว ในอดีต ช่วงประมาณปี พ.ศ. 2504-05 จากคําบอกเล่าของพ่อสุบี อดีตกํานัน ต.ด่าน ซึ่งเกิดผลดีต่อการเชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชา ลดความหวาดระแวง เกิดมิตรไมตรีต่อกัน โดยการผูกเสี่ยวกันระหว่างคน กัมพูชากับคนไทย 2) วัฒนธรรมเป็นส่ือสัมพันธ์ท่ีดี โดยผ่านทาง “พระ หมอ ครู” อาจารย์ ดร.อัจฉรา ภานุ รัตน์ อดีตอธิการบดี ม.ราชภัฎสุรินทร์ กล่าวอ้างอิงจากงานศึกษาวิจัยว่า พระหมอครู มีอิทธิพลต่อความมั่นคง ของชาติตามแนวชายแดน หน่ึงคนมีสามลักษณะ คือ เป็นทั้งพระ หมอ ครู จะเป็นทูตท่ีไปเชื่อมประเทศเพื่อ บ้านได้ เพราะไปในฐานะผู้ให้ แล้วก็เป็นครูวัฒนธรรม ซึ่งอาจจะดูกว้าง แต่มีพิธีกรรม ค่านิยม ศาสนาและวิถี ชีวิตอยู่ในนั้น อาจารย์บอกกล่าวต่อว่า 3) บุญกฐินเป็นพุทธเศรษฐกิจ พระพุทธเจ้าไม่เคยปฏิเสธในเรื่องพุทธ เศรษฐกิจ ซึ่งเศรษฐกิจในพุทธจนนุกรม คือ กิจกรรมอันประเสริฐ เศรษฐีคือชาวนา สามารถปลูกข้าวเม็ดเดียว ได้เพิ่มเป็นหมื่นเมล็ด ใส่บาตรเป็นทานทุกวัน พุทธศาสนาอยู่ได้ด้วยชาวนา 4) วัฒนธรรมในเชิงวิถีชีวิต ต้อง
ให้วิถีชีวิตแก่เขา จุลกฐิน ถาเราจัดบ่อยๆ ทําให้เขาได้เรียนร ่วมดวย้ ศาสนาและลัทธตางๆ่ิ คือความรทู างนิเวศ
ตัวบุญประเพณีจะช่วยรักษานิเวศ เช่นการหยดนํ้าใส่ต้นไม้บ่อยๆก็จะเติบโต
สรุป ความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมต้องเป็นเชิงความรู้ ทอดกฐินแต่ละครั้งมีความรู้อะไร เป็นปริศนาคา ใจของฆราวาส ทําไมเรียกพระว่าเนื้อนาบุญ เพราะเราอยากทําบุญ ก็เพราะว่าจีวร ตัดเป็นช้ินแล้วเอามาด้นให้ นูน เวลาพระห่มจะได้มีสติตลอด ตะเข็บ คือคันนาที่พระพุทธเจ้ารับส่ังให้พระอานนท์ไปออกแบบคันนา สอง พันกว่าปีที่พระห่มมา เราต้องให้ความรู้กับชาวบ้านว่าทําไมต้องมีคันนา ถ้าไม่มีคันนาน้ําจะท่วมหรือต้องใช้ พันธ์ข้าวเลื้อย ในภาษามคตเรียกว่า กระทง จีวรต้องเย็บเป็นกระทง หรือ แก้มลิง ที่พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงใช้ ในจีวรมีห้าอย่าง ผ้าพาดบ่า ผ้าอาบนํ้าฝน ให้เรียนรู้ว่าน้ํามีประโยชน์ ถ้ารู้จักรักน้ําก็ไม่จนหรอก ลอง มาเชื่อมโยงความรู้ ผ้ารัดขันสําหรับภิกษุนี มณฑลก็คือวงรอบ มีอัฐะ(คร่ึงวงกลม) ไถหรือผาลเป็นภาษามคต เป็นการถอนรากถอนโคน อนุ คือละเอียด วัตตุ คือวัฏฏะสงสาร วิวัติตะ คือม้วนกลับ ธรรมมะคือการ เปลี่ยนแปลงตัวเอง อนุวัติก็คือหัวนาปลายนา ฉะน้นก็ต้องสามัคคีกันเพราะเป็นที่รวมของน้ําผิวดิน ใต้ดิน และ ลําธารน้ําลึก ทั้งหมดนีเป็นองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่ยิ่งใหญ่มาก
บทที่ 4
ผลการวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้ มุ่งศึกษา มุ่งศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมที่เอ้ือต่อการสร้างสังคมอยู่ดีม สุข ด้วยบุญกฐิน กรณีศึกษาตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศ กัมพูชา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ 4 ข้อ คือ
1) เพื่อศึกษาบริบทและสถานการณ์พื้นท่ีชายแดนอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
2) เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมในอดีต – ปัจจุบันชุมชนชายแดนไทย – กัมพูชา ท้ัง แบบทางการและไม่ทางการ
3) เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนและเป็นอุปสรรคต่อความสัมพันธ์ของคนในชุมชนชายแดนไทย –
กัมพูชา
4) เพื่อหารรปแบบควาู มสัมพันธเชิ์ งวัฒนธรรมที่เอ้ือตอการ่ สรางสั้ งคมอยู่ดีมีสุขดวยบุ้ ญกฐิน
พื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา
4.1 บริบทพ้ืนที่ชายแดนอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย และกรุงสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
4.1.1 บริบทอําเภอกาบเชิงจังหวัดสุรินทร์
บ้านกาบเชิงเป็นชุมชนด้ังเดิมที่มีการต้ังถิ่นฐานมานานมากกว่า 200 ปีแล้ว ในอดีตอยู่ภายใต้การ ปกครองของตําบลด่าน อําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ต่อมา ปี พ.ศ. 2480 เปลี่ยนแปลงการปกครองไปขึ้นกับ ตําบลหนองใหญ่ อําเภอปราสาท และในปี พ.ศ. 2506 ทางราชการประกาศจัดตั้งเป็นตําบลกาบเชิง และยก ฐานะเป็นก่ิงอําเภอ ในปี พ.ศ.2514 มีตําบลในเขตการปกครอง คือ ตําบลกาบเชิง ตําบลบักใด (อําเภอพนมดง รัก ปัจจุบัน) ปี พ.ศ.2519 เพิ่ม ตําบลโคกกลาง (อําเภอพนมดงรักปัจจุบัน) อีก 1 ตําบล และในปี พ.ศ.2520 รับโอนตําบลคูตันและตําบลด่านจากอําเภอสงขะ จากนั้น ทางราชการประกาศยกฐานะเป็นอําเภอเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2522
“กาบเชงิ ” เป็นภาษาพื้นเมืองสุรินทร์หรือภาษาเขมร เรียก “ กาบ – จืง ” (กาบ= ฟัน จืง = เท้า) ซึ่ง มีความหมายว่า “ฟันเท้า” ที่มาจะเป็นประการใดไม่ปรากฏแน่ชัด แต่สันนิษฐานได้ว่าผู้คนที่มาบุกเบิกแผ้ว ถางป่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยและท่ีทํากินในแถบพ้ืนที่นี้ บังเอิญมีดหรือขวานพลาดมาฟันโดนเท้าหลายคนในช่วง การบุกเบิก จึงตั้งช่ือหมู่บ้านว่าบานกาบเชิง อําเภอกาบเชิงตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ติดพรมแดนไทย - กัมพูชา เป็นพ้ืนที่ที่มีความสําคัญทางด้านความมั่นคงของชาติ เน่ืองจากเป็นพื้นที่กันชนระหว่างรัฐไทยกับ กัมพูชา สถานการณ์ปัญหาชายแดนเกิดข้ึนเกือบทุกช่วงเวลา นับต้ังแต่ ช่วงปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา เกิดกรณี ปัญหาความขัดแย้งเรื่องปราสาทเขาพระวิหาร ความขัดแย้งด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ปัญหาและผลกระทบ ต่างๆ รุนแรงมากขึ้นหลังปี พ.ศ. 2518 เกิดสงครามและการสู้รบตามแนวชายแดน ชาวกัมพูชานับแสนคน
อพยพเข้ามาในประเทศไทย ทําให้ประชาชนชาวไทยในอําเภอกาบเชิงและพื้นที่ใกล้เคียงได้รับผลกระทบอย่าง มากมาย ทั้งในเรื่องของความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ไม่สามารถประกอบอาชีพหรือดําเนินชีวิตได้ ตามปกติ ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 สถานการณ์เริ่มดีขึ้น ประเทศกัมพูชาปรับใช้นโยบายเน้นความสัมพันธ์ ภายนอกและประเทศไทยประกาศนโยบายการเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า (from the battle field to market place) ในยุคนายกรัฐมนตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ กอปรกับอิทธิพลทางการค้าของประเทศจีนไหลเข้า สู่ภูมิภาคนี้ จึงส่งผลให้เกิดการเปิดจุดผ่อนปรนต่าง ๆ เพื่อการค้าและการเดินทางแลกเปลี่ยนระหว่างกัน เกิด การอํานวยความสะดวกในการข้ามแดนต่าง ๆ ลดกฎเกณฑ์ทางการค้าลง เป็นต้น นอกจากนี้ ธนาคารเพื่อการ พัฒนาแห่งเอเชียได้สนับสนุนให้เกิดการเจรจาจัดทํากรอบความร่วมมือการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนุ ภูมิภาคลุ่มน้ําโขง อีกหลายแนวทาง เช่น การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC) ในปี 2541 จัดทําความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่ม แม่น้ําโขง (Cross Border Transportation Agreement: CBTA) ในปี 2548 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม การขยายตัวด้านอุตสาหกรรม การเกษตร การค้า การลงทุน และบริการในภูมิภาคโดยการเชื่อมโยงกลุ่ม ประเทศต่างๆ ด้วยโครงข่ายด้านคมนาคมการขนส่ง และการพลังงาน ล่าสุดในปี 2546 ประเทศกัมพูชา ลาว พม่าไทย และเวียดนาม ได้จัดทําปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) ภายใต้ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทาง เศ รษ ฐกิ จ อิ ระวดี – เจ้ าพ ระยา – แม่ โข ง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) ส่งผลให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจเป็นหลักด้วยข้อ ได้เปรียบในแง่ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
สถานการณ์ในปัจจุบันพื้นที่ชายแดนได้เปลี่ยนแปลงจากพื้นท่ีล้าหลัง ห่างไกลความเจริญมาเป็นพ้ืนท่ี ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการค้า ทําให้เกิดการหลั่งไหลของผู้คน สินค้าและวัฒนธรรม พื้นที่ชายแดนได้รับ การพัฒนาให้มีความเจริญเพ่ิมมากขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อรองรับการขยายตัวทางด้าน การค้าและการเติบโตเศรษฐกิจ รวมถึงการขยายตัวของเมือง ส่งผลให้พื้นที่อําเภอกาบเชิงประสบปัญหา หลากหลายประการ ดังนี้ 1) ปัญหากรณีพิพาทเรื่องที่ดิน ข้อพิพาทของประชาชนกับรัฐ กรณีที่ดินราชพัสดุที่ หน่วยงานราชการขอใช้สร้างคลังสินค้าและตลาดการคาช่องจอม การบุกทํากินในที่ประกาศเขตป่าสงวนฯ การ ออกเอกสารสิทธิ์ทับซ้อน และประชาชนในพื้นที่กับนายทุน และประชาชนขาดพื้นท่ีทํากิน 2) ปัญหาการ จัดการน้ําและคุณภาพนํ้า ในเขตพื้นท่ีชายแดนมีการสร้างแหล่งน้ําจากหน่วยราชการจํานวนมากแต่ขาดการ จัดการที่ดีจึงส่งผลให้ประชาชนยังมีปัญหาด้านการขาดนํ้าในการอุปโภคและบริโภค เช่น ประชาชนขาดแคลน แหล่งน้ําขนาดเล็กในการเกษตร ฝายสร้างต่ํากว่าพื้นท่ีการเกษตรน้ําไม่สามารถไหลขึ้นไปได้ อีกทั้ง การใช้ สารเคมีในกระบวนการผลิตทางการเกษตร ทําให้เกิดการปนเปื้อนในแหล่งต้นน้ํา บางพื้นท่ีเกิดการเน่าเสีย โดยเฉพาะบริเวณตลาดที่มีการซักล้างเส้ือผ้ามือสอง 3) ปัญหาด้านสังคม ประชาชนไม่มีความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน แรงงานต่างด้าวจํานวนมาก มีคนต่างชาติเข้ามาอยู่อาศัยมากเกินประชากรของหมู่บ้าน ปัญหา อาชญากรรมและยาเสพติด ปัญหาชู้สาว (รักข้ามแดน) การมีพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงต่อโรคภัย การดื่มเหล้า และทะเลาะวิวาท 4) ปัญหาด้านความมั่นคง เช่น ความไม่ชัดเจนเรื่องแนวเขตแดน ประชาชนเข้าไปหาของป่า ถูกจับกุม ประชาชนเขมรเข้ามาปลูกบ้านเรือน ปลูกไม้ผล ติดกับแนวชายแดนตลอดแนว แต่ทางการไทย ผลักดันประชาชนออกไป 5) ปัญหาการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น คนในชุมชนไม่ให้ความร่วมมือ ขาดความใส่ใจใน การร่วมกันแก้ไขปัญหา ขาดกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชน เกรงกลัวอิทธิพล ไม่มีใครกล้าต่อต้านนายทุน การเลือกปฏิบัติ ขาดความยุติธรรม ชาวบ้านขาดความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมการจัดการน้ํา การขาดฐานข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ดินและแหล่งน้ําใน
ชุมชน ขาดการวางแผนการพัฒนาเพื่อปฏิบัติงานร่วมกันท้ังระยะส้ันและระยะยาว การกําหนดข้อตกลงหรือมี กติการ่วมกันในการพฒนาและดําเนินงานที่เป็นรูปธรรม
ปัญหาต่างๆ เหล่าน้ี หนักหน่วงเกินที่จะรับมือได้สําหรับประชาชนในพื้นท่ีและสถานการณ์อันใกล้ท่ี ประชาชนชายแดนต้องเผชิญกับสถานการณ์เปิดเสรีของประชาคมอาเช่ียน (AEC) ที่ประเทศสมาชิกต้องเปิด
ตลาดเสรีการค้าและบริการระหว่างกัน ทําให ินคาเกษตรจากอาเซยนที่มีคุณภาพดกวาหร่ ือราคาถูกกวาจะเข่ ้า
มาแข่งขันและแย่งชิงตลาด ทําให้ผูประกอบการภาคการผลิตทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม รวมทั้ง เกษตรกรไทยท่ีมีขีดความสามารถในการผลิตต่ําจะไม่สามารถแข่งขันกับประเทศที่มีความสามารถในการผลิต สูงกว่าได้ กอปรกับในปัจจุบันคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ ได้เสนอว่า จังหวัดสุรินทร์และประเทศกัมพูชา ซึ่งมีชายแดนติดต่อกัน มีผลผลิตทางการเกษตรจํานวนมาก อาทิ ข้าว ยางพารา อ้อย และมันสําปะหลัง จึงมีศักยภาพเพียงพอที่จะจัดสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษอุตสาหกรรมแปรรูป สินค้าเกษตรชายแดน บริเวณอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ ท่องเที่ยว และการลงทุนภาคอุตสาหกรรมที่จะเกิดข้ึนได้อย่างเสรีในอนาคต การเร่งรัดก่อสร้างเส้นทางรถไฟ ทางคู่ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีษะเกษ อุบลราชธานี ให้แล้วเสร็จในปี 2562 ควบคู่กับการ พัฒนาเส้นทางคมนาคมในการขนส่งสินค้าและการเดินทางเช่ือมต่อระหว่างจงหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนใต้และประเทศเพื่อนบ้านต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร เม่ือวันที่ 30 กรกฎาคม 2555 ซึ่งจะส่งผลให้ พื้นที่ชายแดนอําเภอกาบเชิงได้รับการพัฒนาอย่างกว้างขวาง ในทางกลับกันประชาชนด้ังเดิมที่อยู่ในพื้นที่ชาย ขอบจะต้องประสบกับปัญหาและผลกระทบตามมาอย่างมากอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หากขาดการเตรียมความ พร้อม การเร่งหาแนวทางและมาตรการเพ่ือการปรับตัวและเพิ่มขีดความสามารถในการพึ่งตนเอง โอกาสใน การสูญเสียที่ดินมีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากภาวะราคาที่ดินที่ขยับตัวสูงขึ้นและศักยภาพในการชําระหนี้สินของ ชาวบานลดลง
