การสํารวจและเก็บข้อมูลความเสี่ยง ความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในอดีต-ปัจจุบัน ข้อกำหนดตัวอย่าง

การสํารวจและเก็บข้อมูลความเสี่ยง ความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในอดีต-ปัจจุบัน. การศึกษาความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และการปรับตัวของเกษตรในพื้นที่ศึกษาระดับชุมชนดังกล่าว ด้าเนินการใน 2 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนแรก การส้ารวจและเก็บข้อมูลความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง ความสามารถในการปรับตัวของ เกษตรกรในชุมชนต่อผลกระทบจากสภาพอากาศผันแปรในอดีตถึงปัจจุบัน ใช้วิธีการประเมินสภาวะชนบทอย่าง เร่งด่วน (RRA) โดยการตั้งประเด็นค้าถามแบบปลายเปิด ด้าเนินสัมภาษณ์ตัวแทนเกษตรกร ผู้รู้และผู้น้าในชุมชน และตัวแทนบุคคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนต้าบลและหรือเทศบาลต้าบล) รวม จ้านวนทั้งสิ้น 120 คน เพื่อให้ได้ข้อสรุปเบื้องต้นเกี่ยวกับความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง ความสามารถในการ ปรับตัวของเกษตรกรในชุมชนต่อผลกระทบจากสภาพอากาศผันแปรในอดีตถึงปัจจุบัน อันเป็นข้อมูลที่น้าไปสู่การ ด้าเนินการในขั้นตอนที่สองต่อไป

Related to การสํารวจและเก็บข้อมูลความเสี่ยง ความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในอดีต-ปัจจุบัน

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลงจ้างเป็น หนังสือจะกําหนด ดังนี้

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๕.๑ การพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ โรงเรียนจะพิจารณา ตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคา

  • วัตถุประสงค์ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” และมาตรการ 3 ป. 1 ค. ในการป้องกันการทุจริตของกระทรวงสาธารณสุข มุ่งสู่หน่วยงาน คุณธรรมและความโปร่งใส โดยเน้นผู้นําหน่วยงานเป็นต้นแบบ โดยผู้บริหารให้ความสําคัญ และแสดงความ ตั้งใจหรือให้คํามั่นที่จะนําพาหน่วยงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม มีความโปร่งใส ปราศจากการทุจริต และพร้อมที่จะได้รับการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตามเจตจํานงที่ได้แสดงไว้อย่างจริงใจ ทั้งจาก เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานและจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือสาธารณชนภายนอกหน่วยงาน อีกทั้งส่งเสริม/ สนับสนุนให้หน่วยงานมีการดําเนินงานอย่างมีคุณธรรมและความโปร่งใสมากขึ้น ผ่านการกําหนดทิศทาง นโยบาย มาตรการ โครงการหรือกิจกรรม ตามแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

  • ค่าปรับ หากผู้รับจ้างไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กําหนดไว้ในสัญญาและผู้ว่าจ้างยังมิได้บอก เลิกสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องชําระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็นจํานวนเงิน วันละ ……………..บาท และจะต้องชําระ ค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานในเมื่อผู้ว่าจ้างต้องจ้างผู้ควบคุมงานอีกต่อหนึ่งเป็นจํานวนเงิน วันละ บาท นับถัดจากวันที่กําหนดแล้วเสร็จตามสัญญาหรือวันที่ผู้ว่าจ้างได้ขยายให้จนถึงวันที่ ทํางานแล้วเสร็จจริง นอกจากนี้ ผู้รับจ้างยอมให้ผู้ว่าจ้างเรียกค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากการที่ผู้รับจ้างทํางานล่าช้าเฉพาะส่วนที่เกินกว่าจํานวน ค่าปรับและค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้อีกด้วย ในระหว่างที่ผู้ว่าจ้างยังมิได้บอกเลิกสัญญานั้น หากผู้ว่าจ้างเห็นว่าผู้รับจ้างจะไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญา ต่อไปได้ ผู้ว่าจ้างจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและใช้สิทธิตามข้อ 18 ก็ได้ และถ้าผู้ว่าจ้างได้แจ้ง ข้อเรียกร้องไปยัง ผู้รับจ้างเมื่อครบกําหนดแล้วเสร็จของงานขอให้ชําระค่าปรับแล้ว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะปรับ ผู้รับจ้างจนถึงวันบอกเลิก สัญญาได้อีกด้วย

