สถานประกอบการภาครัฐ ข้อกำหนดตัวอย่าง

สถานประกอบการภาครัฐ a) การเลิกจ้างไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเลือกบุคคลเพื่อการเลิกจ้าง b) การเลิกจ้างที่ลูกจ้างสามารถทํางานในตําแหน่งอื่นในสํานักงานเดียวกัน หรือในสํานักงานอื่นของสาขาในสถานประกอบการเดียวกันหรือในสถานประกอบการสาขาอื่นตาม เส้นทางการเดินทางเดียวกัน และคณะกรรมการลูกจ้างที่มีอํานาจได้คัดค้านการเลิกจ้างในเวลาที่ เหมาะสมด้วยเหตุผลเหล่านี้ เว้นแต่ตัวแทนของคณะกรรมการลูกจ้างระดับสูงได้ทําการเจรจากับ สํานักงานระดับสูงและไม่ได้ทําคําคัดค้านเหล่านี้ไว้ ตามวรรคสองแห่งอนุมาตรานี้ จะมีผลบังคับใช้ได้หากสามารถจ้างงานลูกจ้าง ต่อไปได้หลังจากที่ลูกจ้างได้รับการฝึกอบรมใหม่หรือการฝึกอบรมเพิ่มเติมในระยะเวลาที่สมควร หรือ ภายใต้เงื่อนไขการทํางานที่นายจ้างปรับปรุงใหม่ และลูกจ้างได้ให้ความยินยอมต่อเงื่อนไขนั้น (3) การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากความจําเป็นของสถานประกอบการที่หลีกเลี่ยง ไม่ได้ตามความหมายของ (2) การเลิกจ้างดังกล่าวยังคงถือว่าไม่มีเหตุผลทางสังคมหากนายจ้างไม่ได้ พิจารณา หรือไม่ได้พิจารณาอย่างเพียงพอถึงความอาวุโส อายุ หน้าที่ในการดูแลครอบครัว และความ พิการรุนแรงของลูกจ้าง หรือตามคําร้องของลูกจ้าง โดยนายจ้างต้องระบุเหตุผลในการคัดเลือกลูกจ้าง คนนั้น ๆ ให้ออกจากงานด้วย โดยลูกจ้างจะไม่ถูกรวมอยู่ในการคัดเลือกทางสังคมตามวรรคหนึ่งแห่ง อนุมาตรานี้ หากการจ้างงานต่อไปจะเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานของนายจ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องจากความรู้ ทักษะ และประสิทธิภาพของลูกจ้าง หรือในการจ้างงานลูกจ้างคนนั้นต่อไปเพื่อให้มี โครงสร้างบุคลากรที่สมดุลในสถานประกอบการของนายจ้าง ลูกจ้างมีภาระในการพิสูจน์ข้อเท็จจริงว่าการเลิกจ้างไม่มีเหตุผลทางสังคมตาม ความหมายของ (3) วรรคหนึ่ง (4) ในกรณีที่มีข้อตกลงการเจรจาต่อรองร่วมกันระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ข้อตกลงในสถานประกอบการตามมาตรา 95 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญของสถานประกอบการ หรือ แนวทางที่สอดคล้องกันภายใต้กฎหมายที่ควบคุมดูแลการเป็นคณะกรรมการลูกจ้าง เพื่อกําหนด วิธีการประเมินหลักเกณฑ์ในการเลิกจ้างทางสังคมตาม (3) วรรคหนึ่ง การประเมินดังกล่าวสามารถ ทบทวนได้เฉพาะในกรณีที่มีข้อผิดพลาดร้ายแรงจากการเจรจาเท่านั้น (5) ในกรณีที่มีการเลิกจ้างเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจตามมาตรา 111 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญของสถานประกอบการ และลูกจ้างที่ต้องถูกเลิกจ้างได้ถูกระบุชื่อในข้อตกลง การเลิกจ้างจากการประชุมระหว่างนายจ้างและคณะกรรมการกรรมการลูกจ้างแล้ว จะถือว่าเป็นการ เลิกจ้างเนื่องจากความจําเป็นของสถานประกอบการตามความหมายของ (2) วรรคสอง การคัดเลือกทางสังคมของลูกจ้างที่ต้องถูกเลิกจ้างสามารถทบทวนได้เฉพาะ ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดจากการประชุมอย่างร้ายแรงเท่านั้น วรรคหนึ่งและวรรคสองแห่งอนุมาตรานี้ จะไม่มีผลบังคับใช้หากสถานการณ์มี การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสําคัญหลังจากที่ข้อตกลงการเลิกจ้างได้รับการยืนยันแล้ว ข้อตกลงตามวรรคหนึ่งจะต้องมีความคิดเห็นของคณะกรรมการลูกจ้าง ตาม มาตรา 17 (3) วรรคสอง (1) หากนา...