1) สภาพท่ัวไป
ที่ตั้ง อําเภอกาบเชิงตั้งอยู่ติดกับแนวชายแดนไทย - กัมพูชา อยู่ห่างจากจังหวัดสุรินทร์มาทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 57 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 214 สายสุรินทร์ - ช่องจอม
2) อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับอําเภอปราสาท จังหวดสุรินทร์
ทิศใต้ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา โดยมีแนวสันเขาบรรทัดเป็นเสนกันอาณาเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับอําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอําเภอพนมดงรัก จงหวัดสุรินทร์แผนที่อําเภอกาบเชิง
ภาพท่ี 4 แผนท่ีอําเภอกาบเชิง
เนื้อท่ี ประมาณ 576 ตารางกิโลเมตรหรือ 360,828 ไร่ แยกเป็น พ้ืนที่ราบ 152,296 ไร่ ภูเขา
11,728 ไร่ พื้นน้ํา 6,340 ไร่ และอื่นๆ 190,464 ไร่
ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นป่า บางแห่งเป็นป่าทึบตามแนวเทือกเขาบรรทัดหรือ พนมดงรัก ซึ่งอยู่ทางทิศใต้เป็นเส้นก้ันเขตแดนประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา ลักษณะพื้นที่จะลาดจากทาง ทิศใต้มาทางทิศเหนือ มีระดับความสูงจากระดับนําทะเลเฉลี่ย 200 เมตร ลักษณะดินเป็นกลุ่มดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติค่อนข้างต่ํา
3) การปกครอง
อําเภอกาบเชิง แบ่งการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 เป็น 6
ตําบล 86 หมู่บ้าน ประชากร 60,014 คน ชาย 30,336 คน หญิง 29,678 คน 15,058 ครวเรือน ดงนี้
1) ตําบลกาบเชิง จํานวน 20 หมู่บ้าน
2) ตําบลแนงมุด จํานวน 15 หมู่บาน
3) ตําบลด่าน จํานวน 18 หมู่บ้าน
4) ตําบลโคกตะเคียน จํานวน 14 หมู่บ้าน
5) ตําบลคูต จํานวน 10 หมู่บาน้
6) ตําบลตะเคียน จํานวน 9 หมู่บ้าน
ตารางท่ี 3 จํานวนหมู่บานชายแดน จํานวน 27 หมู่บ้าน
ที่ | ชื่อบ้าน | หมู่ที่ | ตําบล |
1 | บ้านตาเกาว์ | 3 | กาบเชิง |
2 | บานหมอนเจริญ | 7 | กาบเชิง |
3 | บ้านนอยร่มเย็น | 8 | กาบเชิง |
4 | บานเขื่อนแก้ว | 13 | กาบเชิง |
5 | บ้านกาบเชิง | 17 | กาบเชิง |
6 | บ้านตาเกาว์พัฒนา | 18 | กาบเชิง |
7 | บ้านด่าน | 1 | ด่าน |
8 | บ้านสนวน | 3 | ด่าน |
9 | บ้านโพนทอง | 6 | ด่าน |
10 | บ้านด่านพัฒนา | 14 | ด่าน |
11 | บ้านน้อยพัฒนา | 16 | ด่าน |
12 | บ้านไพรเงิน | 17 | ด่าน |
13 | บ้านหนองกระทม | 18 | ด่าน |
14 | บ้านสกล | 2 | ตะเคียน |
15 | บ้านใหม่ดงเย็น | 4 | ตะเคียน |
16 | บ้านสกลพัฒนา | 8 | ตะเคียน |
17 | บ้านสวาย | 4 | โคกตะเคียน |
18 | บานโนนทอง | 7 | โคกตะเคียน |
19 | บ้านอีสานพัฒนา | 9 | โคกตะเคียน |
20 | บ้านโคกเวง | 10 | โคกตะเคียน |
21 | บ้านน้อยแสนสุข | 12 | โคกตะเคียน |
22 | บ้านสว่างนิยม | 14 | โคกตะเคียน |
23 | บ้านแนงมุด | 1 | แนงมุด |
24 | บ้านคลองน้ําซับ | 5 | แนงมุด |
25 | บ้านโคกเบง | 11 | แนงมุด |
26 | บ้านแนงมุด | 13 | แนงมุด |
27 | บานช้างหมอบ | 14 | แนงมุด |
4) สภาพทางเศรษฐกิจ
อาชีพหลัก การทํานา อาชีพรอง การทําไร่ ทําสวน
แหล่งนําเพื่อการเกษตร
- ลําห้วย 52 สาย
- ฝาย / ทํานบ 28 แห่ง
- อ่างเก็บน้ํา 8 แห่ง
หน่วยธุรกิจ
- ธนาคารกรุงเทพ จํากัด สาขากาบเชิง จํานวน 1 แห่ง
- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาปราสาท หน่วยกาบเชิง 1 แห่ง
- ปั๊มนํ้ามัน | จํานวน | 10 | แห่ง |
- โรงงานอุตสาหกรรม | จํานวน | 2 | แห่ง |
- โรงสีข้าว | จํานวน | 156 | แห่ง |
5) สภาพทางสงคม
การศึกษา
- โรงเรียนในสังกัด สพฐ. สร. เขต 3 จํานวน 32 แห่ง
- ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน จํานวน 1 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จํานวน 14 แห่ง
- ศูนย์ฝึกและพฒนาอาชีพฯ จํานวน 1 แห่ง
- หอสมุดเฉลิมราชกุมารี จํานวน 1 แห่ง
สถาบันและองค์การศาสนา
- วัด จํานวน 11 แห่ง
- ท่ีพักสงฆ์ จํานวน 47 แห่ง
- การศาสนา นับถือศาสนาพุทธ 100 %
- งานประเพณีท้องถ่ินที่สําคญั งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา ตรงกับวันแรม 1 คํ่า เดือน
8 ของทุกปี งานประเพณีลอยกระทง ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 ของทุกปี
คน)
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
(1) หน่วยและอัตรากําลงั
- สถานีตํารวจภูธรอําเภอกาบเชิง 1 แห่ง
- สถานีตํารวจภูธรตําบลแนงมุด 1 แห่ง
- กองร้อยอาสารักษาดินแดนอําเภอกาบเชิง 1 แห่ง อตรากําลัง 40 คน (ชาย 37 คน หญิง 3
- กองร้อยเฉพาะกิจ กรมทหารพรานที่ 26
- กองร้อยทหารพราน ท่ี 2603
- กองร้อยทหารพรานจู่โจมท่ี 960
- กองร้อยตํารวจตระเวนชายแดน ที่ 217
- ด่านตรวจคนเข้าเมืองกาบเชิง
- ด่านศุลกากรช่องจอม
- ชุดปฏิบัติการข่าว กองกําลังสุรนารี
6) การบริการพนื ฐาน
การบริการโทรศัพท์ จํานวน 600 เลขหมาย และโทรศัพท์เคลื่อนท่ี ระบบ 990 GSM, TRUE MOVE และ DTAC
การให้บริการไฟฟ้า ครบทั้ง 86 หมู่บ้าน จํานวนผู้ใช้ไฟฟ้า 10,051 ราย และ ยังไม่มีไฟฟ้า 1,191
ครัวเรือน
การประปาส่วนภูมิภาค 1 แห่ง ประปาหมู่บ้าน 28 แห่ง
ไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง ไปรษณีย์เอกชนอนุญาต 3 แห่ง
การคมนาคม
- ถนนลาดยาง 12 สาย ระยะทาง 117 กิโลเมตร
- ถนน คสล. 10 สาย ระยะทาง 10 กิโลเมตร
- ถนนลูกรัง 53 สาย ระยะทาง 329 กิโลเมตร
เส้นทางที่สําคัญ
- ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 214 จากสุรินทร์ – ช่องจอม
- ทางหลวงจังหวัด หมายเลข 2121 สามแยกบ้านหินโคน – อําเภอพนมดงรัก
- ทางหลวงจังหวัด หมายเลข 2328 แยกช่องจอม – อําเภอบัวเชด
- ทางหลวงจังหวด หมายเลข 2283 จากบ้านด่าน – อาเภอสํ ังขะ
- ทางหลวงทองถิ่น ความรับผิดชอบของกรมโยธาธิการ
- ทางหลวงชนบท ความรับผิดชอบของสํานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท
อนึ่ง นอกจากเส้นทางดังกล่าวข้างต้นแล้ว เส้นทางคมนาคมระหว่างตําบล หมู่บ้านเป็นถนนลูกรัง สามารถใช้การได้ตลอดปี
ด้านสาธารณูปโภค
มีการประปาระดับอําเภอและตามตําบล หมู่บ้าน ดังน
- การประปาส่วนภูมิภาค จํานวน 1 แห่ง
- การประปาหมู่บ้าน จํานวน 28 แห่ง
7) ข้อมูลอ่ืน ๆ ทรัพยากรธรรมชาติ
(1) พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 2 แปลง
ก. ป่าทุ่งมน – บักได แปลงที่ 2 , 3 เนื้อที่ 20,544 ไร
ข. ป่าฝั่งซ้ายห้วยทับท เนื้อที่ 661 ไร
(2) เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยทบทนั – ห้วยสําราญ พื้นที่ 313,750 ไร่
การท่องเท่ียว
(1) ด่านถาวรช่องจอม เปิดเม่ือวันที่ 1 กันยายน 2545 เป็นจุดเช่ือมระหว่าง อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ และอําเภอสําโรง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
(2) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหวยทบทัน-หวยสําราญ อําเภอกาบเชิง
ความอุดมสมบูรณ์ของป่า ไม้ดอก และสัตว์ป่า มากมายภาพในเขตอนุรักษ์ ฯ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เหมาะแก่การศึกษาธรรมชาติ
อ่างเก็บน้ําตาเกาว์ จุน้ําได้ 68 ล้าน ลบม. ใช้ประโยชน์ในการทําน้ําประปา และเพื่อการเกษตรได้ เนื้อที่ 1,500 ไร่
จุดชุมวิวธรรมชาติ ช่องปลดต่าง ช่องคอโค
วัดเขาแหลม วัดดาร์สปวง ตําบลแนงมุด อําเภอกาบเชิงซึ่งเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม และจุดชมวิว ทิวทศน์ทางธรรมชาติชายแดนไทย – กัมพูชา
(3) หมู่บ้านอนุรกษ์กระบือไทย และพิพิธภณฑ์ชาวนาไทย บานหินโคน ตําบลโคกตะเคียน
(4) หมู่บานทอผ้าไหมและเลียงไหม บ้านโคกสะอาด ตําบลคูตนั บ้านหินโคน ตําบลโคกตะเคียน
สถานบริการของรัฐ | ||
-โรงพยาบาลขนาด 60 เตียง | 1 | แห่ง |
-สถานีอนามยั | 10 | แห่ง |
-หน่วยควบคุมโรคติดต่อนําโดยแมลง | 1 | แห่ง |
-ร้านขายยาแผนปัจจุบัน | 3 | แห่ง |
- สถานพยาบาล | 1 | แห่ง |
4.1.2 บริบทตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์
ตําบลด่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ อยู่ห่างจากอําเภอ กาบเชิงมาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 14 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 สาย สุรินทร์ – ช่องจอม ที่บ้านด่านจะมีทางแยกเป็นถนนสายบ้านด่าน – สังขะ เป็นระยะทางประมาณ 29 กิโลเมตร เนื้อที่ตําบลด่านมีเนือที่ประมาณ 57.76 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 36,101 ไร่และมีอาณาเขต การติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อก บานมะโน้ หมู่ท่ี 3 ตาบลจารยํ ์ อาเภอสํ งขะ จังหวัดสุรินทร
ทิศใต้ ติดต่อกับ ติดกับชายแดนไทย-กัมพูชา
ทิศตะวันออก ติดต่อกบั บ้านสะพานใหม่ หมู่ท่ี 17 ตําบลตาตุม อําเภอสงขะ จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านรุน หมู่ท่ี 3 ตําบลตะเคียน อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์
ลกษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
เป็นเนินเขาบริเวณทางด้านทิศใต้ ซึ่งมีระดับความสูง 250 เมตร ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีเขตป่าสงวนแห่งชาติ และพื้นท่ีลาดมาทางทิศเหนือ มีระดับความสูง 190 เมตร เป็นพ้ืนที่ตั้งของหมู่บ้านประมาณร้อยละ 50 ของพืนท่ีทงั ตําบล
สําหรับลักษณะภูมิอากาศของตําบลด่าน เป็นลักษณะร้อนชื้น โดยแบ่งช่วงตามฤดูกาล คือ ฤดูร้อน ระหว่างช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน ระหว่างช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ฤดูหนาว ระหว่างช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม
จํานวนหมู่บ้านและประชากร
การกําหนดเขตตําบลด่านในท้องท่ีอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ โดยมีการปกครองรวม 18 หมู่บ้าน คือ
1. บานด่าน 10. บ้านปลัดฤษี
2. บานโจรก 11.บ้านธาตุน้อย
3. บานสนวน 12. บ้านโนนสําราญ
4. บ้านกระทม 13. บ้านห้วยปาง
5. บ้านเกษตรถาวร 14. บ้านด่านพัฒนา
6. บ้านโพนทอง 15. บ้านนาจําปาแสงอรุณ
7. บานหนองสมบูรณ์ 16. บ้านน้อยพัฒนา
8. บ้านนาเรือง 17. บานไพรเงิน
9. บ้านโคกเจริญ 18. บ้านหนองกระทม
ประชากร มีประชากรในพื้นที่รวมทั้งสิ้น 12,535 คน แยกเป็นชาย 5,644 คน หญิง 6,891
คน มีความหนาแน่นเฉล่ีย 104 คนต่อตารางกิโลเมตร ดังนี้
ตารางที่ 4 หมู่บ้าน พืนที่ จํานวนครวเรือนและประชากร
หมู่ที่ | ชื่อบาน | พื้นที่ (ไร่) | ครัวเรือน | ชาย | หญิง | รวม |
1 | บ้านด่าน | 608 | 450 | 853 | 857 | 1,710 |
2 | บ้านโจรก | 3,200 | 278 | 402 | 499 | 851 |
3 | บานสนวน | 2,940 | 206 | 312 | 355 | 667 |
4 | บานกระทม | 1,000 | 209 | 235 | 291 | 526 |
5 | บ้านเกษตรถาวร | 3,200 | 323 | 311 | 339 | 650 |
6 | บ้านโพนทอง | 3,782 | 253 | 584 | 598 | 1,183 |
7 | บ้านหนองสมบูรณ์ | 1,300 | 185 | 234 | 275 | 509 |
8 | บ้านนาเรือง | 2,500 | 162 | 399 | 356 | 755 |
9. | บานโคกเจริญ | 1,080 | 137 | 324 | 303 | 627 |
10 | บ้านปลัดฤษี | 1,955 | 83 | 98 | 96 | 194 |
11 | บ้านธาตุน้อย | 1,570 | 55 | 144 | 142 | 286 |
หมู่ที่ | ชื่อบ้าน | พื้นท่ี (ไร่) | ครัวเรือน | ชาย | หญิง | รวม |
12 | บ้านโนนสําราญ | 1,000 | 137 | 345 | 337 | 682 |
13 | บ้านห้วยปาง | 1,870 | 76 | 109 | 116 | 225 |
14 | บ้านด่านพัฒนา | 800 | 232 | 418 | 417 | 835 |
15 | บ้านนาจําปาแสงอรุณ | 2,900 | 98 | 127 | 137 | 264 |
16 | บ้านใหม่เรือทอง | 1,800 | 139 | 107 | 144 | 251 |
17 | บานไพรเงิน | 600 | 135 | 209 | 220 | 429 |
18 | บ้านหนองกระทม | 700 | 181 | 408 | 427 | 835 |
รวม | 32,805 | 3,339 | 5,644 | 6,891 | 12,535 |
ท่ีมา : การบริการสุขภาพระดับตําบล (รพสต.) 2559
สภาพทางเศรษฐกิจ
อาชีพ
ตําบลด่าน มีครัวเรือนประกอบอาชีพทางการเกษตรร้อยละ 90.91 ของครัวเรือนทั้งหมด รองลงมา เป็นอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 4.94 ค้าขาย รอยละ 1.54 และรับราชการ ร้อยละ 2.61 ตามลําดบั
หน่วยธุรกิจในเขต อบต.