  • การบังคับค่าปรับ ค่าเสียหาย และค่าใช้จ่าย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใดด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเป็นเหตุให้เกิดค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือ ค่าใช้จ่ายแก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างต้องชดใช้ค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยสนิ้ เชิงภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับ ถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเปน็ หนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากผู้รับจ้างไม่ชดใช้ให้ถูกต้องครบถ้วนภายในระยะเวลาดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างมีสทธิที่จะหัก เอาจากจำนวนเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ หรือจากเงินประกันผลงาน ของผู้รับจ้าง หรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบติตามสัญญาได้ทนั ที หากค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายที่บังคับจากเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ เงินประกันผลงาน หรือหลักประกันการ ปฏิบัติตามสัญญาแล้วยังไม่เพียงพอ ผู้รับจ้างยินยอมชำระส่วนที่เหลือ ที่ยังขาดอยู่จนครบถ้วนตามจำนวนค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายนั้น ภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากมีเงินค่าจ้างตามสัญญาที่หักไว้จ่ายเป็นค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายแล้วยังเหลืออยู่อีกเท่าใด ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้างทงั้ หมด

  • หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ในขณะทําสัญญานี้ผู้รับจ้างได้นําหลักประกันเป็น…………..…...…..…....………..……… เป็นจํานวนเงิน ……......…....บาท (………….…..………….) ซึ่งเท่ากับร้อยละ 5 (ร้อยละห้า) ของราคาค่าจ้างตามสัญญา มามอบ ให้แก่ผู้ว่าจ้างเพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้ กรณีผู้รับจ้างใช้หนังสือค้ําประกันมาเป็นหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา หนังสือค้ําประกัน ดังกล่าวจะต้องออกโดยธนาคารที่ประกอบกิจการในประเทศไทย หรือโดยบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบตามแบบที่คณะกรรมการ นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐกําหนด หรืออาจเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตาม วิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได้ และจะต้องมีอายุการค้ําประกันตลอดไปจนกว่าผู้รับจ้างพ้นข้อผูกพันตามสัญญา นี้ หลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบให้ตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีอายุครอบคลุมความรับผิดทั้งปวงของผู้ รับจ้างตลอดอายุสัญญา ถ้าหลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบให้ดังกล่าวลดลงหรือเสื่อมค่าลง หรือมีอายุไม่ครอบคลุม ถึงความรับผิดของผู้รับจ้างตลอดอายุสัญญา ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงกรณี ผู้รับจ้างส่งมอบงานล่าช้าเป็นเหตุ ให้ระยะเวลาแล้วเสร็จหรือวันครบกําหนดความรับผิดในความชํารุดบกพร่องตามสัญญาเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเกิดขึ้น คราวใด ผู้รับจ้างต้องหาหลักประกันใหม่หรือหลักประกันเพิ่มเติมให้มีจํานวนครบถ้วนตามวรรคหนึ่งมามอบให้แก่ ผู้ว่าจ้างภายใน 7 วัน (เจ็ดวัน) นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบไว้ตามข้อนี้ ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้างโดยไม่มีดอกเบี้ยเมื่อ ผู้รับจ้างพ้นจากข้อผูกพันและความรับผิดทั้งปวงตามสัญญานี้แล้ว

  • การตรวจงานจ้าง ถ้าผู้ว่าจ้างแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อควบคุมการทำงานของผู้ รับจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานนั้ มีอำนาจเข้าไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที่ก่อสร้างได้ ทุกเวลา และผู้รับจ้างจะต้องอำนวยความสะดวกและให้ความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทำให้ผู้รับจ้างพน้ ความรับผิดชอบ ตามสัญญานี้ข้อใดข้อหนึ่งไม่

