หลักการและเหตุผล ข้อกำหนดตัวอย่าง

หลักการและเหตุผล. (คำอธิบาย : ระบุที่มาและความสำคัญของปัญหา ผลงานวิจัยที่มีการดำเนินงานวิจัยมาก่อน ขอบเขตงานวิจัย กรอบการวิจัย และประโยชน์ที่จะได้รับจากงานวิจัย)
หลักการและเหตุผล. สัญญาที่หน่วยงานภาครัฐตกลงทํากับภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจอาจปรากฏออกมาในหลายรูปแบบเช่น สัญญาจัดซื้อพัสดุ สัญญาจ้างทําของหรือสัญญาก่อสร้าง สัญญาจ้างที่ปรึกษา เป็นต้น สัญญาดังกล่าวมี พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ได้วางหลักเกณฑ์กําหนดสิทธิหน้าที่ในการ บริหารสัญญาไว้โดยเฉพาะแล้ว อย่างไรก็ตามเมื่อภาครัฐกับภาคเอกชนมีข้อพิพาทในสัญญา สิ่งที่จําเป็นจะต้อง พิจารณาเพื่อประกอบการตีความเนื้อหาในสัญญาด้วยเสมอ คือสัญญานั้นเป็นสัญญาทางแพ่ง ซึ่งภาครัฐตกลงทํากับ ภาคเอกชนในฐานะเป็นคู่สัญญาที่เท่าเทียมกัน หรือเป็นสัญญาทางปกครองที่ภาครัฐได้อาศัยอํานาจรัฐที่เหนือกว่าเข้า มากําหนดเนื้อหาความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน อันจะนําไปสู่นิติวิธีในการตีความสัญญาที่แตกต่างกันออกไปด้วย ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐจึงจําเป็นต้องทําความเข้าใจในนิติสัมพั นธ์ในทางแพ่งและทางปกครอง รวมถึง หลักเกณฑ์ วิธีการการบริหารสัญญาตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ เพื่อจัดการให้เกิดความสมดุลระหว่างประโยชน์สาธารณะกับประโยชน์ของเอกชน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็นถึงความสําคัญดังกล่าว จึงกําหนดจัด โครงการฝึกอบรมหลักสูตร กลยุทธ์การบริหารสัญญาภาครัฐอย่างมืออาชีพ (ออนไลน์) ปี 2565 ขึ้น
หลักการและเหตุผล. พันธมิตรทางธุรกิจมีส่วนสำาคัญอย่างยิ่งต่อความสำาเร็จของเรา เริ่มตั้งแต่ผู้รับเหมาไปจนถึงตัวแทนจำาหน่าย การทำางาน ร่วมกันระหว่างเอไอเอสและพันธมิตรของเราตลอดระยะเวลาทผ่านมา แสดงให้เห็นว่าพันธมิตรกลายเป็นส่วนหนงในการนาำ เสนอ ค่านิยมของเอไอเอสทงเรื่องของตราสินค้า ชื่อเสียง และเอกลักษณ์ของเรา ไปสู่กลุ่มลูกค้าชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของเราใน วงกวา้ ง เราจึงเชอมน ว่าสง่ สาำ คญคือ เราจะต้องมีสวนรวมรบ ผิดชอบตอพฤตก รรมและการกระทาำ ใดๆ ของพน ธมิตรของเราด้วย พันธมิตรของเราสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ • พันธมิตรขั้นต้น (ผู้รับเหมาในส่วนของการดำาเนินงานและการบำารุงรักษา) • พันธมิตรขั้นปลาย (ตัวแทนจำาหน่ายและร้านค้าปลีกนักพัฒนาข้อมูลและแอพพลิเคชั่น และอื่นๆ) การสร้างความสัมพันธ์อย่างยั่งยืนกับผู้รับเหมาของเราทวีความสำาคัญยิ่งขึ้น จากการที่ปัจจุบันเราอยู่ระหว่างขยาย โครงข่าย 3G ซึ่งผู้รับเหมาดังกล่าวจะต้องเข้าไปติดตงอุปกรณ์ในพื้นที่ชุมชนใหม่ๆ เพื่อวางโครงสร้างพื้นฐานที่จำาเป็น เราจึงให้ ความสำาคัญเป็นอย่างมากต่อการสร้างสิ่งแวดล้อมในการทำางานให้มีความปลอดภัยต่อผู้รับเหมา ซึ่งจะทำาให้พวกเขาเหล่านนั สามารถดำาเนินงานได้อย่างมีคุณภาพและระมัดระวัง ในขณะเดียวกันเรามุ่งมนสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวกับตัวแทนจำาหน่าย และพันธมิตรในขนปลายอื่นๆ ด้วยซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพและสร้างโอกาสให้พันธมิตรของเราสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าทุกกลุ่ม เป้าหมาย ทั้งนี้กว่าร้อยละ 97 