-ปั๊มนํามนและก๊าซ | จํานวน | 25 | แห่ง |
-โรงงานอุตสาหกรรม | จํานวน | 1 | แห่ง |
-โรงสี | จํานวน | 31 | แห่ง |
สภาพทางสังคม การศึกษา
-โรงเรียนประถมศึกษา จํานวน 6 แห่ง
-ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจําหมู่บาน/ห้องสมุดประชาชน จํานวน 13 แห่ง
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
-ว /สํานกสงฆ์ จํานวน 12 แห่ง
สาธารณสุข
-สถานีอนามัยประจําตําบล/หมู่บ้าน จํานวน 2 แห่ง
-อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ํา ประมาณร้อยละ 90
การบริการพ้ืนฐาน
การคมนาคม
การคมนาคมทางบก สามารถติดต่อกันในทุกหมู่บ้านและนอกตําบลได้ทุกฤดูกาล โดยมีถนนลาดยาง ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ผ่านกลางตําบลในแนวเหนือ – ใต้ โดยเร่ิมจาก บ้านด่าน หมู่ที่ 14 ไปทางทิศเหนือจนถึงอําเภอสังขะ และมีถนนลาดยางสายสุรินทร์ – ช่องจอม ผ่านทางทิศใต้ตําบลด่านตรงจุด บ้านด่าน และถนนเส้นนี้จะเลยไปถึงเขตอําเภอสังขะ และอําเภอบัวเชดในทางทิศตะวันออก และในทางทิศ ตะวันตกจะไปอําเภอกาบเชิง บ้านโจรก หมู่ 2 เป็นหมู่บ้านที่ไกลที่สุด ห่างจากอําเภอ 21 กิโลเมตร และ หมู่บ้านอยู่ใกล้ที่สุด 11 กิโลเมตร ได้แก่ บ้านด่าน หมู่ 14 และมีถนนลาดยางในความรับผิดชอบของสํานักงาน เร่งรัดพัฒนาชนบท คือ ถนนสายเกษตรถาวร – บานสนวน ผ่านบ้านห้วยปาง โจรก และสนวน ตามลําดบั
การโทรคมนาคม
- ที่ทําการไปรษณีย์อนุญาต จํานวน 1 แห่ง
การไฟฟ้า
- หมู่บ้านท่ีมีไฟฟ้าใช้ จํานวน 18 หมู่บ้าน
- จํานวนประชากรท่ีมีไฟฟ้าใช้ จํานวน 11,354 คน
แหล่งน
ธรรมชาติ
- ลําน้ํา ลําห้วย จํานวน 12 สาย
- บึง หนองและอ่ืน ๆ จํานวน 6 แห่ง
แหล่งนํ้าที่สร้างขึ้น
-ฝาย จํานวน 11 แห่ง
-บ่อนําดื่ม จํานวน 213 แห่ง
-บ่อโยก (บาดาล) จํานวน 259 แห่ง
ข้อมูลด้านอื่น ๆ
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ตําบลด่านมีทรพยากรธรรมชาติที่สําคญั ได้แก่ ป่าไม้ หินกรวด สัตว์ป่า และ แหล่งนํ้าตามธรรมชาติ
ศักยภาพของชุมชนและการรวมกลุ่มของประชาชน จําแนกเป็น
-กลุ่มอาชีพ จํานวน 5 กลุ่ม
-กลุ่มออมทรพย์ จํานวน 4 กลุ่ม
-กลุ่มสหกรณ์ จํานวน 1 กลุ่ม
-มวลชนจดตั้ง จํานวน 640 คน
จุดเด่นของพ้ืนที่
พืนที่ของตําบลดานเป็นเนินเขาบริเวณทางดานทิศใต้ ซึ่งมีระดับความสูงประมาณ 250 เมตร ซึ่งจะ เป็นพื้นท่ีเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้และสัตว์พอสมควร และพื้นที่จะลาดเอียงมา ทางทิศเหนือมีระดับความสูงประมาณ 190 เมตร เป็นที่ต้ังหมู่บ้านต่างๆ มีประมาณ 50% ของพื้นที่ทั้งตําบล ตําบลด่านมีพื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ที่ใช้ทําการเกษตร ได้แก่ ปลูกข้าว ปลูกอ้อย ปลูกมันสําปะหลัง ปลูกปอ แก้ว ปลูกไม้ผลและต้นยางพารา เป็นต้น พื้นที่ตําบลด่านเป็นพื้นที่ชายแดนติดต่อกับเขตพื้นที่ประเทศกัมพูชา ซ่ึงมีบริเวณท่ีติดต่อซื้อขายสินคาและบริการการท่องเที่ยวที่มีช่ือ “จุดผ่านแดนผ่อนปรนช่องจอม”
ภาพที่ 5 แผนที่ตําบลด่าน
4.1.3 บริบทกรุงสําโรง จังหวดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา
จังหวัดอุดรมีชัย
จังหวัดอุดรมีชัย ก่อต้ังเมื่อปีคริสต์ศักราช 1964 (พ.ศ. 2507) ตามคําประกาศของทางราชการ เลขที่
194 เม่ือวันที่ 12 กรกฎาคม 2507 ต้ังแต่สมัยสังคมนิยม (2496-2513) ภายใต้การนําของพระบาทสมเด็จพระ
นโรดมสีหนุ พระมหากษัตริย์ ภายหลังจากเกิดสงครามในปี 1970 (2513) โครงสร้างการบริหารราชการได้ข้ึน ต่อจังหวัดเสียมเรียบ
ตามพระราชกฤษฎีกาเลขท่ี 0195/07 ลงวันที่ 27 มกราคม 2538 จังหวัดอุดรมีชัยได้ก่อตั้งจังหวัด ขึ้นมาใหม่โดยแยกออกจากจังหวัดเสียมเรียบ ขณะน้ันระบบโครงสร้างพื้นฐานยังไม่ค่อยมีความก้าวหน้าเท่าใด นัก จนกระทั่งวันที่ 27 มกราคม 2538 (1995) พณ.ท่านซอ เค็ง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงภายใน ได้ประกาศให้บริหารราชการอย่างเป็นทางการต้ังแต่บัดน้ันเป็นต้นมา ซ่ึงเวลานั้นได้เกิด หน่วยงานการท่องเที่ยวและหน่วยงานอื่นๆ อีกดวย
ภูมิศาสตร์เขตอุดรมีชัย
จังหวัดอุดรมีชัย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา ระยะทางห่างจากกรุง พนมเปญ จํานวน 469 กิโลเมตร ตามเสนทางหลวงหมายเลข 5 หรือ ทางหลวงหมายเลข 6 ตัดผ่านทางหลวง หมายเลข 68 ระยะทาง 447 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อ คือ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดพระวิหาร
ทิศตะวนตก ติดต่อก จังหวดบันเตยเมี ียนเจย
ทิศใต้ ติดต่อกบั จังหวัดเสียมเรียบ
ทิศเหนือ ติดต่อกับประเทศไทย 3 จังหวัด คือ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ (ความยาว 224
กิโลเมตร)
การปกครองแบ่งออกเป็น 5 เขต 4 อําเภอ (อําเภอจ็องกัล บันเตียอําปึล อัลลองเวง และตระเปียง ปราสาท) 24 ตําบล 233 หมู่บ้าน มีประชากร 227,740 คน มีพ้ืนท่ี 663,168 ตารางกิโลเมตร ความ
หนาแน่นของประชากร 32 คนต่อตารางกิโลเมตร (ข้อมูลปี 2013-2014)
จังหวัดอุดรมีชัย อยู่ภายใต้การนําของสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเตโชฮุนเซน นายกรัฐมนตรีของกัมพูชา ได้ทําให้สถานที่ที่เคยเกิดสงครามแห่งน้ีมีเสถียรภาพและสันติภาพ กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ซึ่งมีความสําคัญต่อการรักษาและพัฒนาการท่องเที่ยวภายในจังหวัด เพื่อ ดึงดูดนักท่องเที่ยงทง้ ภายในและภายนอกประเทศให้มาเย่ียมเยือน
จังหวัดอุดรมีชัย มีช่องทางระหว่างประเทศ จํานวน 3 แห่งและช่องทางท้องถ่ิน จํานวน 1 แห่ง คือ
(1) ช่องทางระหว่างประเทศ ได้แก่ โอลเสม็ด-ช่องจอม มีพรมแดนติดกับอําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย ระยะทาง 41 กิโลเมตร จุม-สะงํา มีพรมแดนติดกับอําเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ ประเทศไทย ระยะทางห่างจากอําเภออัลลองเวง จํานวน 14 กิโลเมตร และจ็อบโกกี-สายตะกู มีพรมแดนติดกับอําเภอบ้าน กรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ผ่านจังหวัดบันเตียอําปึลระยะทางห่างจากกรุงสําโรง 53 กิโลเมตร และ (2) ช่องทาง ท้องถิ่น ไดแก่ ทมอโดน มีอาณาเขตติดต่อกับจงหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย ห่างจากกรุงสําโรง 52 กิโลเมตร
วัดปราสาทเร๊ียะเจียสําโรง
วัดปราสาทเรี๊ยะเจียสําโรง ตั้งอยู่ท่ีบ้านสําโรง กรุงสําโรง อยู่ทางทิศตะวันออกติดกับถนนหมายเลข 64 ทิศตะวันตกติดถนน ทิศเหนือติดบึงโสน ทิศใต้ติดกับโรงเรียนเก่า ระยะทางห่างจากศาลากลางจังหวัด 1 กิโลเมตร
วัดนี้ได้ก่อสร้างก่อนปีคริสต์ศักราช 1923 (พ.ศ. 2466) ตามงานวิจัยของปราชญ์ชาวบ้านนั้นได้กล่าว ว่า สมัยท่ีท่านยังเด็ก พ่อท่านเล่าให้ฟังว่าวัดนี้ก่อสร้างครั้งแรกที่สระจระเข้ แต่จําสถานที่ไม่ได้ อยู่ติดกับแหล่ง น้ําไกลออกไปจากหมู่บ้าน ครั้งที่ 2 สร้างอยู่ท่ีป่าอ็องกุยแต่อยู่ได้ไม่นานชาวบ้านก็มีมติให้สร้างวัดปราสาทแห่ง
น สาเหตุที่เรียกช่ือวัดปราสาทเรี๊ยะเจียสําโรง เนื่องจากสร้างบนเนินเขาและมีคูน้ําล้อมรอบพระวิหาร
บึงโสน
บึงโสน มีขนาดพื้นท่ี 1,400 X 910.9 เมตร ต้ังอยู่ที่บ้านชู๊ก กรุงสําโรง (อยู่ตรงกลางสถานท่ีราชการ จังหวัดอุดรมีชัย)
ตามประวัติบึงโสนแห่งนี้ ชาวบ้านในหมู่บ้านได้เล่าต่อๆกันมาว่า แต่ก่อนบึงนี้มีต้นโสนเกิดขึ้นอย่าง อุดมสมบูรณ์จํานวนมาก ทังทางทิศเหนือและทิศตะวันออก อีกอย่างหนึ่งตรงกลางบึงอุดมไปด้วยต้นกก ต้นพล็ วง และดอกบัว ที่ยังประโยชน์ให้กับปลาทุกชนิดและสัตว์ปีก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นพวกสัตว์ปีก นกเป็ด น้ํา นก กระยาง นกกระสา เป็นต้น บึงโสนแห่งนี้จึงกลายเป็นแหล่งสําคัญสําหรับการพักผ่อนและดึงดูดนักท่องเท่ียว ได้มาน่งเล่น ดูพระอาทิตย์ตกดิน และเพลิดเพลินกับการชมฝูงนกที่อยู่กลางบึง
นอกจากน้ี เจ้าหน้าที่และประชาชนกําลังเตรียมการขุดบึงให
ึกขึนเพื่อกักเก็บน้ําไว้ใช้ในฤดูแล
พร้อม
ตกแต่งสวนสวยงามด้วยรูปปั้นต่างๆ (ช้าง ม้า หงส์ พญานาค นกยูง) และปลูกต้นไม้บริเวณรอบบึง เพื่อให้มี อากาศบริสุทธิ์สําหรบประชาชนทงั ในและนอกได้พักผ่อนหย่อนใจ
ทุกปีจะมีงานสําคัญที่ทางจังหวัด หน่วยงานอื่นๆที่อยู่รอบบึงและประชาชนได้ทําร่วมกันคือ งานบุญ แข่งเรือ ไว้พระจันทร์ เพ่ือดึงดูดนักท่องเที่ยวได้มาเย่ียมชม ส่งผลให้มีที่พักเพิ่มขึ้นในจังหวัดอีกด้วย
นําตกดาจําปี
น้ําตกดาจําปี หรือนํ้าตกจําปี หรือน้ําตกโลอางตาท็อง ต้ังอยู่ที่บ้านรู๊ดจําปี โอลเสม็ด กรุงสําโรง ไป ทางทิศเหนือตามเส้นทางหลวงหมายเลข 68 ห่างจากศาลากลางจังหวัด 35 กิโลเมตร
สถานที่นี้เป็นแหล่งธรรมชาติท่ีมีหินขนาดใหญ่ขนาด 500 ตารางเมตร อยู่ตามร่องเขาและมีทางน้ํา
ไหลสําหรับให้นักท่องเท่ียวไดเล่นน
นอกจากน
บรเวณลําธารยังมีกลวยไม้หรือดอกไม้อื่นๆอีก
จากนํ้าตกไปอีกประมาณ 500 เมตร มีสถานที่ทางวัฒนธรรมที่ก่อสร้างโดยพระสงฆ์และชาวบ้านท่ีอยู่
แถบนั้น หรือที่รู ักในชอร๊่ื ูดจําปี ซึ่งมีรูปป้ันอนๆตงแตประสู่้ั่ื ตถิ ึงสวรรคต รวมทังรูปสัตว์ปาอ่่ ืนๆอกมากมายี
สถานที่ท่องเที่ยวที่สําคัญ