  • การหักเงินประกันผลงาน ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างแต่ละงวด ผู้ว่าจ้างจะหักเงินจํานวนร้อยละ...........-.............. (… ) ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนั้นเพื่อเป็นประกันผลงาน ในกรณีที่เงินประกันผลงานถูกหักไว้แล้วเป็นจํานวนเงิน ไม่ต่ํากว่า………..-...........บาท (…………-…………...) ผู้รับจ้างมีสิทธิที่จะขอเงินประกันผลงานคืน โดยนําหนังสือค้ํา ประกันของธนาคารหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งออกโดยธนาคารภายในประเทศมามอบให้ผู้ว่าจ้างเพื่อ เป็นหลักประกันแทนก็ได้ ผู้ว่าจ้างจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ําประกันของธนาคารดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง โดยไม่มีดอกเบี้ยให้แก่ผู้รับจ้างพร้อมกับการจ่ายเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย ภายในกําหนด 1 (หนึ่ง) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาผู้รับจ้างจะต้องเสนอแผนงานให้เป็นที่ พอใจแก่ผู้ว่าจ้าง โดยแสดงถึงขั้นตอนของการทํางานและกําหนดเวลาที่ต้องใช้ในการทํางานหลักต่าง ๆ ให้แล้วเสร็จ ผู้รับจ้างต้องเริ่มทํางานที่รับจ้างภายในกําหนด 7 (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งให้เริ่ม งาน และจะต้องทํางานให้แล้วเสร็จภายในกําหนด 45 (สี่สบห้า) วัน นับถัดจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งดังกล่าวนั้น ถ้าผู้รับจ้างมิได้เสนอแผนงาน หรือมิได้ลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาหรือไม่สามารถทํางานให้แล้ว เสร็จตามกําหนดเวลา หรือมีเหตุให้เชื่อได้ว่าผู้รับจ้างไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลา หรือจะแล้ว เสร็จล่าช้าเกินกว่ากําหนดเวลา หรือผู้รับจ้างทําผิดสัญญาข้อใดข้อหนึ่ง หรือตกเป็นผู้ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด หรือ ตกเป็นผู้ล้มละลาย หรือเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือผู้ควบคุมงานหรือบริษัท ที่ปรึกษาซึ่งได้รับมอบอํานาจจากผู้ว่าจ้าง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ และมีสิทธิจ้างผู้รับจ้างรายใหม่เข้า ทํางานของผู้รับจ้างให้ลุล่วงไปได้ด้วย การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญานั้นไม่กระทบสิทธิของผู้ว่าจ้างที่จะเรียกร้อง ค่าเสียหายจากผู้รับจ้าง การที่ผู้ว่าจ้างไม่ใช้สิทธิเลิกสัญญาดังกล่าวข้างต้นนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้างพ้นจากความรับผิดตาม สัญญา

  • งานพิเศษและการแก้ไขงาน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะสั่งเป็นหนังสือให้ผู้รับจ้างทํางานพิเศษซึ่งไม่ได้แสดงไว้หรือรวมอยู่ในเอกสาร สัญญานี้ หากงานพิเศษนั้นๆ อยู่ในขอบข่ายทั่วไปแห่งวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ นอกจากนี้ ผู้ว่าจ้างยังมีสิทธิสั่งให้ เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขแบบรูปและข้อกําหนดต่างๆ ในเอกสารสัญญานี้ด้วย อัตราค่าจ้างหรือราคาที่กําหนดไว้ในสัญญานี้ ให้กําหนดใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มเติม ขึ้น หรือตัดทอนลงทั้งปวงตามคําสั่งของผู้ว่าจ้าง หากในสัญญาไม่ได้กําหนดไว้ถึง อัตราค่าจ้าง หรือราคาใด ๆ ที่จะ นํามาใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงดังกล่าว ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างจะได้ตกลงกันที่จะกําหนดอัตรา ค่าจ้างหรือราคาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง รวมทั้งการขยายระยะเวลา (ถ้ามี) กันใหม่เพื่อความเหมาะสม ในกรณีที่ตกลง กันไม่ได้ ผู้ว่าจ้างจะกําหนดอัตราจ้างหรือราคาตามแต่ผู้ว่าจ้างจะเห็นว่าเหมาะสมและถูกต้อง ซึ่งผู้รับจ้างจะต้อง ปฏิบัติงานตามคําสั่งของผู้ว่าจ้างไปก่อนเพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่งานที่จ้าง

  • การรับประกันความชํารุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทําสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือ ข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชํารุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลา ไม่ น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่โรงเรียนได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิม ภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชํารุดบกพร่อง