ของการดำาเนินธุรกิจของเอไอเอสเป็นการดำาเนินงานผ่านตัวแทนจำาหน่ายและช่องทางธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เอไอเอสมีแนวทางที่จะพัฒนาพันธมิตรของเราอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการความยั่งยืนโดยการใช้กลยุทธ์ร่วมกัน ในขั้นแรกนี้ เราต้องทำาให้มั่นใจได้ว่า ผู้รับเหมาของเราได้ปฏิบัติตามมาตรฐานและแนวทางด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่เรากำาลังพัฒนาอยู่ และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้เราได้จัดให้มีการฝึกอบรมและการพัฒนาความรู้ให้แก่ พันธมิตร โดยนอกเหนือจากการอบรมมาตรฐานทางเทคนิค ทางสังคมและสิ่งแวดล้อมแล้ว เราได้เพิ่มในส่วนของการอบรม เรื่องคุณค่าองค์กรและวิสัยทัศน์เพื่อการพัฒนาอย่างยงยืนเข้าไปด้วย สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ยังได้ดำาเนินการไปในแนวทางที่จะทำาให้ เอไอเอสสามารถเข้าถึงความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้นจากการศึกษาผ่านพันธมิตรขั้นปลาย รวมถึงได้ถ่ายทอดไปสู่ผู้รับ เหมาอีกด้วย ขั้นตอนเหล่านี้จึงมีความสำาคัญเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้บรรลุถึงการมีผลประโยชน์ร่วมกันในอนาคต และทำาให้เรา มั่นใจได้ว่า เอไอเอสจะยังคงเป็นผู้นำาในการส่งมอบ “ประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้า” เพื่อให้เราบรรลุเป้าหมายของ การเติบโตอย่างยั่งยืน ประเด็นสำาคัญ สร้างหุ้นส่วนทางธุรกิจที่ยั่งยืน คำามั่นสัญญา • มุ่งมั่นสร้างความรับผิดชอบร่วมกันกับพันธมิตรของเรา • สร้างการเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจที่จะเติบโตไปพร้อมกัน เป้าหมาย มุ่งมั่นสร้างความรับผิดชอบร่วมกั...
หลักการและเหตุผล. 1.1 สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประเทศเป้าหมายในการส่งเสริมการลงทุน เนื่องจากมีศักยภาพในการเข้า มาลงทุนในประเทศไทย และมีตลาดที่ใหญ่สามารถเป็นแหล่งรองรับการผลิตจากประเทศไทย และจาก สถิติการขอรับการส่งเสริมการลงทุนย้อนหลังตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2558 ถึงปัจจุบัน การลงทุนของจีนใน ประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยตลอด โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และในอนาคตยังมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องด้วยเหตุผลด้านนโยบายของรัฐ รวมทั้งปัจจัยด้านการตลาด และคาดว่าใน อนาคต จีนจะเป็นหนึ่งในนักลงทุนสําคัญสําหรับการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทย 1.2 ในช่วงที่ผ่านมา สํานักงานได้ดําเนินกิจกรรมในหลากหลายรูปแบบ เช่น การจัดสัมมนาเพื่อเผยแพร่ ข้อมูลการให้การส่งเสริมของประเทศไทย การสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานราชการและเอกชนของจีน และพบปะกับบริษัทจีนที่เป็นเป้าหมาย ซึ่งผลจากการดําเนินกิจกรรมดังกล่าว ส่งเสริมให้บริษัทที่มี ศักยภาพและบริษัทที่ต้องการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศอยู่แล้วตามนโยบาย Belt and Road Initiative ของจีน ให้ความสนใจและพิจารณาขยายการลงทุนในประเทศไทยเพิ่มขึ้น 1.3 ในปี พ.ศ. 2561 สํานักงานได้ปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนฉบับใหม่และปรับเปลี่ยน เครื่องมือในการชักจูงการลงทุนภายใต้พระราชบัญญัติการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศสําหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ซึ่งภายใต้ พ.ร.