จังหวัดอุดรมีช มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สําคญอนๆอกมากมายี่ื เชน่
1) ละลุ๊ ซึ่งเกิดจากดินทรุดตัว กลายเป็นดินท่ีมีรูปทรงสวยงาม อยู่บ้านตระเปียงตูง เขตโกนเกรียล กรุงสําโรง
2) ปราสาทตาเมือน บานกู ตําบลโคกหม่อน อ.บนทายอําปึล
3) ปราสาทตาควาย ตําบลโคกสูง อ.บันทายอําปึล
4) สะพานหินโบราณ ตําบลเชิงเทียน อําเภอจองกลั
5) ปราสาทพรหมกิล ตําบลเชิงเทียน อําเภอจองกัล
6) ปราสาทตระเปียงปราสาท บ้านตระเปียงปราสาท อําเภอตระเปียงปราสาท
7) สถานท่ีท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์เขมรแดง อําเภออัลลองเวง
8) สถานที่เผาศพของโปลโป๊ด บานเชิงพนม ตําบลตระเปียงปรี อําเภออัลลองเวง
9) บ้านตาม๊อก อําเภออัลลองเวง
10) บ้านโปลโป๊ดเขียวสัมพนธ์ บ้านกรอยูง ตําบลตระเปียงปรี อําเภออัลลองเวง
11) สถานที่เผาศพของซุนเซน บานสระโชค ตําบลตระเปียงปรี อําเภออัลลองเวง
12) บึงอัลลองเวง
อําเภอกรุงสําโรง
ตํานานเล่าสืบต่อกันมาของผู้เฒ่าผู้แก่ว่า การตั้งถ่ินฐานของกรุงสําโรงต้ังแต่เมื่อใดไม่มีใครทราบ สันนิ ฐานว่า ในอดีตภูมิสํารอง สมัยก่อนมีผู้ปกครองเรียกว่า สะด๊ัจกรัญ (ลักษณะเหมือนหัวหน้าก๊ก หรือหัวหน้าชน เผ่าในอดีต) สะดั๊จกรัญ เป็นผู้มีความสมารถและมีอํานาจมาก เข้าตีทําสงครามกับเมืองข้างเคียง หรือก๊ก ข้างเคียง หากชนะได้เมืองข้ึนและทาสเชลย แผ่ขยายบารมี และได้นําเชลยมาใช้แรงงานสร้างบ้านแปลงเมือง (ปัจจุบันยังเหลือร่องรอยปราสาทเก่าโบราณ ตั้งอยู่บริเวณวัดปราสาทราชาสําโรง และมีบึงสโนว์ ตั้งอยู่บริเวณ ใกล้เคียงกัน ผู้เฒ่าเล่าว่า บึงนี้ไม่ใช่บึงธรรมชาติ แต่เป็นบึงที่ใช้คนขุด กว้างประมาณ 2 กิโลเมตร ยาว 2 กิโลเมตร)
ข้อสันนิฐานอีกประการที่สอง ภูมิสําโรง ผู้คนอพยพมาจากอําเภอจองกัลป์ (ปัจจุบันตั้งอยู่ทางทิศไต้ กรุงสําโรง ห่างประมาณ 40 กิโลเมตร) เนื่องจากท่ีอยู่เดิมมีลักษณะไม่เหมาะสม จึงแสวงหาที่อยู่ใหม่ บริเวณ
ภูมิสํารองในปัจจุบัน เพราะมีพืนท ุดมสมบรณู ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก และการดารงชํ ีพ
ข้อสันนิฐานประการที่สาม การตั้งถิ่นฐานเกิดจากการโยกย้ายอพยพของชุมชนท่ีประสบโรคห่า ใน สมัยนั้น แลวโยกยายมาอยู่บริเวณบ้านสําโรงในปัจจุบัน
ร้อยปีล่วงผ่านภูมิสําโรง ก่อตั้งหมู่บ้านเป็นกิจจะลักษณะ (อยู่ตรงบ้านโดนแกนในปัจจุบัน ห่างจากวัด ปราสาทราชาสําโรง ไปทางทิศตะวันออก 2 กิโลเมตร) สมัยก่อนเรียกว่าบ้านสําโรงสะดู๊จ (ลักษณะต้นสําโรงท่ี ใหญ่และสูงมาก) ต่อมามีการสร้างวัดปราสาทราชาสําโรงขึ้น ชุมชนนิยมอยู่รอบบริเวณวัด เลยย้ายมาตั้ง หมู่บ้านบริเวณนี้แทนในชื่อเดิม บริเวณบ้านเก่าต้ังเป็นหมู่บ้านใหม่ ชื่อว่า บ้านโดนแกน สาเหตุที่ย้ายมาสร้าง หมู่บ้านบริเวณนี้แทนบ้านเดิม เพราะอยู่ใกล้บึงสโนว์ แหล่งน้ําขนาดใหญ่กว่าท่ีตั้งเดิม ในอดีตชาวบ้านเคย
เดินทางไปมาหาสู่กับชุมชนตําบลด่าน ในรูปแบบการแลกเปลี่ยนสินค
นําปลาแห
ปลาเฮาะ ไปแลกข้าว และ
ขาย พร้อมท้ังมีญาติพี่น้อง และการเกี่ยวดองแต่งงาน ใช้เวลาเดินทางอย่างเร็วจากกรุงสําโรงถึงช่องจอม 1 วัน โดยการใช้เกวียน และเดินทางเท้า
ช่วงปี พ.ศ. 2518 – 2520 เกิดสงครามเขมรแดง ท่ัวทั้งประเทศ ชาวบ้านส่วนหน่ึงหนีเข้าพักพิงที่ ประเทศไทย ส่วนหน่ึงหนีเข้าป่ารอบๆ กรุงสําโรง ส่วนหนึ่งหนีไม่ทันกลายเป็นเชลยแรงงาน และถูกส่งไป ทํางานยังท่ีอื่น ช่วงนันภายในกรุงสําโรงมีแต่ทหารอยู่เท่าน้ัน เชลยแรงงานอยู่ตามไร่นา ได้รับข้าววันละ 1 ถ้วย และทํางานตลอดทั้งวัน เหตุการณ์สงครามเกิดขึ้น 3 ปี 8 เดือน 20 วัน ถึงได้สงบลง แต่ถึงกระนั้น ยังมีการสู้ รบระหว่างทหารรัฐบาลและทหารเขมรแดงอยู่เนืองๆ นับสิบปี ไฟสงครามจึงค่อยๆ สงบลง รกรากถิ่นฐานเดิม หลงสงครามเริ่มใหม่อีกครั้ง ญาติพ่ีน้องไม่ไดพบเจอกนั บางคนไปอยู่ท่ีอ่ืน ตามหากันไม่เจอ การประกอบอาชีพ และประเพณีวัฒนธรรมเริ่มมีการฟ้ืนฟูจากผู้เฒ่าผู้แก่ จากพระสงฆ์ ชีวิตเริ่มมีปกติสุขขึ้น การไปมาหาสู่กับ ชุมชนในประเทศไทย ช่วงน้ีขาดหายไปไม่สามารถข้ามไปได้เช่นแต่เก่าก่อน ผลพวงจากสงครามมีกับระเบิดฝัง อยู่ท่วไป และมีกําลังทหารควบคุมชายแดนไม่อนุญาตเข้าออกได้
ภูมิสําโรงแต่ก่อนขึ้นจังหวัดเสียมเรียบ ประมาณปี ค.ศ. 1960 ภูมิสําโรงได้ยกสถานะเป็นกรุงสําโรง ขึ้นต่อจังหวัดอุดรมีชัย เป็นศูนย์กลางราชการจังหวัดอุดรมีชัย ปัจจุบันผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรมีชัย ช่ือว่า นาย ซอ ทาวี นายอําเภอกรุงสําโรง คนท่ี 1. นายนะ ทนัล 2. นายทนนอล (ค.ศ. 2008-2014) 3. นายอุน โซเภี๊ยะ
(2014- ปัจจุบ ) กํานัน นายเจีย ตบ (2001-ปจจั ุบนั )
อาณาเขตกรุงสําโรง จังหวดอุดรมีชัย
ทิศเหนือ ติดต่อ เทือกเขาพนมดงรกษ์ชายแดนประเทศไทย ทิศใต้ ติดต่อ อําเภอจองกลป์ จังหวดอุดรมีชยั
ทิศตะวนออก ติดต่อ อําเภออลลองเวง จังหวัดอุดรมีชัย ทิศตะวันตก ติดต่อ อําเภอบนเตียอําปึล จังหวัดอุดรมีชยั
ประชากร
กรุงสําโรงมีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 51,382 คน แยกออกเป็น ชาย 21,599 คน และหญิง 29,783
คน จํานวนครวเรือน 10,293 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร 38 คน ต่อ 1 ตารางกิโลเมตร
การประกอบอาชีพ
ประชากรกรุงสําโรงส่วนใหญ่ ร้อยละ 88 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจหลักๆ ได้แก่ ข้าว มันสําปะหลัง มะม่วงและผักสวนครัว นอกนั้น ร้อยละ 12 ประกอบอาชีพ ค้าขาย รับราชการ รับจ้างและ อื่นๆ
กรุงสําโรงมีประชากรวัยทํางาน อายุ 18 ปี ขึ้นไป ที่มีงานทํา ร้อยละ 97 โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อ ประชากร ปี 2549 ประมาณ 800 ดอลล่าร์/คน/ปี ปัจจุบัน 1,000 ดอลล่าร์/คน/ปี
ดานการศึกษา
- โรงเรียนช้นประถมศึกษา จํานวน 13 แห่ง
- โรงเรียนมธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 5 แห่ง
- โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 2 แห่ง
- โรงเรียนเอกชน สอนภาษไทย อังกฤษและคอมพิวเตอร์ เป็นหลัก จํานวน 10 แห่ง
ด้านทรัพยากรป่าไม้ มีพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด 32,454 เฮกตาร์ จัดการดูแลโดยกลุ่มองค์กรในพื้นท่ี 3
กลุ่ม ไดแก่ กลุ่มรตนรุกขา สังขวรรณและกลุ่มอนุรักษ์
แหล่งนํ้าท่ีสําคญั ไดแก่ เข่ือนบ้านกระทม น
โบราณสถาน มีปราสาทหิน จํานวน 5 แห่ง
ตกโอร์เสม็ด
4.2 สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา
จากการบอกเล่าของพ่อสุบี ดีงาม อดีตกํานันตําบลด่าน บ้านด่านก่อตั้งเมื่อไหร่ นานเท่าใด ไม่มีใคร ทราบ ตามคําบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่สมัยก่อน บริเวณบ้านด่านเป็นป่าทึบ มีความอุดมสมบูรณ์ สัตว์ป่าชุกชุม มี ทางเดินของสัตว์ป่าเรียกว่า “ดานสัตว์” (เรียกตามภาษาท้องถิ่น) พรานมาล่าสัตว์บริเวณนี้เป็นประจํา และ ชาวบ้านอาศัยเส้นทางนี้สัญจรไปมา และสาเหตุที่ชื่อบ้านด่าน เพราะเป็นหน้าด่านขึ้นลงระหว่างประเทศไทย กับประเทศกัมพูชา ภาษาท้องถ่ินสุรินทร์เรียกว่า “ดาน” ส่วนท่ีชื่อช่องจอม มีเร่ืองเล่าว่ายายจอมกับตาดานท่ี อยู่หมู่บ้านเก่า ไปทําไร่ที่ช่องจอมแล้วป่วยตายท้ังสองคน จึงตั้งชื่อสระน้ําว่า “ตระเปียงจอม” ต่อมา มีการ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและบุกเบิกที่ทํากินเพ่ิมมากขึ้น โดยต้ังบ้านเรือนอยู่กันเป็นคุ้มๆ ได้แก่ คุ้มบ้านยาง (ปัจจุบันคือ บ้านหนองกระทม หมู่ 18 ต้ังอยู่ทางทิศตะวันตกบ้านด่านพัฒนา) คุ้มด่านกันดาล (ปัจจุบัน คือ บ้านด่านพัฒนา หมู่ 14 และเป็นที่ต้ังของตลาดช่องจอม) และคุ้มบ้านตน๊บ (ปัจจุบัน คือ บ้านโนนสําราญ หมู่ 12)
ในอดีต บ้านด่านอยู่ในเขตการปกครองของตําบลขนาดมอญ อําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ผู้ใหญ่บ้าน คนแรก คือ นายเมา เมาเสม เพ่ือความสะดวกในการปกครองและความปลอดภัยของชาวบ้าน เนื่องจากช่วง ระยะน้ันมีการลักขโมยวัวควายและไล่ต้อนเข้าประเทศกัมพูชากันมาก ประมาณปี พ.ศ. 2502 นายอําเภอ สงขะ จึงได้มอบหมายให้ปลัดทวี คงเก่ง มาประชุมประชาคมแกนนําคุ้มบาน เพื่อสอบถามความคิดเห็นในเร่ือง การโยกย้ายหมู่บ้านและจัดทําแผนผังการจัดสรรที่ดินเพื่ออยู่อาศัยให้แก่ชาวบ้านใหม่ มีแกนนําทั้ง 4 คุ้มบ้าน เข้าร่วมประชุมปรึกษาหารือ ผลการประชุมมีผู้สมัครใจท่ีจะเข้าร่วมจํานวน 10 หลังคาเรือน ได้แก่ พ่อสุบี ตา ดวง เจริญสุข ตาพรม ทองยวง (บ้านด่านเก่า) ตาเกา สําราญสุข ตานอม สุขเต็ม (บ้านยาง) ตาเมา สุขเต็ม ตา ซัน จันทร์ประโคน ตาแมน โพธ์ิเงิน (พ่อนายแมนมาจากกมพูชา) นายหาด เมาเสม นายเมา สําราญสุข ตาแป๊ะ วงศ์เจริญ ทางราชการจึงได้จัดสรรท่ีดินโดยการแบ่งเป็นล็อคๆละ 2 ไร่ เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยและจัดสรรเป็นที่ดิน