Related to สถานประกอบการภาครัฐ

  • เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา เอกสารแนบท้ายสัญญาดังต่อไปนี้ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้ ๒.๑ ผนวก ๑ .…….….(แบบรูป)……........…......….......….. จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๒ ผนวก ๒ ………...(รายการละเอียด)…….....……....... จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๓ ผนวก ๓ …........(ใบแจ้งปริมาณงานและราคา)...... จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๔ ผนวก ๔ ……….(ใบเสนอราคา)….........…………....... จํานวน.…..( ) หน้า …………..……………..……ฯลฯ……….………..…………… ความใดในเอกสารแนบท้ายสัญ ญ าที่ ขั ดห รื อแย้ งกั บ ข้ อความในสัญ ญ านี้ ให้ ใช้ ข้ อความ ในสัญญานี้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบท้ายสัญญาขัดแย้งกันเอง ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผู้ ว่าจ้าง คําวินิจฉัยของผู้ว่าจ้างให้ถือเป็นที่สุด และผู้รับจ้างไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าจ้าง ค่าเสียหายหรือค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติมจากผู้ว่าจ้างทั้งสิ้น

  • Quality Safety ระบบมาตรฐานทเกี่ยวข้อง Health Environment

  • การทําสัญญาจ้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญา โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ๖.๑ เงินสด ๖.๒ เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นเช็คลงวันที่ที่ ทําสัญญา หรือก่อนหน้านั้น ไม่เกิน ๓ วัน ทําการของทางราชการ ๖.๓ หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบหนังสือค้ําประกัน ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด ๖.๔ หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกัน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตาม รายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้ําประกันของ ธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • การตรวจรับ เม่ือผู้ซื้อได้ตรวจรับสิ่งของท่ีส่งมอบและเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาแล้ว ผู้ซื้อจะออกหลักฐานการรับมอบเป็นหนังสือไว้ให้ เพื่อผู้ขายนํามาเป็นหลักฐานประกอบการขอรับเงิน ค่าสิ่งของนั้น ถ้าผลของการตรวจรับปรากฏว่า สิ่งของที่ผู้ขายส่งมอบไม่ตรงตามข้อ ๑ ผู้ซื้อทรงไว้ ซึ่งสิทธิท่ีจะไม่รับสิ่งของนั้น ในกรณีเช่นว่านี้ ผู้ขายต้องรีบนําสิ่งของนั้นกลับคืนโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้ และนําสิ่งของมาส่งมอบให้ใหม่ หรือต้องทําการแก้ไขให้ถูกต้องตามสัญญาด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ขายเอง และระยะเวลาท่ีเสียไปเพราะเหตุดังกล่าวผู้ขายจะนํามาอ้างเป็นเหตุขอขยายเวลาส่งมอบตามสัญญาหรือ ของดหรือลดค่าปรับไม่ได้

  • ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์

  • การบอกเลิกสัญญา ถ้าผู้ขายไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อใดข้อหนึ่ง หรือเมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว หาก ผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบจำนวน ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือ แต่บางส่วนได้ การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญานั้นไม่กระทบสิทธิของผู้ซื้อที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ขาย ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธบิ อกเลิกสัญญา ผู้ซื้อมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกัน ตาม (ข้อ ๖ และ) ข้อ ๘ เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวน หรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่ง แล้วแต่กรณี ภายในกำหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน นบั ถัดจากวันบอกเลิกสัญญา ผู้ขายจะต้องชดใช้ราคา ที่เพิ่มขึ้นจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย

  • การจ้างช่วง ผู้รับจ้างจะต้องไม่เอางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งสัญญานี้ไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง เว้นแต่การจ้างช่วงงาน แต่บางส่วนที่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างแล้ว การที่ผู้ว่าจ้างได้อนุญาตให้จ้างช่วงงานแต่บางส่วนดังกล่าวนั้น ไม่เป็นเหตุให้ ผู้รับจ้างหลุดพ้นจาก ความรับผิดหรือพันธะหน้าที่ตามสัญญานี้ และผู้รับจ้างจะยังคงต้องรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเล่อ ของผู้รับจ้างช่วง หรือของตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้รับจ้างช่วงนั้นทุกประการ กรณีผู้รับจ้างไปจ้างช่วงงานแต่บางส่วนโดยฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็น จำนวนเงินในอัตราร้อยละ ๑๐ (สิบ) ของวงเงินของงานที่จ้างช่วงตามสัญญา ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิผู้ว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา

  • การตรวจงานจ้าง ถ้าผู้ว่าจ้างแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อควบคุมการทำงานของผู้ รับจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานนั้ มีอำนาจเข้าไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที่ก่อสร้างได้ ทุกเวลา และผู้รับจ้างจะต้องอำนวยความสะดวกและให้ความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทำให้ผู้รับจ้างพน้ ความรับผิดชอบ ตามสัญญานี้ข้อใดข้อหนึ่งไม่

  • มาตรฐานฝีมือช่าง เมื่อ ปณท ได้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอรำยใดให้เป็นผู้รับจ้ำงและได้ตกลงจ้ำงก่อสร้ำงตำมประกำศนี้ แล้ว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องตกลงว่ำในกำรปฏิบัติงำนก่อสร้ำงดังกล่ำว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องมีและใช้ผู้ผ่ำนกำร ทดสอบมำตรฐำนฝีมือช่ำงจำกสถำบันของทำงรำชกำร หรือผู้มีวุฒิบัตรระดับ ปวช. ปวส. และ ปวท. หรือ เทียบเท่ำจำกสถำบันกำรศึกษำที่ ก.พ. รับรองให้เข้ำรับรำชกำรได้ ในอัตรำไม่ต่ํำกว่ำร้อยละ ๑๐ ของแต่ละ สำขำช่ำงแต่จะต้องมีจํำนวนช่ำงอย่ำงน้อย ๑ คน ในแต่ละสำขำช่ำง ดังต่อไปนี้ ๑๓.๒ …………………ฯลฯ……………………

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ ๓.๑ ส่วนที่ ๑ อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นนิติบุคคล (ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (ข) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) และบัญชีผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (๒) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ให้ยื่น สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้นั้น สําเนาข้อตกลงที่แสดงถึงการเข้าเป็นหุ้นส่วน (ถ้ามี) สําเนาบัตรประจําตัว ประชาชนของผู้เป็นหุ้นส่วน หรือสําเนาหนังสือเดินทางของผู้เป็นหุ้นส่วนที่มิได้ถือสัญชาติไทย พร้อมทั้งรับรองสําเนา ถูกต้อง (๓) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นผู้ยื่นข้อเสนอร่วมกันในฐานะเป็นผู้ร่วมค้า ให้ยื่นสําเนา สัญญาของการเข้าร่วมค้า และเอกสารตามที่ระบุไว้ใน (๑) หรือ (๒) ของผู้ร่วมค้า แล้วแต่กรณี (๔.๒) สําเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) (๕) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ทั้งหมดที่ได้ยื่นพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัด จ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบในข้อ ๑.๗ (๑) โดยไม่ต้องแนบในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ทั้งนี้ เมื่อผู้ยื่นข้อเสนอดําเนินการแนบไฟล์เอกสารตามบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ครบถ้วน ถูกต้องแล้ว ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์จะสร้างบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ตามแบบใน ข้อ ๑.๗ (๑) ให้โดยผู้ยื่นข้อเสนอไม่ต้องแนบบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ดังกล่าวในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)