บ. ทั้ง 2 ฉบับนี้ สํานักงานต้องมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมการลงทุนให้ถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ซึ่งต้องอาศัยการเข้าถึงข้อมูลภาษาจีน รวมถึงการให้ ข้อมูลด้วยภาษาจีน เพื่อให้คําแนะนําและประสานงานให้สามารถเข้าถึงนักลงทุนเป้าหมายได้ 1.4 จากหลักการและเหตุผลข้างต้น สํานักงานจึงจําเป็นต้องดําเนินการจ้างเหมาบริการงานแปลภาษาจีน เพื่อทําหน้าที่เผยแพร่และชี้แจงข้อมูลแก่นักลงทุนจีน โดยต้องการผู้ที่ทําหน้าที่แปลเอกสาร จากภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษเป็นภาษาจีน หรือจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ รวมทั้ง ทําหน้าที่เป็นล่ามแปลภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษเป็นภาษาจีน หรือจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย ประจําสํานักงาน เพื่อช่วยปฏิบัติงานด้านการสื่อสารระหว่างบุคลากรของสํานักงานกับนักลงทุนจีน ที่มาติดต่อ ซึ่งจะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในการสื่อสารกับนักลงทุนจีน ให้มีความเข้าใจกัน ได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง และครบถ้วน
หลักการและเหตุผล. ภารกิจหลักของเจาหนาที่ตํารวจคือการพิทักษปกปองสังคมใหปลอดจาก อาชญากรรมเพื่อสรางสังคมแหงความสงบสุขโดยตํารวจมีหนาที่ในการบังคับใชกฎหมายรักษา ความสงบเรียบรอยของบานเพื่อปกปองชีวิตและทรัพยสินของประชาชนภายใตคําขวัญที่วา “ผูพิทักษสันติราษฎร”ในการปฏิบัติภารกิจดังกลาวใหสําเร็จลุลวงขาราชการตํารวจเปนปจจัย ที่สําคัญที่สุดมีผลตอการบรรลุภารกิจดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินใหแกคนใน สังคมไทยทั้งนี้ขาราชการตํารวจตองมีขวัญและกําลังใจ (Moral) ในการปฏิบัติหนาที่ซึ่งการสราง ขวัญและกําลังใจมาจากหลายปจจัยโดยเฉพาะเรื่องความกาวหนาในอาชีพโดยพิจารณาจาก ความดีความชอบการเลื่อนตําแหนงและแตงต้ังโยกยายยอมมีผลตอขวัญและกําลังใจของ ขาราชการตํารวจหากมองในแงความเปนองคกร สํานักงานตํารวจแหงชาตินับวาเปนองคกร ขนาดใหญมีภารกิจสําคญในการปองก ปราบปรามอาชญากรรม รักษาความสงบเรยบรี อยของ ประเทศ ตลอดจนอํานวยความยุติธรรมใหแกประชาชน ซ่ึงถือวาภารกิจที่สํานักงานตํารวจ แหงชาติไดรับนั้นมีเปนจํานวนมาก ประกอบกับในปจจุบันอาชญากรรมในประเทศไทยมีแนวโนมท่ี จะรุนแรงมากขึ้นมีอาชญากรรมรูปแบบใหมๆ เกิดขึ้นมากมาย รวมถึงในอนาคตที่จะมีเปดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะทําใหมีการเคล่ือนยายของประชากรในภูมิภาคนี้มากขึ้น ยอม สงผลใหเกิดอาชญากรรมเพิ่มมากข้ึน แตในขอเท็จจริงกําลังพลของสํานักงานตํารวจแหงชาติยัง มีไมเพียงพอตอภาระงานที่ไดรับ ในอดีตที่ผานมาศาลปกครองสูงสุดไดมีคําพิพากษาที่นาสนใจหลายเรื่อง เชนการ เพิกถอนคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปน ประมุขที่สั่งยายขาราชการตํารวจระดับสูงของสํานักงานตํารวจแหงชาติ (ตร.)ไปปฏิบัติราชการ ที่สํานักงานนายกรัฐมนตรีโดยมิชอบดวยกฎหมายรวมถึงคําสั่งใหเพิกถอนคําสั่งแตงตั้งรอง อธิบดีกรมสรรพากรซึ่งตอมาไดรับการเลื่อนระดับตําแหนงสูงขึ้นเปนถึงอธิบดีแลวโดยใหเพิก ถอนยอนหลังไปตั้งแตวันท่ีระบุในคําสั่ง ซ่ึงตอมาคณะกรรมการ ป.ป.ช.ไดมีมติเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2552 ชี้มูลความผิดตั้งแตอดีตเลขาธิการ ก.พ.และคณะกรรมการคัดเลือกที่พิจารณา แตงตั้งซึ่งมีการดําเนินการคัดเลือกและแตงต้ังขาราชการที่ไมเปนไปตามกฎเกณฑอันกอใหเกิด ความเสียหายอยางรายแรงตอการบริหารราชการ ท้ังนี้คณะกรรมการคัดเลือกยอมพิจารณาได วาการกระทําดังกลาวจะกอใหเกิดความเสียหายตอมีสิทธิไดรับการเลื่อนตําแหนงอันเปนกระทํา ผิดวินัยรายแรง และยังเปนการกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ดวยนอกจากนี้ศาลปกครองยังมีคําพิพากษาที่เพิกถอนคําสั่งแตงตั้งโยกยาย ขาราชการตํารวจโดยไมเปนธรรมโดยศาลวินิจฉัยวา แมกระบวนการแตงตั้งจะชอบดวย กฎหมายและระเบียบแตหากไมมีเหตุผลที่สามารถอธิบายได ก็ไมอาจจะถือวาเปนการกระทําที่ ชอบดวยกฎหมายจึงใหสํานักงานตํารวจแหงชาติควบคุมใหตํารวจภูธร ภาค 2 แ...