ทํากินครอบครัว 15 ไร่ ต่อมา มีสร้างวัดและสร้างโรงเรียน เพื่อประกอบพิธีทางศาสนาและเป็นสถานศึกษา ให้แก่บุตรหลาน ในปี พ.ศ. 2503 ผู้ใหญ่บ้านคนเก่าลาออก ชาวบ้านได้คัดเลือกพ่อสุบี ดีงาม ขึ้นมาเป็น ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 1 ตําบลด่าน อําเภอสังขะ ช่วงระยะนี้ชาวบ้านจากต่างถิ่นฐานได้เข้ามาอยู่อาศัยและประกอบ อาชีพเพิ่มมากข้ึน ทําให้หมู่บ้านขยายตัวและเจริญขึ้น ปัจจุบันชาวบ้านด่านพัฒนา ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ ที่หลากหลาย ทั้งเขมร ลาว ไทยและคนจีน ซึ่งโยกย้ายถิ่นฐานมาจากหลากหลายพ้ืนที่ 1) จังหวัดร้อยเอ็ด (สกุลวงศ์เรืองศรี) มาจากบ้านหนองอ่าง ตําบลกําแพง ตําบลเกษตรวิสัย ตั้งแต่ปี 2508 2) จังหวัดยโสธร 3) จังหวัดสุรินทร์ มาจากหลายอําเภอ คือ อําเภอเมือง (นายถาวร วังเวงจิต) มาจากบ้านราม ตําบลเพ้ียราม อําเภอเมือง บ้านตากูก ตําบลเขวาสินรินทร์ มาต้ังแต่เรียนจบ อําเภอสําโรงทาบ (สกุลบุราคร) อําเภอรัตนบุรี อําเภอท่าตูม (บ้านเลาพรหมเทพ ตําบลพรมเทพ) มา 30 กว่าปีแล้ว อําเภอจอมพระ (จากบ้านปวงตึก) อําเภอ ชุมพลบุรี อําเภอปราสาท (นายไว พยุงสกุล) มาอยู่หลังเขมรแตก 3 วัน แต่ก่อนไปอยู่บ้านกลอ (บ้านไห) บันเตียชมา ใกล้บ้านซลอจงัน กัมพูชา 4) จังหวัดศรีสะเกษ (ยายพุท จากบ้านเมืองหลวง อําเภอห้วยทับทัน มาเม่ือปี 2509 5)จังหวัดกาญจนบุรี (สมบัติ พันธุวงศ์) จากบ้านช่องกลิ้งช่องกลด อําเภอเหล่าขวัญ มาอยู่เม่ือ ปี 40 (เป็นเขย) 6) จังหวัดนครราชสีมา เลย เชียงราย อุดรธานี ขอนแก่น และจังหวัดกาฬสินธุ์ (ส่วนใหญ่ เป็นเขยหรือสะใภ้) 7) จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา (สะใภ้ผู้ใหญ่โคลด สุขเต็ม มาจากจังหวัดเสียม
เรียบ) สาเหตุที่โยกย้ายเข้ามาอาศัยอยู่เพราะแต่งงานเป็นเขยหรือสะใภ้ อยากได ี่ดนทํิ ากินเพราะอุดมสมบรณ์ู
มาก (หาของป่า เช่น หน่อไม้ ผลไม้หรือสัตว์ป่าไปขาย) และประกอบอาชีพค้าขายช่วงเปิดตลาดช่องจอม
ปี พ.ศ. 2504 นายสบี ดีงาม ได้รับเลือกเป็นกํานันตําบลด่านอําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ อยู่ใน ตําแหน่งเป็นเวลา 18 ปี ได้ลาออกจากตําแหน่งจึงได้เลือกต้ังกํานันตําบลคนใหม่ ได้นายผดุง สภารัตน์ เป็น กํานันตําบลด่าน อําเภอสงขะ อยู่ในตําแหน่งได้ 2 ปี
ปี พ.ศ. 2518 - 2520 เกิดสงครามรุนแรงที่สุด เดิมบ้านด่านมีอยู่ 500 กว่าหลังคาเรือน แต่พอเกิด สงครามก็อพยพโยกย้ายกลับบ้านหรือไปอยู่ที่อื่น เช่น กรุงเทพ คนที่อยู่ในพื้นที่ ตกบ่ายไปหลบซ่อนตามป่าหัว ไร่ปลายนา ตามจอมปลวกหรือหนองนําบาง โรงเรียนถูกเผา มีการปล้นสะดมในหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง เส้นทาง ที่เคยติดต่อระหว่างชายแดนตัดขาด มีกบระเบิด กลายเป็นที่ต้องห้ามอันตราย
ปี พ.ศ. 2520 ตําบลด่านโอนย้ายจากอําเภอสังขมาขึ้นต่ออําเภอกาบเชิง มีผู้ใหญ่บ้านตามลําดับ ดังนี้ ผู้ใหญ่ประกอบ ผู้ใหญ่ทองแถมและผู้ใหญ่บุญหนา วรติยะ เมื่อประชากรเพิ่มจํานวนมากขึ้นและเพื่อความ สะดวกในการปกครอง จึงมีการแยกการปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้าน คือ หมู่ 1 บ้านด่าน ,หมู่ 12 บ้านโนน สําราญ ,หมู่ 14 บ้านด่านพัฒนา, หมู่ 18 บ้านหนองกระทม ,หมู่ 17 บานไพรเงิน
ในปี 2535 ยุคสมัย พลเอกชาติชาย ชุนหวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศนโยบายเปล่ียนสนามรบ เป็นสนามการค้า ทางราชการได้ทําการจัดสรรที่ดินทํากินให้กับชาวบ้านและดําเนินโครงการอีสานเขียว มีการ ส่งเสริมปลูกป่ายูคาลิปตัสบริเวณเขตชายแดนเพื่อเป็นแนวกันชนระหว่างประเทศ
ปี พ.ศ. 2536 เปิดตลาดช่องจอมครั้งแรก โดย สส.สมบัติ ศรีสุรินทร์ ชาวบ้านจึงเรียกว่า “ตลาด สมบัติ” ทําการค้าขายระหว่างไทย กับกัมพูชา ช่วงนั้นชาวไทยห่อข้าวต้ม นําพืชผักไปแลกเปลี่ยนกันได้ ชาว กัมพูชานําของป่า เส่ือหวาย ปลาแห้ง ปลาร้า มาแลกข้าวสารพืชผัก มีผู้คนจากทุกสารทิศเข้ามาท่องเท่ียว และ เริ่มรู้จักบานด่านมากขึ้น
ในอดีตนั้น การค้าชายแดน จะเป็นการแลกเปล่ียนสินค้าที่เป็นอาหารการกิน เช่น ปลาร้าหรือปลา เฮาะ (ภาษาท้องถิ่นสุรินท์) ปลาแห้ง เกลือ เป็นต้น โดยทางอําเภอจัดส่งเจ้าหน้าที่มาคอยเก็บภาษี (ข้อมูลจาก การสัมภาษณ์พ่อสุบี ดีงาม) ทางประเทศกัมพูชา ก็มีเจ้าหน้าที่เก็บภาษีเช่นเดียวกัน ประชาชนไปมาหาสู่กัน อย่างปกติสุข จนกระท่ังประเทศกัมพูชามีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองความขัดแย้งลุกลามเป็น
สงครามภายในประเทศ ด่านเข้าออกทั้งสองฝ่ังปิดกั้นด้วยกําลังทหารและกับระเบิด ความสัมพันธ์เก่าก่อนขาด
สะบ้นลง กลายเป็นความกลัว ความหวาดระแวง ไม่ไว้ใจกัน ตอกยําอคตประวัติศาสตร์ในอดีตให้ลึกข กวาเด่ ิม
ชุมชนชายแดนรับผลพวงจากเหตุการณ์ในครั้งนี้อย่างเลี่ยงไม่ได้ เพื่อความปลอดภัยในชีวิตบ้างย้ายที่อยู่ไปสู่ บ้านเดิม บ้างไปอยู่ต่างจังหวัด มีส่วนน้อยที่ยังอยู่เช่นเดิม แต่อยู่อย่างหวาดกลัว จนกระทั่งภายหลังการ ประกาศนโยบายเปล่ียนสนามรบเป็นสนามการค้าและเปิดพรมแดนช่องจอม การค้าขายชายแดนมีความคึกคัก มากขึ้น ช่วงแรกเปิดตลาดใหม่ยังไม่มีสํานักงานตรวจคนเข้าเมือง คนของตลาดสมบัติจะทําเรื่องผ่านแดน โดย ใช้บัตรวันต่อวัน มี 7 สี เพื่อป้องกันการไปค้างคืน และไทยจะลงไปกัมพูชาสามารถลงไปได้เลย ไม่มีเจ้าหน้าที่ คอยตรวจเหมือนทุกวันน้ี ฝั่งกัมพูชามีตลาดเรียกว่า ตลาดโอลเสม็ด ชาวไทยมักไปเที่ยวและแลกเปล่ียนสินค้า ซึ่งกันและกัน ต่อมากลายมาเป็นการค้าขาย ตลาดสมบัติ เริ่มมีการซื้อแผงขายสินค้า มีเจ้าของเป็นทั้งคนไทย และชาวกัมพูชา ชาวบ้านด่านและชาวบ้านโอลเสม็ด ช่วงนี้เป็นยุคทองทางการค้าไทย-กัมพูชา มีอาชีพเกิดใหม่ หลากหลาย เช่น อาชีพลากรถเข็นขนถ่ายสินค้าระหว่างไทยกัมพูชา มอเตอร์ไซรับจ้าง อีกท้ังผู้คนจากทุก สารทิศได้หล่ังไหลเข้ามาทั้งชาวไทยและชาวกัมพูชา เพ่ือเท่ียวชม ซ้ือสินค้าตลาดสมบัติ ชาวบ้านมีอาชีพ มี
รายได ั่นคง วันหนึ่งรายไดไมตากว่ํ่้ า 1,000 บาท ชมชนชายแุ ดนไทย กมพูชา เริ่มมผี ูคนต่างถิ่นเขามาอย้ ู่อาศัย
เพ่ิมขึ้น คุณภาพชีวิตมั่นคงขึ้น ส่งผลให้หมู่บ้านมีความเจริญข ตามลําดับ
4 ไร
ปี พ.ศ. 2538 เริ่มมีศูนย์ประสานงานชายแดนไทย-กัมพูชา
ปี พ.ศ. 2539 สํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตร (สปก.) แจกที่ดินให้คนที่ไม่มีท่ีดินทํากิน ให้คนละ
ปี พ.ศ. 2545 รัฐบาลประกาศจุดผ่านแดนถาวรช่องจอม การข้ามพรมแดนต้องมีเอกสารเอกสารทาง
ราชการ พรอมท้ังต้องเข้าออกในช่องทางที่ภาครัฐกําหนดเท่าน้ัน นโยบายจังหวดสุรินทร์เร่ิมเข้ามาส่งเสริมและ พฒนาเขตพื้นที่ชายแดนอย่างเป็นรูปธรรมมากขน้ึ
ปี พ.ศ. 2547 มีการเปิดบ่อนคาสิโนบริเวณชายแดนฝั่งโอลเสม็ด ประเทศกัมพูชา ชาวไทยทั้งในตัว จังหวัดสุรินทร์และข้างเคียงหล่ังไหลเข้าไปเล่นการพนันเป็นจํานวนมาก เป็นปัญหาทางสังคมประการหนึ่งที่
ยากแก่การแก้ไข บางรายสิ้นเนื้อประดาตัว หน ินรุงรัง
ปี พ.ศ. 2549 ยายตลาดการค้าชายแดนจากตลาดสมบัติ มาต้งอยู่บริเวณหมู่ ที่ 14 ติดกับวัดบานด่าน (บริเวณโรงเรียนบ้านด่านเก่า) ชาวบ้านเรียกว่า ตลาดการค้าชายแดนช่องจอม อยู่ติดชุมชน เกิดการสร้าง อาชีพใหช้ ุมชนมากขึ้น มีรายได้จากการขายสินค้าพืนบาน การรับจาง คนต่างถิ่น พ่อค้า นายทุน มีบทบาทมาก ขึ้นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองท้องถิ่น ราคาที่ดินขยับตัวสูงขึ้น เกิดการซื้อขายแลกเปล่ียนและ เปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดินเชิงการค้ามีมากข้ึนเป็นเงาตามตัว อนาคตข้างหน้าเกษตรกรมีแนวโน้ม สูญเสียท่ีดินสูงขึ้น ปัจจุบันกว่าร้อยละ 80 แม่ค้าเป็นชาวกัมพูชา ตลาดการค้าชายแดนช่องจอม มีทําเลที่ตั้ง เหมาะสม สะดวกต่อการเขาถึง และได้รบการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เกิดการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด เป็นสถานท่ีข้ึนชื่อของจังหวัดสุรินทร์ ทําให้มีผู้มาเยี่ยมเยือนจากทุกสารทิศตลอดทุกวัน การเติบโตและการ ขยายตัวของชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเมืองหรือชนบท นอกจากความเจริญแล้ว ปัญหาท่ีติดตามมามีไม่น้อย เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ปัญหาขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล และปัญหาน้ําเสียจากชุมชนและตลาด (การ ซักล้างเสื้อผ้ามือสอง) เน่ืองจากพ้ืนท่ีอําเภอกาบเชิงเป็นพื้นท่ีต้นน้ําที่สําคัญ หากไม่มีมาตรการการป้องกันและ การจัดการแกป้ ัญหาท่ีดี ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมท่ีจะติดตามมาจะมีอีกอย่างมากมาย
ตารางที่ 5 สรุปสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ชุมชนชายแดนไทย-กัมพูชา
ประเด็น | อดีต | ปัจจุบัน |
1. การต้งถิ่นฐานบ้านเรือน | บ้านด่าน แต่ก่อนมีบ้านด่านบน (ตรงเข่ือนด่านปัจจุบัน) บ้านด่าน กลาง (ตรงโอท็อปปัจจุบัน) บ้าน ทํานบ อยู่ติดกับห้วยด่าน บ้านยาง (ติดกับบ้านด่านหมู่18 ในปัจจุบัน) เนื่องจากมีโจรขโมยวัวควายต้อน เข้ากัมพูชา เม่ือปี 2502 ได้ยุบ รวมทั้ง 4 หมู่บ้านเป็นบ้านด่าน เพื่อให้ง่ายต่อการปกครอง และมี ความ ป ล อ ด ภั ยใน ชี วิตและ ทรพย์สินของประชาชน | บ้ าน ด่ าน เป็ นห มู่ บ้ าน ให ญ่ มี ประชากรหลากหลายเน่ืองจาก อพยพเข้ามาจากหลายพื้นที่ เน่ืองจากมีตลาดช่องจอม ทําให้ เกิดความเหล่ือมล้ําในเรื่องท่ีดินทํา กินมีน้อย คนเยอะข้ึน การแย่งกัน ใช้ทรัพยากร (ดิน นํ้า ป่า) ที่ดินมี ราคาแพงและท่ีดินหลุดมือจากคน พนื ถ่ินหมดแล้ว โดยเฉพาะท่ีดินติด ถนนหลกั |
2. การเมืองการปกครอง | บ้านด่านขึ้นกับการปกครองอําเภอ สังขะ จ.สุรินทร์ ซึ่งอยู่ห่างจาก อําเภอสังขะ ประมาณ 30 กิโล และการสัญจรไปมาค่อนข้าง ลําบาก ยากต่อการปกครองและ สุ่มเส่ียงต่อความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชาชน | ด้วยนโยบายการปกครองของ ประเทศ “เปล่ียนสนามรบเป็น สนามการค้า” มีการเปิดตลาดช่อง จอมข้ึนมา ทําให้มีการแลกเปลี่ยน สินค้าระหว่างทั้งสองประเทศอย่าง คึกคัก ทําให้คนมีอาชีพมีรายได้ เพิ่มขึ้นจากการซื้อขายแลกเปลี่ยน สินค้า |
3. วิ ถี การดํ าเนิ น ชี วิ ต (การ ประกอบอาชีพ /การบริโภค/วิถี ชีวิตแบบคนเมือง) | แต่เดิมประกอบอาชีพไร่ปอ และ ทํ านาเป็นหลัก คุณภาพชีวิต ค่อนข้างยากจน แต่ความสัมพันธ์ ในระบบเครือญาติแน่นแฟ้น มี ความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกันทั้งหมู่บ้าน อย่างดี | เริ่มมีการค้าขาย รับจ้างเพิ่มขึ้น จากการมีตลาดช่องจอม แต่กลับ ทําให้ความสัมพันธ์ของคนห่างกัน ไม่มีเวลาไปมาหาสู่กัน มีคนต่างถิ่น เข้ามาตั้งถิ่นฐานมากข้ึน หรือเป็น คนท่ีมีเงินมาตั้งอยู่ หรือซื้อที่ดิน หรือมาค้าขายเป็นเจ้าของธุรกิจ ทําให้เกิดความเหลื่อมล้ําระหว่าง คนรวย (ต่างถิ่น) กับคนจน (คน พื้ นถิ่น ) ซึ่งคนพื้ นถิ่นท่ี พัฒนา ตนเองไปทําธุรกิจส่วนตัวด้วยการมี ที่ดินอยู่ติดถนนสุรินทร์ช่องจอม ได้ ขายที่ดินหรือทําร้านขายของ ซึ่งมี อยู่นอย |
4. ความสัมพันธ์เครือญาติ/เพื่อน บ้าน | มีการนับถือ เคารพกัน ไปมาหาสู่ กันเป็นประจํา มีความคิดสมัคร สมานไปในทิศทางเดียวกัน | ความเจริญเพ่ิมขึ้นไม่มีเวลาไปมา หาสู่กัน คนจะไปพบเจอกันเฉพาะ ช่วงเทศการหรือกรณีมีงานบุญ |
ประเด็น | อดีต | ปัจจุบัน |
ส่งผลให้ความสัมพันธ์ในปัจจุบันมี ความห่างเหินกันมากขึ้น ทุกวันจะ นับพี่นับนองก็ดูที่ฐานะด้วย | ||
5.การคา้ /การขาย | ในชุมชนจะเป็นในลักษณะการ แลกเปล่ียนสินค้าเป็นหลัก เช่น ปลาแลกข้าว ผ้าไหมแลกข้าว แต่ก็ มีการค้าขายสินค้าการเกษตรเป็น หลัก เช่น ปอ ไปขายที่ กม.5 สุรินทร์ ทําให้คนไม่ค่อยดิ้นรน กระตือรือร้นหาเงินเท่าใดนัก | ปัจจุบันระบบการแลกเปลี่ยน สินค้าหายไป ใช้เงินเป็นตัวกลางใน การซื้อขายเต็มรูปแบบ ทําให้คน ดิ้นรนหาเงิน ทํางานรับจ้างเพิ่มขึ้น ทําให้คนมีความเครียดมากขึ้น ความมั่นคงเรื่องอาหารลดน้อยลง |
4.3 ลักษณะความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
4.3.1 วัฒนธรรมประเพณีชุมชนไทย-กัมพูชา
1) บุญประเพณี 12 เดือน
จากการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นทั้งของชุมชนไทยในพื้นท่ีตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง และกรุงสําโรง จ.อุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ชาวบ้านส่วนใหญ่ทุกหมู่บ้านยังยึดถือ ขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมที่สืบทอดกันมา เช่น ในวันพระเข้าวัด ฟังธรรม ถือศีล นุ่งขาว ห่มขาว บุญ ประเพณีที่สําคัญคือประเพณีตามคติความเชื่อในวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่เก่ียวพันกับศาสนา และวิถีชีวิต เพ่ือ สร้างขวัญและกําลังใจต่อการดํารงชีวิต ชุมชนบ้านด่าน ไทย และชุมชนบ้านสําโรง ราชอาณาจักรกัมพูชา ไม่ ต่างกันมากนัก ประเพณีบางเดือนอาจไม่ได้ปฏิบัติแล้ว จากการได้สัมภาษผู้รู้ทั้งไทยและกัมพูชา มีหลวงตายึม ยอก หลวงตาสะแวง ทอน ชาวกัมพูชา และพ่อสบี ดีงาม ชาวไทย ได้เล่าบอกเป็นภาษาโบราณสละลสวยว่า
แคแจด โจลชนํา สะดัยเนือมเอาะเม๊ีย ออยเพียกะลีกา โตววะดาทะมัย (เดือนเมษายน หรือ เดือน ห้า พระมหากษัตริย์ พลีกรรมต้อนรับเทวดาประจําปีใหม่) มีความเชื่อร่วมกันว่าเมือถึงเดือน ห้า วัน มหาสงกรานต์ วันข้ึนปีใหม่ไทยและกัมพูชา ตามจันทรคติและสุริยคติ ชาวกัมพูชามักนิยมตั้งเคร่ืองบวงทรวง เทวดาองค์ใหม่ที่มาปกปักรักษาความสวัสดี ให้กับบ้านเมือง ซึ่งจะเปล่ียนกันทุกปีในช่วงนี้ เพื่อแสดงความ เคารพจึงต้ังเครื่องบวงสรวงทุกบ้านเรือน (บ้านด่าน ประเทศไทยไม่มีพิธีกรรมน้ี)เทศกาลสงกรานต์ ตาม ประเพณีจัดงานสงกรานต์นั้น บางแห่งจัดกัน 3 วัน บางแห่ง 7 วัน แล้วแต่กําหนดมีการทําบุญถวายภัตตาหาร คาวหวาน หรือถวายจังหันเช้า-เพลตลอดเทศกาล ตอนบ่ายมีสรงน้ําพระ รดน้ําผู้ใหญ่ผู้เฒ่าผู้แก่ มีการละเล่น พืนถิ่นรําตร๊ด เล่นสะบ้า เรือมอันเร ขนทรายเข้าวดั ก่อเจดีย์ทราย ในชุมชนบ้านด่าน นําดินทรายมาจาก 8 ทิศ รอบหมู่บ้าน ก่อดินทรายรอบหมู่บ้านท้ัง 8 ทิศแล้วมาก่อที่วัด ถือว่าเป็นจุดศูนย์กลางของหมู่บ้าน ประเทศ กัมพูชา เรียกว่าวนขึ้นปีใหม่ จัดเป็นประเพณีสําคัญของชาติ
ดอลแคปิสาก สะดัยจร๊ดเปร๊ียะเนียงก็วล (เดือนพฤษภาคม หรือเดือนหก พระมหากษัตริย์ ทําพิธีแรก นาขวัญ) มีความเชื่อว่า การทํากสิกรรมสะท้อนถึงความอุดมสมบูรณ์ อยุ่ดีกินดี พระมหากษัตริย์ต้องทํานาก่อน พสกนิกรถึงทําตามภายหลัง ประเทศไทยทุกปีมีพิธีแรกนาขวัญที่ท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร ที่กัมพูชา
พิธีแรกนาขว เปลี่ยนเวยนจัี งหวัดไปทกปตามทีุ ี่รฐบาลกําหนด ปี 2560 กําหนดพธีิ แรกนาขวัญที่จังหวดเสั ียม
เรียบ ปี 2561 ทําพิธีแรกนาขวัญที่ จังหวัดกระแจะ ราชอาณาจักรกัมพูชา ชาวบ้านทั้งสองฝั่ง มีประเพณีพื้น ถิ่นคล้ายกัน คือการบวงสรวงตายายบอกกล่าวลงนา ไถนา ดํานา เพื่อขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลและความ อุดมสมบูรณ์ของข้าวปลาอาหารในปีต่อไป ครั้นวันเพ็ญเดือนหกเป็นงานบุญวิสาขบูชาประเพณีสําคัญทางพุทธ ศาสนา มีการทําบุญฟังเทศน์และเวียนเทียนเพื่อผลแห่งอานิสงส์ในภพหน้า ชาวกัมพูชาให้ความสําคัญมาก ถือ ว่าเป็นวัน ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพาน มักจัดงานบูชาถวายเป็นพุทธบูชา มีเทศนาปฏิบัติธรรมตลอดคืน
ดอลแคเจ๊ สนมมะเหสัย ทวือบายดอมรําถวายจังกะรัย (เดือนมิถุนายน เดือนเจ็ด พระมเหสีและ พระสนม ถวายข้าวดอมรํา ให้กับพระราชา) “บายดอมรํา” คือข้าวสวยค้างคืนแล้วนํามาแช่น้ําไว้ ปั้นให้แน่น นํามารัปประทาน เป็นวิธีถนอมอาหารแต่โบราณ ข้าวไม่บูด ถวายให้พระราชาเสวยแสดงถึงความมัธยัส และ คุณค่าของอาหาร เพราะช่วงนีอยู่ในช่วงการเพาะปลูกข้าว ข้าวจึงอาจหายากในสมัยโบราณ ชาวบ้านไทยบ้าน ด่านและชาวกัมพูชาบ้านสําโรง มีพิธีเลี้ยงปู่ตา มีการทําพิธีเซ่นสรวงเจ้าที่นา เพ่ือความเป็นสิริมงคลให้ข้าวกล้า ในนางอกงาม
แคอะสาด สะดัยทะมัย โจลปะสา (เดือนกรกฎาคม เดือนแปด ประเพณีเข้าพรรษา) “สดัยทะมัย” เป็นคํายกย่องให้เกียรติ หมายถึงพระภิกษุ บวชใหม่เขาพรรษา ชาวไทยชาวกัมพูชา นิยมเข้าวัดฟังธรรม มีการ ทําบุญถวายภัตตาหาร เครื่องไทยทานและผ้าอาบนํ้าฝน เพ่ือพระสงฆ์จะได้นําไปใช้ตลอดเทศกาลเข้าพรรษา มีแห่เทียนพรรษา จัดขบวนแห่เพื่อนนําไปถวายเป็นพุทธบูชา
แคสะร๊าบ รีบทวือบอนต่ังโต๊ะ (เดือนสิงหาคม เดือนเก้า พิธีบวงสรวง) พิธีบวงสรวงบรรพบุรุษของ ชาวกัมพูชา และเป็นช่วงเดือนท่ีคนในชุมชนเขาวดฟังธรรม ถือศีลภาวนา เพราะอยู่ในช่วงเข้าพรรษา
แคเพี้ยระบด เนี๊ยสะเราะรีบอาหา ทวือบ่อนประจุมเบ็น (เดือนกันยายน เดือนสิบ ชาวบ้านเตรียม อาหารทําบุญประเพณีวันสราท) ชาวกัมพูชา และชาวไทยส่วนอิสานใต้ 3 จังหวัด ได้แก่ จงหวัดสุรินทร์ จังหวัด บุรีรัมย์ จังหวัดศรีษเกษ เรียกประเพณีนี้ว่า ประจุมเบ็น หรือการบูชาบรรพบุรุษ เป็นประเพณีท่ีขาดไม่ได้ต้อง ทําทุกปี ตามความเชื่อที่สืบทอดมานานในการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษ และญาติพี่น้อง ท่ีบ้าน ต้ังเครื่องบวงสรวงบุชาบรรพบุรุษของตนเอง ตอนเช้ามืดทําบุญท่ีวัด เพื่อเป็นการให้ทานแก่เปรตหรือวิญญาณ ที่ตกทุกข์ได้ยาก และเพื่ออุทิศบุญกุศลถึงบรรพบุรุษ ตามความเชื่อว่า ยมทูตจะปล่อยให้ผีทั้งหลายกลับมา เย่ียมบ้าน จนถึงเบ็ญทมระยะเวลา 15 วัน เมื่อถึงวันเบ็ญทม ชาวบ้านตั้งเครื่องเซ่นที่บ้าน ลูกหลานมาจูนโดน ตา และร่วมแซนโฎนตา ผีบรรพบุรุษ ตกเย็นเข้าวัดฟังธรรม ตั้งแต่ ตี 4 จูนโดนตาที่วัด แล้วเทกะจือโฎนตา ส่ง ผีบรรพบุรุษกลับไปยังภพภูมิเดิม ช่วงสายทําบุญตักบาตร ฟังเทศน์อานิสงค์ เสร็จพิธี
บ้านด่านปัจจุบันทําเฉพาะวันเบ็ญตู๊จ กับวันเบ็ญทม รวม 2 วัน เท่านั้น ส่วนชาวกัมพูชาเริ่มตั้งแต่ วันเบ็ญตู๊จจนถึงวันเบ็ญทม รวม 15 วัน และเป็นประเพณีสําคัญประจําชาติ ปฏิบัติทุกปีไม่มีxxxx xxxxxธรรม เนียมจูนกระเฌอโฎนตา กมพูชาไม่มี กัมพูชามีธรรมเนียมเบาะบายเบ็ญ ไทยไม่มีxxxxxxxxxxxแล้ว
แคอะส๊จ แจ็งปะสา แจ็งพอดเพือย (เดือนxxxxxx เดือนสิบxxxx บุญออกพรรษา ) บุญออกพรรษา มีงานบุญตักบาตรเทโว ตามความเชื่อ ว่าเป็นxxxxxxพระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากสวรรค์ช้ันดาวดึง หลังจากอยู่เทศ โปรดพุทธมารดา 3 เดือน จึงทําบุญตักบาตรเทโว เพ่ือxxxxxถึงและถวายเป็นพุทธบูชา และนับจากนี้ไป 1 เดือน เป็นกาลxxxx xxxxตําบลด่านและชาวกัมพูชา มีระยะเวลาxxxxเดียวกัน พิธีทอดกฐินตามวัดxxxxxxxxxxไว้ บางปีก็มีการจัดxxxxรวมในชุมชน บางปีมีเจ้าภาพมาจองxxxx ปฏิบัติพรอมกันเป็นประจําทุกปี