หลักการและเหตุผล. กรมทางหลวงมีระบบสารสนเทศ หลายระบบ เพื่อรองรับภารกิจ โดยมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสารมาสนับสนุนงานตางๆ และสามารถตอบสนองตอภารกิจของกรมทางหลวงไดเปนอยางดี อีกทั้งปจจุบัน เทคโนโลยีตางๆ ทางดานระบบสารสนเทศและการสื่อสารมีการพัฒนาไปมาก จึงจําเปนตองเสริมสรางปรับปรุง ประสิทธิภาพโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ใหมีความม่นคง มีประสิทธิภาพที่ดี เหมาะสมกับเทคโนโลยีในปจจุบัน ซ่ึงกรมทางหลวงมีวงจรสื่อสารเครือขายที่มีการเชื่อมโยงกันระหวางสวนกลาง และหนวยงานในภูมิภาค สําหรับรองรับระบบงานตางๆ ดังน้ัน หนวยงานในภูมิภาค ของกรมทางหลวง ซ่ึงไดแก สํานักทางหลวง แขวงทางหลวง ศูนยสรางทาง ศูนยสรางและบูรณะสะพาน จะมีชองทางการสื่อสารหลัก ที่เปน ตัวกลางเชื่อมโยงผูใชงานระบบสารสนเทศ ที่อยูภายในหนวยงานในภูมิภาคเอง อาทิเชน ฝายบริหาร งานปรับซอม และสวนงานตางๆ ใหสามารถใชระบบสารสนเทศของกรมทางหลวงได และที่สําคัญ เพื่อสนับสนุนภารกิจหลัก ซึ่ง ตองใชงานผานเครือขายอินทราเน็ตของกรมไดอยางรวดเร็ว และมีเสถียรภาพ ภายใตโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศ กรมทางหลวง เปนไปตาม พ.ร.บ. การรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร 2562 แตเนื่องจากอาคารและสถานท่ี ทํางานของผูปฏิบัติงานตามสวนงานตางๆ มีอาคารอยูหางกันประมาณ หรือเกินกวา 100 เมตร ในแตละอาคาร โดยเฉพาะอาคารของโรงงาน งานปรับซอม และหนวยงานตรวจสอบและวิเคราะหทางวิศวกรรม ที่มีความ จําเปนตองมีการเชื่อมตอการใชระบบงานสารสนเทศของกรมทางหลวง มักจะเกิดปญหาดานการใชงาน เนื่องจาก ระบบเดิมมีการเดินสายโดยใชสาย UTP และการเชื่อมตอแบบไรสายเปนตัวเชื่อมตอสัญญาณ ทําใหเกิดปญหาการ ใชงานเครือขายลาชา และไมมีความเสถียรภาพเปนอุปสรรคตอการใชงานเปนอยางยิ่ง ดังนั้นกรมทางหลวงโดยศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดเห็นความสําคัญในการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน ดานเครือขายสื่อสารขอมูลของหนวยงานกรมทางหลวงในภูมิภาคใหดียิ่งขึ้น จึงไดจัดทําโครงการติดตั้งปรับปรุง อุปกรณเครือขายและสายสัญญาณหลัก (Fiber Optic) ของหนวยงานในภูมิภาคกรมทางหลวง เพื่อใหสามารถ รองรับการใชงาน การบริหารจัดการ และการบํารุงรักษา ไดอยางมีประสิทธิภาพ
หลักการและเหตุผล. ตามที่กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัด (คบจ.) ตามคำสั่งที่ ๔๒๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๐ ให้มีอำนาจหน้าที่สนับสนุนเศรษฐกิจของส่วนภูมิภาคให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการประสานแผนงานและโครงการของกระทรวงการคลังตามนโยบาลรัฐบาล โดย มุ่งเน้นการดำเนินงาบอย่างบูรพาการการทำงาบของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการคลังร่วมกันให้เป็นไปใน ท ิศทางเดียวกัน และจากมติในการประชุมของทีมเฉพาะกิจวายุภักษ์เพือการแปลงยุทธศาสตร์ กระทรวงการคลังสู,ภูมิภาค เมื่อวับที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เห็นชอบมอบรางวัลคณะผู้บริหารการคลังประจำ จังหวัด (คบจ.) ดีเด่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ให้กับ คบจ. ที่ผ่านเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๔๓ รางวัล แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ๑) รางวัลระดับดีเลิศ ๒) รางวัลระดับดีเด่น ๓) รางวัลระดับดี ๔) รางวัล ระดับซมเชย ซึ่งคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดจันทบุรีได้รับรางวัลในระดับดีเลิศ โดยได้รับโล่รางวัล ใบ ประกาศเกียรติคุณ และเงินรางวัล จำนวน ๑๒๐,๐๐๐ บาท (หนี่งแสนสองหมื่นบาทถ้วน) นั้น เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับหน่วยงานใน คบจ. ที'ได้ร่วมกันบูรณาการจนมีผลการ ดำเนินงานตามนโยบายในระดับดีเลิศ สมควรได้รับการยกย่องและเป็นที่ยอมรับ คณะผู้บริหารการคลังประจำ จังหวัดจันทบุรี จึงเห็นควรจัดโครงการ ‘'ศึกษาดูงานคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัด (คบจ.) ขับเคลื่อนสู่ ความเป็นเลิศ” ของ คบจ.จันทบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น โดยมุ่งหวังเพิมประสิทธิภาพในการ ขับเคลื่อนโครงการต่าง ๆ ของกระทรวงการคลังตามนโยบาลรัฐบาล และมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ การเรียนรู้ในพื้นที่ที่แตกต่างกันทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิงแวดล้อม เพื่อนำแนวทางประสบการณ์ที่ได้รับมา ประยุกต์ และพัฒนาเป็นแนวทางสู่ความเป็นเลิศของคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดจันทบุรีต่อไป
หลักการและเหตุผล. ด้วยในคราวประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2566 กระทรวงการคลังได้เสนอแนวทาง การแก้ไขปัญหาหนี้ทั้งระบบต่อคณะรัฐมนตรีซึ่งปัญหาหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผล กระทบต่อความมั่นคงและการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยพบว่าสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ยังคงเผชิญ ปัญหาภาระหนี้สินจำนวนมากจนเกินศักยภาพในการชำระหนี้สินคืน โดยเฉพาะกลุ่มที่มีรายได้ประจำที่เป็นบุคลากร ของหน่วยงาน คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินสหกรณ์ออมทรัพย์ ผ่านเงินกู้สวัสดิการ ในขณะที่วัตถุประสงค์ในการจัดให้มีสหกรณ์ออมทรัพย์ในหน่วยงานมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น การจัดสวัสดิการให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยงาน และอำนวยความสะดวกให้แก่บุคลากรของหน่วยงานเพื่อ ประโยชน์การดำรงชีพ นอกเหนือจากสวัสดิการที่หน่วยงานจัดให้เป็นกรณีปกติ กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงได้ออก ประกาศแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้สินสำหรับสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ไว้ 4 แนวทาง กล่าวโดยสรุป ได้แก่ 1) ให้สหกรณ์กำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ภายใต้โครงการฯ ในอัตราไม่เกินร้อยละ 4.75 ต่อปี 2) ขยายระยะเวลาการ ชำระหนี้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ ไปจนถึงอายุ 75 ปี 3) ให้สหกรณ์ผู้พิจารณาเงินกู้คำนึงถึงภาระหนี้สินที่สมาชิก ต้องชำระให้แก่สินเชื่อสวัสดิการกับสถาบันการเงินอื่นด้วย เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มีเงินได้รายเดือนคงเหลือหลังหัก ส่งชำระหนี้อย่างน้อยร้อยละ 30 ของเงินได้รายเดือน และ 4) การผ่อนชำระเงินกู้ สหกรณ์สามารถกำหนด หลักเกณฑ์ผ่อนชำระเงินกู้เฉพาะส่วนที่เกินกว่าทุนเรือนหุ้นที่สมาชิกถืออยู่กับสหกรณ์ สหกรณ์ข้าราชการสหกรณ์ จำกัด เป็นสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งแรกของประเทศไทย ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็น สวัสดิการให้กับบุคลากรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยการส่งเสริมการออมเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับสมาชิก รวมถึง การดำเนินธุรกิจการรับฝากเงิน และให้สินเชื่อ รวมถึงการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมกับสมาชิก ปัจจุบันสหกรณ์มี สมาชิกจำนวน 7,973 ราย ทุนเรือนหุ้น 3,235,772,000 บาท เงินรับฝาก 2,750,414,133.71 บาท สินทรัพย์รวม 6,550,992,127.65 บาท โดยสินทรัพย์ส่วนใหญ่อยู่ในส่วนของลูกหนี้เงินกู้ คิดเป็นร้อยละ 98.83 จำนวน 6,473,822,032.17 บาท ในขณะที่สมาชิกมีเงินได้รายเดือนคงเหลือหลังหักภาระหนี้สินที่ต้องชำระให้แก่สินเชื่อ สวัสดิการกับสถาบันการเงินอื่นโดยมีเงินได้รายเดือนคงเหลือหลังหักส่งชำระหนี้ น้อยกว่าร้อยละ 30 ของเงินได้ราย เดือน จำนวน 1,875 ราย คิดเป็นร้อยละ 34.09 ของสมาชิกที่มีหนี้เงินกู้กับสหกรณ์ (สมาชิกกู้เงินกับสหกรณ์ จำนวน 5,500 ราย) (ข้อมูล ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567) ดังนั้น จะเห็นได้ว่า สมาชิกสหกรณ์ข้าราชการสหกรณ์ จำกัด บางส่วนมีภาระด้านค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อันจะ ส่งผลทำให้คุณภาพการดำรงชีวิตอยู่ในภาวะความเสี่ยง คณะกรรมการดำเนินการจึงเห็นสมควรจัดทำโครงการแก้ไข ปัญหาหนี้สินสมาชิกสหกรณ์ข้าราชการสหกรณ์ จำกัด อย่างเร่งด่วน โดยความร่วมมือกับ บมจ.ธนาคารกรุงไทย...
หลักการและเหตุผล. นโยบายการพัฒนาประเทศไทยของรัฐบาลปัจจุบัน มีเจตนารมณ์เด่นชัดที่ต้องการผลักดันยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศไทยให้เป็น “ครัวอาหารโลก” เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางอาหารของมวลมนุษยชาติ ในการผลิตอาหารทุกประเภทหล่อเลี้ยงทุกชีวิต ทุกเชื้อชาติ และศาสนา โดยที่ประชากรของโลกที่นับถือ ศาสนาอิสลาม ได้มีการคาดการณ์ว่าจะมีจำนวนมากกว่า 2.2 พันล้านคน และจะเป็นประชากรที่มีจำนวนมาก ที่สุดในเร็ววันนี้ อย่างไรก็ตาม ด้วยหลักการทางศาสนาอิสลามที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกินและการดำรงชีวิต และความเป็นอยู่ของมุสลิมตามที่กำหนดไว้ใน “อัลกุรอาน” ซึ่งเป็นพระมหาคัมภีร์สูงสุดทางศาสนาที่เชื่อว่า เป็นคำตรัสของอัลลอฮฺที่ประทานผ่านทางญีบรีล มายังศาสดานบีมูฮัมหมัด เพื่อให้มุสลิมทุกคนศรัทธา และถือปฏิบัติในการดำรงชีวิตนั้น ได้ให้ความสำคัญอย่างสูงต่อการเลือกสรรอาหารการกินที่ต้องเป็นไปตาม หลักการของศาสนบัญญัติว่าด้วยแนวทางของ “อาหารฮาลาล” และเมื่ออาหารฮาลาลเป็นส่วนหนึ่งของแนวทาง ศาสนาอิสลามแล้ว การทำให้อาหารการกินของพี่น้องมุสลิมทั่วโลกจึงเป็นหน้าที่ ส่วนหนึ่งของมุสลิมจังหวัด ชายแดนภาคใต้ที่จะต้องดำเนินการให้ดีที่สุด จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดสตูล และอาจรวมไปถึง 4 อำเภอของจังหวัดสงขลา (อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา) ที่ในอดีตได้รับการขนานนามจากมุสลิมทั่วโลกว่าเป็น “ระเบียงแห่งมักกะห์” หรือนัยของความเป็นศูนย์กลาง ทางวิชาการและหลักการอิสลามแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วันนี้ ที่ทุกฝ่ายต่างมีความพร้อม อย่างสูงสุดในการที่จะพัฒนาพื้นที่ให้เป็น “ครัวอาหารฮาลาลโลก” เพื่อตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศไทย และการผลิตอาหารสำหรับมนุษยชาติ โดยมนุษยชาติเพื่อมนุษยชาติผ่านการขับเคลื่อนระเบียง เศรษฐกิจฮาลาลจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยแนวทางการส่งเสริมเกษตรฐานรากเชื่อมโยงอุตสาหกรรมไก่ แบบครบวงจร เชื่อมโยงการขนส่ง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับมุสลิมทั่วโลกว่าอาหารที่จะไปถึงโต๊ะอาหาร ของทุกครัวเรือนไม่ใช่เพียงมุสลิมเท่านั้น หากหมายรวมถึง ผู้รักษาสุขภาพที่ต้องการอาหารเชิงสุขภาพ จะได้อาหารที่ดีมากพอและเป็นประโยชน์สูงสุด และก่อให้เกิดผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ เชื่อมโยงคุณภาพชีวิต และฟื้นฟู ความหมายของคำว่า “ระเบียงแห่งมักกะห์จังหวัดชายแดน ภาคใต้” ให้เข้าไปอยู่ในใจของมุสลิมทุกคนทั่วโลกและต่างศาสนิกชนที่มุ่งรักษ์สุขภาพต่อไปตามที่กำหนด วิสัยทัศน์ร่วมกันไว้ว่า “Muslim Halal Healthy Food of the World” การขับเคลื่อนการทำงาน เรื่องดังกล่าว ไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมอันเป็นหน้าที่และการประสานงานของคณะอนุกรรมการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจเพื่อส่งเสริมสินค้าและผลิตผลการเกษตรมาตรฐาน “ฮาลาล” ในพื้นที่ชายแดนใต้ ภายใต้คณะกรรมการ ส่งเสริมสินค้าและผลิตผลการเกษตรมาตรฐาน “ฮาลาล” ได้นำไปสู่การสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายการ ทำงานที่เกี่ยวข้องท...
หลักการและเหตุผล. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 250 บัญญัติไว้ว่า…องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอํานาจดูแลและจัดทําบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชน ในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น การจัดทําบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะใดที่สมควรให้เป็นหน้าที่และอํานาจโดยเ ฉพาะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ หรือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลัก ในการดําเนินการใด ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติซึ่งต้องสอดคล้องกับรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามวรรคสี่ และกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับกลไกและขั้นตอนในการกระจายหน้าที่ และอํานาจ ตลอดจนงบประมาณและบุคลากรที่เกี่ยวกับหน้าที่และอํานาจดังกล่าวของส่วนราชการให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย ในการจัดทําบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะใดที่เป็นหน้าที่และอํานาจขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ถ้าการร่วมดําเนินการกับเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐหรือการมอบหมายให้เอกชน หรือหน่วยงาน ของรัฐดําเนินการ จะเป็นประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นมากกว่าการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะดําเนินการเอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะร่วมหรือมอบหมายให้เอกชนหรือหน่วยงานของรัฐดําเนินการนั้นก็ได้ รัฐต้องดําเนินการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้ของตนเองโดยจัดระบบภาษีหรือการจัดสรรภาษี ที่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการหารายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถดําเนินการ ตามวรรคหนึ่งได้อย่างเพียงพอ ในระหว่างที่ยังไม่อาจดําเนินการได้ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปพลางก่อน