แคกะเด๊อก อมตูก ออก อม บ๊ก เนี๊ยะเสราะรีบรําดอบกรืองกรอเบ่ย ทวือบอนกะเทน (เดือน พฤศจิกายน เดือนสิบสอง ประเพณีแข่งเรือ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีออกเปรี๊ะแค ประเพณีบุญxxxx) ประเพณีลอยกระทง ตามความเช่ือว่า ลอยเคราะห์ลอยโศกพร้อมกับกระทง ไทยกับกัมพูชา ยังสืบปฏิบัติ xxxxเดียวกัน แต่บ้านสําโรง กัมพูชา จะมี ประเพณี ปะออกเปร๊ียะแค ในxxxxxxด้วย เร่ิมพิธีประมาณ 6 ทุ่ม ตอน ที่พระจันทร์xxxxxxxที่สุด แล้วมีการจุดเทียน ป้อนข้าวตอก แล้วทํานาย เก่ียวกับน้ําฝนและผลผลิตการเกษตร ว่าxx xxxxxxxxxxxหรือไม่ในปีนัน้
แคมิกาเซ ระวัย บอง เหิน แคลน (เดือนธันวาคม เดือนอ้าย xxxxชักว่าว) การละเล่นพื้นบ้านในช่วง หน้าหนาว ปัจจุบันxxxxxxxสองฝั่งแทบไม่มีผู้xxxxแล้ว เน่ืองจากวิถีชีวิตต้องxxxxxxxทํามาหาxxxxxxxxx บ้านด่าน ประเทศไทย มีประเพณีxxxxxxxxxxxxxxxทางหมู่บ้าน ผีบรรพบุรุษ มีการตระเตรียมเก็บสะสมข้าวปลาอาหารไว้กิน ในยามxxxx ชาวบานสําโรง กมพูชา ไม่มีประเพณีxxxxxxxxxxxxxxxทางหมู่บาน ในช่วงนี้
แคเบ๊าะทม (เดือนxxxxxx เดือนย่ี) ทําพิธีเซ่นลานนวดข้าว เมื่อขนข้าวใส่ยุ้งแลวมักไปทําxxxxxxวัด แคเบ๊าะตู๊จ (เดือนกุมภาพันธ์ เดือนสาม) เซ่นตาเสราะ ทําบุญแผ่ส่วนxxxxให้ผีปู่ย่าตายาย อันเป็น
การแสดงความxxxxxxต่อบรรพบุรุษ และทําบุญวนสําคัญทางพระพุทธศาสนาวันมาฆบูชา
แคปะกุน (เดือนมีนาคม เดือนสี่) เทศมหาชาติ ประเพณีเทศน์มหาชาติเหมือนกับประเพณีภาคอื่นๆ ด้วย เป็นงานบุญทางพุทธศาสนาท่ีถือปฏิบัติทําบุญถวายภัตตาหารแล้วตอนบ่ายฟังเทศน์ เร่ืองเวสสันดรชาดก ตามประเพณีวัดติดต่อกัน 2-3 วันแล้วแต่กําหนดในช่วงที่จัดงานมีการแห่พระอุปคุตเพ่ือขอให้บันดาลให้ฝนตก ด้วย
สรุปบุญประเพณีของชาวกัมพูชา มีบุญประเพณีประจําชาติคือต้องทําพร้อมกันเป็นวาระแห่งชาติ ราชการกมพูชากําหนดเป็นวันหยุดได้แก่ บุญประเพณีxxxxxxxx บุญประเพณีแซนโฎนตา
ตารางที่ 6 บุญประเพณีไทย-กัมพูชาในปัจจุบัน
บุญประเพณี | การปฏิบัติของประเทศไทย | การปฏิบัติของประเทศกัมพูชา |
1. แคxxxx (เดือนเมษายนหรือ เดือนห้า) วันข้ึนปีใหม่ไทย / ประเพณีxxxxxxxx | เทศกาลxxxxxxxx บุญประจําปี ทั่วไป ระยะเวลา 3 วนั - ทํ าxx x xxxx xxในวัน ปี ใหม่ /วัน xxxxxxxx - สรงน้ําพระ รดนํ้าผูใหญ่ผู้xxxxผแู ก่ - การละเล่นพ้ืนบ้านรําตร๊ด xxxx สะบ้า เรือมอนเร | เทศกาลมหาสงกรานต์ เป็นงานบุญ ประจําชาติ ซึ่งจะมีระยะเวลาต้ังแต่ 3-7 วัน - ต้ังเคร่ืองบวงสรวงเทวดาองค์ใหม่ ทุกหลงคาเรือน - สรงนําพระ รดน้ําผูใหญ่ผู้xxxxผู้แก่ - การละเล่นพื้นบ้านรําตร๊ด xxxx สะบา้ - xxxxxxxxxทราย/ขนทรายเข้าวัด |
2. ดอลแคปิส๊าก (เดือน พฤษภาคมหรือเดือนหก) พระมหากษัตริย์ทําพิธีxxxxx ขวัญ | - พิธีxxxxxขวญท่ีสนามหลวงทุกปี - การบวงสรวงตายายxxxxxxxxการ ลงนา ไถนา ดํานาเพ่ือขอให้ฝนตก ต้องตามฤดูกาลและความxxxx xxxxxxxของขาวปลาอาหาร - xxxxxxxเดือนหกเป็นงานบุญ วิ | - พิธีแรกนาขวัญเปลี่ยนสถานที่ไป จัดตามจังหวัดต่างๆ ตามที่รัฐบาล กําหนด - การบวงสรวงตายายxxxxxxxx การลงนา ไถนา ดํานาเพ่ือขอให้ฝน ตกต้องตามฤดูกาลและความxxxx |
บุญประเพณี | การปฏิบัติของประเทศไทย | การปฏิบัติของประเทศกัมพูชา |
สาขบูชาประเพณีสําคัญทางพุทธ ศาสนา มีการทําบุญฟังเทศน์และ เวียนเทียนเพื่อผลแห่งอานิสงส์ในภพ หน้า | xxxxxxxของขาวปลาอาหาร - ชาวกมพูชาให้ความสําคัญมาก xxx xxxเป็นวัน ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพาน มักจัดงานบูชาถวายเป็นพุทธบูชา มี เทศนาปฏิบัติธรรมตลอดคืน - xxxxxxxเดือนหกเป็นงานบุญ วิ สาขบูชาประเพณีสําคัญทางพุทธ ศาสนา มีการทําบุญฟังเทศน์และ เวียนเทียนเพื่อผลแห่งอานิสงส์ใน ภพหน้า | |
3. ดอลแคเจ๊ (เดือนมิถุนายน หรือเดือนเจ็ด) พระมเหสีและ พระสนม ถวายข้าวดอมรํา ให้กับพระราชา /พิธีเลี้ยงปู่ตา | - พิธีเลี้ยงปู่ตา มีการทําพิธีเซ่นสรวง เจ้าxxxxx เพ่ือความเป็นสิริxxxxให้ ขาวกล้าในxxxxxxxx | - ในอดีตพระมเหสีและพระสนม จะ ถวายข้าว “ดอมรําหรือข้าวแช่” ให้กับพระราชา - พิธีเลี้ยงปู่ตา มีการทําพิธีเซ่นสรวง เจ้าxxxxx เพื่อความเป็นสิริxxxxให้ ข้าวกล้าในxxxxxxxx |
4. แคอะส๊าด สะดัยทะมัย โจล ปะสา (เดือนกรกฎาคม หรือ เดือนแปด) ประเพณีเขาxxxxx | - เข้ าวั ด ฟั งธรรม ทํ าบุ ญถวาย ภตตาหาร เคร่ืองไทยทาน - แห่เทียนพรรษา | - เข้ าวัด ฟั งธรรม ทํ าบุ ญถวาย ภัตตาหาร เครื่องไทยทาน - แห่เทียนพรรษา |
5. แคสะร๊าบ รีบทวือบอนxxxx xxxx (เดือนสิงหาคมหรือเดือน เก้า) พิธีบวงสรวงบรรพบุรุษ | - พิธีบวงสรวงบรรพบุรุษของชาว กัมพูชา และเป็นช่วงเดือนที่คนใน ชุมชนเข้าวัดฟังธรรม ถือศีลxxxxx เพราะอยู่ในช่วงเข้าพรรษา | |
6. แคเพี้ยระบ๊ด เนี๊ยสะเราะรีบ อาหา ท วือบ็อนประจุมเบ็น (เดือนกันยายน หรือเดือนสิบ) ประเพณีxxxxxร์ท (บูชาบรรพ บุรุษ) | - ประเพณีxxxxxร์ทเล็ก(ขึ้น 15 คํ่า เดือน 10) สาร์ทใหญ่ (แรม 15 ค่ํา เดือน 10) โดยในช่วงสาร์ทเล็กจะมี การ “กันซ็ง หรือถือส่ง” คือการไป วัดต่อเน่ือง 7 วันจนถึงxxxxxร์ทใหญ่ ซึ่งทางไทยจะถือส่ง 7 วัน 3 วัน 1 วันแล้วแต่ความสะดวกของแต่ละ ครอบครัว - แร ม 14 คํ่ า เ ดื อน 10 ต้ั ง เครื่องเซ่นคาวหวานท่ีบ้านพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ตกเย็นลูกหลานมาร่วม เซ่นไหว้และรับประทานอาหารเย็น ร่วมกัน | - ประเพณีxxxxxร์ทเล็ก สาร์ทใหญ่ โดยในช่วงสาร์ท เล็ กจะมีการ “กันซ็ง หรือถือส่ง” คือการไปวัด ต่อเนื่อง 15 วัน ต้ังแต่xxxxxร์ทเล็ก จนถึงxxxxxร์ทใหญ่ ซึ่งทางกัมพูชา จะถือส่ง จํานวน 15 วันนับตง้ แต่xxx xxร์ทเล็กถึงxxxxxร์ทใหญ่เลย - แร ม 14 ค่ํ า เ ดื อน 10 ต้ั ง เครื่องเซ่นคาวหวานท่ีบ้านพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ตกเย็นลูกหลานมาร่วม เซ่นไหว้และรับประทานอาหารเย็น ร่วมกัน - ตกเย็น นําบายบ๊ัดดําโบ (ลักษณะ |
บุญประเพณี | การปฏิบัติของประเทศไทย | การปฏิบัติของประเทศกัมพูชา |
- ตกเย็น นํากระเชอโฎนตา ซ่ึง ประกอบด้วยอาหารคาวหวาน ผลไม้ อุปกรณ์เครื่องใช้ที่จําเป็น สมุนไพร ไปวัดฟังเทศน์ฟังธรรม xxxxบรรพ บุรุษมารับกระเฌอโฎนตา ตี 4 จึง ลุกไปเทกระเฌอท่ีวัด ส่งผีบรรพ บุรุษกลับไปยังภพภูมิเดิม ช่วงสาย ทําบุญตักบาตร ฟังxxxxxxxxxxxxx เสร็จพิธี | ข้าวเหนียวปั้นเป็นกอนกลมๆคลุกงา เรียกว่าบายเบ็ญ) ไปวัดฟังเทศน์ฟัง ธรรม ช่วงตี 4 ลุกไปวัดฟังพระสวด อีกครั้ง และก่อนออกจากวัดxxxxxxxx จะมีการโยนขาวใหเปรต สัมภเวสีไม่ มีญาติท้ัง 8 ทิศก่อนออกจากวัด ช่วงเช้านําเข้าไปวัดอีกรอบ เป็นอัน เสร็จพิธี | |
7. แคอะส๊จ แจ็งปะสา แจ็งพอด เพือย (เดือนxxxxxxหรือเดือน สิบxxxx) บุญออกพรรษา | - ตกบาตรเทโว | - ตักบาตรเทโว |
8. แคกะเด๊อก อมตูก ออก อม บ๊ก เนี๊ยะเสราะรีบรําดอบกรือง กรอเบ่ ย ท วื อ บ็ อนกะเทน (เดือนพฤศจิกายน หรือเดือน สิบสอง) ประเพณี แข่ งเรื อ ประเพณีลอยกระทง ประเพณี ออกเปรี๊ยะแค ประเพณีบุญxxxx | - งานบุญxxxx - ประเพณีแข่งเรือ - ประเพณีลอยกระทง | - งานบุญxxxx - ประเพณีแข่งเรือ - ประเพณีลอยกระทง - ประเพณีปะอ๊อกเปร๊ียะแค (ไหว้ พระจันทร์) เริ่มพิธีประมาณ 6 ทุ่ม ตอนที่พระจันทร์xxxxxxxxxxสุด แล้วมี การจุดเทียน ป้อนข้าวตอก แล้ว ทํานาย เกี่ยวกับน้ําฝนและผลผลิต การเกษตร xxxxx xxxxxxxxxxxxxx เพียงใด |
9. แคมิกาเซ ระวัย บอง เหิน แคลน (เดือนธันวาคม หรือ เดือนอาย) เป็นช่วงการxxxว่าว | - xxxxว่าว -xxxxxxxxxxxxxxxทางหมู่บ้าน ผีบรรพ บุรุษ มีการตระเตรียมเก็บสะสมข้าว ปลาอาหารไวก้ ินในยามฤดูxxxx | - xxxxว่าว - xxxxxxxxxxxxxxxทางหมู่บ้าน ผีบรรพ บุรุษ มีการตระเตรียมเก็บสะสมข้าว ปลาอาหารไว้กินในยามฤดูxxxx |
10. แค เบ๊ าะ ท ม ( เ ดื อน xxxxxxหรือเดือนย่ี) ทําพิธีเซ่น ลานนวดข้าว | แคเบ๊าะทม (เดือนxxxxxx หรือ เดือนย่ี) ทําพิธีเซ่นลานนวดข้าว เมื่อ ขนข้าวใส่ยุ้งแลวมักไปทําxxxxxxวัด | |
11. แค เบ๊ าะ ตู๊ จ ( เ ดื อน กุมภาพันธ์ หรือเดือนสาม) เซ่น ตาเสร๊าะ (เจ้ าที่ เจ้ าทางใน หมู่บาน) /บุญวนมาฆบูชา | - แคเบ๊าะตู๊จ (เดือนกุมภาพนธ์ หรือ เดือนสาม) ข้ึน 3 ค่ํา เดือน 3 เซ่น ตาเสร๊าะ (เจ้าxxxxxxxทางในหมู่บ้าน) ทําบุญแผ่ส่วนxxxxให้ผีปู่ย่าตายาย อันเป็นการแสดงความxxxxxxต่อ | - แคเบ๊าะตู๊จ (เดือนกุมภาพันธ์ หรือเดือนสาม) ข้ึน 3 ค่ํา เดือน 3 เซ่นตาเสร๊าะ (เจ้าxxx xxxxทางใน หมู่บ้าน) ทําบุญแผ่ส่วนxxxxให้ผี ปู่ย่าตายาย อันเป็นการแสดงความ |
บุญประเพณี | การปฏิบัติของประเทศไทย | การปฏิบัติของประเทศกัมพูชา |
บรรพบุรุษ และทําxxxxxxสําคัญทาง พระพุทธศาสนา - ทําxxxxxxมาฆบูชา | xxxxxxต่อบรรพบุรุษ และทําxxxxxx สําคญทางพระพุทธศาสนา - ทําxxxxxxมาฆบูชา | |
12. แคปะกุน (เดือนมีนาคม หรือเดือนสี่) ประเพณีเทศน์ มหาชาติ | - งาน xx x xx x ฟั งเท ศ น์ เร่ื อง เวสสันดรชาดก ตามประเพณีวัดจะ ทําติดต่อกัน 2-3 วันแล้วแต่กําหนด ในช่วงท่ีจัดงานมีการแห่พระอุปคุต ด้วยมีความเชื่อว่าหากมีพระอุปคุต แล้วไม่มีมารใดๆมากล้ํากรายได้ (พระอุปคุต เป็นพระในพุทธะ ทํานาย รูปร่างเล็กๆ ไม่หล่อแต่มาก ด้วยxxxxxและมีฤทธ์ิมากและปราบ มารได้) | - งาน xx x xx x ฟั งเท ศ น์ เรื่ อง เวสสันดรชาดก ตามประเพณีวัด ติดต่อกัน 2-3 แล้วแต่ในปีนั้นจะจัด งานเล็กหรืองานใหญ่ |
ตารางที่ 7 บุญประเพณีไทย-กมพูxxxxxมีความสําคญกบวิถีชีวิตและการสรางสังคมอยู่ดีมีxxx
xxxประเพณี | ความสําคญกบวิถีชีวิตและการสรางสงคมอยู่ดีมีสุข |
1. แคxxxx (เดือนเมษายนหรือ เดือนหา้ ) วนขนึ ปใหม่ไทย / ประเพณีxxxxxxxx | มีความเช่ือร่วมกนว่าเมื่อถึงเดือนห้า วันมหาสงกรานต์ วันขึ้นปีใหม่ไทยและ กัมพูชา ตามจนทรคตและสุริยคติ ชาวกัมพูชามักxxxxตั้งเครื่องบวงทรวง เทวดาองค์ใหม่ที่มาปกปักรักษาความสวัสดีให้กบบ้านเมือง ซ่ึงจะเปลี่ยนกัน ทุกปีในช่วงนี้ เพื่อแสดงความxxxxxxxxตังเครื่องบวงสรวงทุกบานเรือน (บ้าน ด่าน ประเทศไทยไม่มีพิธีกรรมนี้) เทศกาลxxxxxxxx ตามประเพณีจัดงาน xxxxxxxxนนั้ บางแห่งจัดกัน 3 วัน บางแห่ง 7 วัน แล้วแต่กําหนดมีการ ทําบุญถวายภตตาหารคาวหวาน หรือถวายxxxxxxxxxx-เพลตลอดเทศกาล ตอนบ่ายมีสรงน้ําพระ รดน้ําผู้ใหญ่ผู้xxxxผูแก่ มีการละเล่นพืนถิ่นรําตร๊ด xxxx สะบ้า เรือมอันเร xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxทราย ในชุมชนบ้านด่าน นําดิน ทรายมาจาก 8 ทิศรอบหมู่บ้าน ก่อดินทรายรอบหมู่บ้านทั้ง 8 ทิศแล้วมาก่อ ที่วัด xxxxxxเป็นจุดศูนย์กลางของหมู่บ้าน ประเทศกัมพูชา เรียกว่าวนขึ้นปี ใหม่ จัดเป็นประเพณีสําคัญของชาติ |
2. ดอลแคปิส๊าก (เดือน พฤษภาคมหรือเดือนหก) พระมหากษัตริย์ทําพิธีxxxxx xxxx | xxความเชื่อว่า การทํากสิกรรมสะทอนถึงความxxxxxxบรณ์ xxxxxxxxxxx พระมหากษตริย์ตองทํานาก่อน พสกนิกรถึงทําตามภายหลงั ประเทศไทยทุก ปีมีพิธีแรกนาขวัญxxxxxxสนามหลวง กรุงเทพมหานคร ท่ีกมพูชาพิธีxxxxx ขวัญ เปลี่ยนเวียนจังหวัดไปทุกปีตามที่รฐบาลกําหนด ปี 2560 กําหนดพิธี แรกนาขวัญท่ีจังหวัดxxxxxเรียบ ปี 2561 ทําพิธีแรกนาขวัญที่ จังหวัด กระแจะ ราชอาณาจักรกัมพูชา ชาวบ้านทั้งสองฝ่ัง มีประเพณีพืนถ่ิน คล้ายกัน คือการบวงสรวงตายายxxxxxxxxxxxx ไถนา ดํานา เพื่อขอให้ฝน ตกต้องตามฤดูกาลและความxxxxxxxxxxxของข้าวปลาอาหารในปีต่อไป ครั้นxxxxxxxเดือนหกเป็นงานบุญวิสาขบูชาประเพณีสําคัญทางพุทธศาสนา มี |
บุญประเพณี | ความสําคญกับวิถีชีวิตและการสรางสังคมอยู่ดีมีxxx |
xxxทําบุญฟังเทศน์และเวียนเทียนเพื่อผลแห่งอานิสงส์ในภพหน้า ชาว กัมพูชาใหความสําคญมาก xxxxxxเป็นวัน ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพาน มักจัดงาน บูชาถวายเป็นพุทธบูชา มีเทศนาปฏิบัติธรรมตลอดคืน | |
3. ดอลแคเจ๊ (เดือนมิถุนายน หรือเดือนเจ็ด) พระมเหสีและ พระสนม ถวายข้าวดอมรํา ให้กบพระราชา | ดอลแคเจ๊ สนมมะเหสยั ทวือบายดอมรําถวายจงกะรยั (เดือนมิถุนายน เดือนเจ็ด พระมเหสีและพระสนม ถวายข้าวดอมรํา ให้กบพระราชา) “บาย ดอมรํา” คือขาวสวยคางคืนแล้วนํามาแช่นําไว้ ปั้นให้แน่น นํามารับประทาน เป็นวิธีถนอมอาหารแตโบราณ ข้าวไม่บูด ถวายให้พระราชาเสวยแสดงถึง ความxxxxxxxx และคุณค่าของอาหาร เพราะช่วงนี้อยู่ในช่วงการxxxxxxxxข้าว ข้าวจึงอาจหายากในสมยโบราณ ชาวบานไทยบ้านด่านและชาวกัมพูชาบ้าน สําโรง มีพิธีเลียงปู่ตา มีการทําพิธีเซ่นสรวงเจ้าxxxxx เพ่ือความเป็นสิริxxxx ให้ข้าวกล้าในxxxxxxxx |
4.แคอะส๊าด สะดัยทะมยั โจล ปะสา (เดือนกรกฎาคมหรือ เดือนแปด)ประเพณีเข้าพรรษา | แคอะส๊าด สะดยทะมยั โจลปะสา (เดือนกรกฎาคม เดือนแปด ประเพณี เขาxxxxx) “สดัยทะมัย” เปนคําxxxxxxให้เกียรติ หมายถึงพระภิกษุ บวช ใหม่เข้าพรรษา ชาวไทยชาวกมพชา xxxxเขาวัดxxธรรม มีการทําบุญถวาย ภัตตาหาร เครื่องไทยทานและผ้าอาบนําฝน เพื่อพระสงฆ์จะได้นําไปใช้ ตลอดเทศกาลเข้าพรรษา มีแห่เทียนพรรษา จัดขบวนแห่เพื่อนนําไปถวาย เป็นพุทธบูชา |
5.แคสะร๊าบ รีบทวือบอนxxxx xxxx (เดือนสิงหาคมหรือเดือน เก้า)พิธีบวงสรวงบรรพบุรุษ | แคสะร๊าบ รีบทวือบอนxxxxxxxx (เดือนสิงหาคม เดือนเก้า พิธีบวงสรวง) พิธี บวงสรวงบรรพบุรุษของชาวกมพูชา และเป็นช่วงเดือนท่ีคนในชุมชนเขาวดั ฟังธรรม ถือศีลxxxxx เพราะอยู่ในช่วงเข้าพรรษา |
6. แคเพี้ยระบ๊ด เนี๊ยสะเราะ รีบอาหา ทวือบ็อนประจุมเบ็น (เดือนกนยายน หรือเดือนสิบ) ชาวบ้านเตรียมอาหารทําบุญ ประเพณีxxxxxร์ท | แคเพี้ยระบ๊ด เน๊ียสะเราะรีบอาหา ทวือบ็อนประจุมเบ็น (เดือนกันยายน เดือนสิบ ชาวบานเตรียมอาหารทําบุญประเพณีวนสาร์ท) ชาวกัมพูชา และ ชาวไทยสวนอีสานใต้ 3 จงหวดั ไดแก่ จงxxxxxxxxxxx จังหวัดบุรีรัมย์ จงหวัด xxxxxxxx เรียกประเพณีนี้ว่า “ประจุมเบ็น” หรือการบูชาบรรพบุรุษ เป็น ประเพณีที่ขาดxxxxxต้ ้องทําทุกปี ตามความเช่ืxxxxสืบทอดมานานในการแสดง ความxxxxxxกตเวทีต่อบรรพบุรุษ และญาติพ่ีxxx xxxบ้านตงั เครื่องบวงสรวง บุชาบรรพบุรุษของตนเอง ตอนเชามืดทําxxxxxxวัด เพื่อเป็นการให้ทานแก่ เปรตหรือวิญญาณที่ตกทุกข์ได้ยาก และเพื่อxxxxxxxxxxxxถึงบรรพบุรุษ ตาม ความเชื่อว่า ยมทูตจะปล่อยให้ผีทังหลายกลบมาเยี่ยมบ้าน จนถึงเบ็ญทม (สาร์ทใหญ่) ระยะเวลา 15 วนั เม่ือถึงวันเบ็ญทม ชาวบ้านตั้งเครื่องเซ่นที่ บ้าน ลูกหลานจะนําเครื่องคาวหวานอุปกรณ์เครื่องใช้ที่จําเป็นมาส่งให้กับ ปู่ย่าตายายท่ียังมีชีวิตอยู่เรียกว่า “จูนโฎนตา” และร่วมแซนโฎนตา ผีบรรพ บุรุษ ตกเย็นเข้าวัดฟังธรรม xxxxxx xx 4 ลุกxxxxxxตาที่วัด แล้วเทกระเฌอ โฎนตา ส่งผีบรรพบุรุษกลับไปยังภพภูมิเดิม ช่วงสายทําบุญตักบาตร ฟัง xxxxxxxxxxxxx เป็นอันเสร็จพิธี บ้านด่านปัจจุบันทําเฉพาะวันเบ็ญตู๊จ (สาร์ทเล็ก) กับวันเบ็ญทม |
บุญประเพณี | ความสําคญกับวิถีชีวิตและการสรางสังคมอยู่ดีมีสุข |
(สาร์ทใหญ่) รวม 2 วนั เท่านั้น ส่วนชาวกัมพูชาเริ่มตั้งแต่วันเบ็ญตู๊จจนถึง วันเบ็ญทม รวม 15 วนั และเป็นประเพณีสําคญประจําชาติ ปฏิบัติทุกปีไม่มี xxxx xxxxxธรรมเนียมจูนกระเฌอโฎนตา กัมพูชาไม่มี กัมพูชามีธรรมเนียม เบาะบายเบ็ญ ไทยไม่มีxxxxxxxxxxxxแล้ว | |
7. แคอะส๊จ แจ็งปะสา แจ็ง พอดเพือย (เดือนxxxxxxหรือ เดือนสิบxxxx) บุญออกพรรษา | แคอะส๊จ แจ็งปะสา แจ็งพอดเพือย (เดือนxxxxxx หรือเดือนสิบxxxx บุญ ออกพรรษา ) บุญออกพรรษา มีงานบุญตกบาตรเทโว ตามความเช่ือ ว่าเป็น xxxxxxพระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากสวรรค์ชันดาวดงึ หลังจากอยู่เทศโปรดพุทธ มารดา 3 เดือน จึงทําบุญตักบาตรเทโว เพื่อxxxxxถึงและถวายเป็นพุทธบูชา และนบจากน้ีไป 1 เดือน เป็นกาลxxxx xxxxตําบลด่านและชาวกัมพูชา มี ระยะเวลาxxxxเดียวกัน พิธีทอดกฐินตามวดxxxxxxxxxxไว้ บางปีก็มีการจัด xxxxรวมในชุมชน บางปีมีเจ้าภาพมาจองxxxx ปฏิบัติพร้อมกันเป็นประจํา ทุกปี |
8. แคกะเด๊อก อมตูก ออก อม บ๊ก เน๊ียะเสราะรีบรําดอบกรือง กรอเบ่ย ทวือบ็อนกะเทน (เดือนพฤศจิกายน หรือเดือน สิบสอง) ประเพณีแข่งเรือ ประเพณีลอยกระทง ประเพณี ออกเปรี๊ยะแค ประเพณีบุญ xxxx | แคกะเด๊อก อมตูก ออก อม บ๊ก เน๊ียะเสราะรีบรําดอบกรืองกรอเบ่ย ทวือบ็อนกะเทน (เดือนพฤศจิกายน เดือนสิบสอง ประเพณีแข่งเรือ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีออกเปร๊ียะแค ประเพณีบุญxxxx) ประเพณี ลอยกระทง ตามความเชื่อว่า ลอยเคราะห์ลอยโศกพร้อมกับกระทง ไทยกบั กัมพูชา ยงสืบปฏิบัติxxxxเดียวกัน แต่บ้านสําโรง กัมพูชา จะมี ประเพณี ปะ ออกเปรี๊ยะแค ในวนนด้ี วย เร่ิมพิธีประมาณ 6 ทุ่ม ตอนท่ีพระจันทร์xxxxxxx ที่สุด แล้วมีการจุดเทียน ป้อนข้าวตอก แลวทํานาย เกี่ยวกับน้ําฝนและ ผลผลิตการเกษตร ว่าxx xxxxxxxxxxxหรือไม่ในปีนั้น |
9. แคมิกาเซ ระวัย บอง เหิน แคลน (เดือนธนวาคม หรือ เดือนอาย) เป็นช่วงการxxxxว่าว | แคมิกาเซ ระวยั บอง เหิน แคลน (เดือนธันวาคม หรือเดือนอาย “xxxx วาว”) เป็นการละเล่นพ้ืนบ้านในช่วงหน้าหนาว ปัจจุบันที่ทง้ สองฝ่ังแทบไม่มี ผูxxxxแล้ว เนืองจากวถิ ีชีวิตต้องxxxxxxxทํามาหาxxxxxxxx บ้านด่านประเทศ xxx xxประเพณีxxxxxxxxxxxxxxxทางหมู่บ้าน ผีบรรพบุรุษ มีการตระเตรียมเก็บ สะสมข้าวปลาอาหารไว้กินในยามxxxx ชาวบ้านสําโรง กัมพูชา ไม่มีประเพณี xxxxxxxxxxxxxxxทางหมู่บ้าน ในช่วงนี้ |
10. แคเบ๊าะทม (เดือน xxxxxxหรือเดือนย่ี) ทําพิธีเซ่น ลานนวดข้าว | แคเบ๊าะทม (เดือนxxxxxx เดือนยี่) ทําพิธีเซ่นลานนวดข้าว เม่ือขนขาวใส่ ยุ้งแล้วมักไปทําxxxxxxวัด |
11. แคเบ๊าะตู๊จ (เดือน กุมภาพนธ์ หรือเดือน สาม) เซ่นตาเสร๊าะ (เจาxxxxxx ทางในหมู่บาน) | แคเบ๊าะตู๊จ (เดือนกุมภาพนธ์ หรือเดือนสาม) เซ่นตาเสร๊าะ (เจาxxxxxxทาง ในหมูบ่ ้าน) ทําบุญแผ่ส่วนxxxxใหผ้ ีปู่ย่าตายาย อนเป็นการแสดงความ xxxxxxต่อบรรพบุรุษ และทําบุญวนสําคัญทางพระพุทธศาสนาวันมาฆบูชา |
12. แคปะกุน (เดือนมีนาคม หรือเดือนสี่) ประเพณีเทศน์ | แคปะกุน (เดือนมีนาคมหรือเดือนสี่) ประเพณีเทศมหาชาติซ่ึงเหมือนกับ ประเพณีภาคอื่นๆ ด้วย เป็นงานบุญทางพุทธศาสนาท่ีถือปฏิบัติทําบุญถวาย |