แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา ข้อกำหนดตัวอย่าง

แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา. ในปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคอาหารของบุคคล เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ทําให้บุคคลในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองจนถึงบุคคลภายในครอบครัว แต่ละครอบครัวจะต้องต่อสู้กับชีวิตและความเป็นอยู่ บางครอบครัวอาจไม่ได้รับการดูแลขาดการเอา ใจใส่ตนเองรวมถึงบุคคลภายในครอบครัว เพราะเนื่องจากต้องออกหางาน ทํางานแข่งกับเวลา เพื่อหา เงินมาเลี้ยงบุคคลภายในครอบครัว ทําให้ไม่มีเวลาในการดูแลสุขภาพตนเอง จึงทําให้เกิดพฤติกรรม การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การบริโภคอาหารสําเร็จรูป การบริโภคอาหารไม่ครบ ๕ หมู่ บริโภคอาหารมากเกินไป และไม่รับประทานอาหารเป็นเวลา สิ่งเหล่านี้ทําให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรค ต่างๆ ได้แก่ โรคกระเพาะอาหาร โรคขาดสารอาหาร โรคอ้วน โรคภาวะโภชนาการเกิน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้นe สอดคล้องกับภาษิตที่ว่า You are what you eat คุณจะเป็นตามสิ่งที่ คุณกินลงไป หากอาหารที่ดีจะส่งผลดีต่อร่างกาย หากอาหารไม่ดีก็จะส่งผลร้ายต่อร่างกายเช่นกัน อาหารจึงมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง ในคัมภีร์พระพุทธศาสนามีปรากฏในกรณีของพระเจ้าปเสนทิโกศลเสวยพระกระยาหารที่ หุงด้วยข้าวทะนานหนึ่ง แล้วทรงอึดอัดพระวรกายกระสับกระส่ายไปมาด้วยความเป็นทุกข์ จึงเสด็จไป เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เล่าอาการให้พระพุทธองค์ทราบ พระพุทธเจ้าทรงเตือนว่า “มนุษย์ควรมีสติอยู่ ทุกเมื่อ รู้จักประมาณในโภชนะที่ได้แล้ว ย่อมมีเวทนาเบาบาง เขาย่อมแก่ช้า อายุยั่งยืน” เมื่อพระ เจ้าปเสนนิโกศลได้ทําตามคํากล่าวของพระพุทธเจ้า คือ เสวยแต่พอเหมาะ ไม่มากเกินไป ไม่น้อย เกินไป ต่อมาพระองค์ทรงมีพระวรกายกระปรี้กระเปร่าขึ้นъ จะเห็นได้ว่าการบริโภคอาหารนั้นมี ความสําคัญต่อชีวิต และพระพุทธศาสนาให้ได้ความสําคัญบริโภคอาหารด้วย ไม่เฉพาะแต่การกิน อาหารเพื่อดํารงชีวิตเท่านั้น แต่พระพุทธศาสนาให้ความสําคัญในฐานะที่เป็นเครื่องมือของการปฏิบัติ ด้วย เช่น ในหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญา เป็นต้น แม้ในหลักพระวินัยของพระภิกษุได้มีการกล่าวถึง ระเบียบวิธีการบริโภคอาหารไว้หลายข้อในหมวดโภชนปฏิสังยุต อันแสดงให้เห็นถึงความสําคัญของ การบริโภคอาหาร ในบทนี้ผู้วิจัยจะทําการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา ทั้งในด้านของความหมาย ประเภท ความสําคัญ และการบริโภคอาหารในเชิงของพระพุทธศาสนา โดยยกกรณีการบริโภคอาหารของพระพุทธเจ้าเป็นตัวอย่างและพระวินัยที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค อาหาร มีรายละเอียดดังนี้ e ทิพย์ภวิษณ์ ใสชาติ, “วิเคราะห์ค่านิยมบริโภคตามแนวพระพุทธศาสนา”, สารนิพนธ์พุทธศาสตร ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ๕๕๗), หน้า ๔๙-๕๐. ъ สํ.ส. (ไทย) e๕/eъ๔/e๔๕-e๔๖.

Related to แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๖.๑ ในการพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ สำนักงาน จะพิจารณาตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคาประกอบเกณฑ์อื่น

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกระงับการยื่น ข้อเสนอหรือทำสัญญากับสำนักงาน ไว้ชั่วคราว

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลงจ้างเป็น หนังสือจะกําหนด ดังนี้

  • การทำสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้

  • การรับประกันความชำรุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ แบบรูปและรายการละเอียด

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ

  • หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • การเสนอราคา ๔.๑ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้อง กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทำการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอ โดย ไม่ต้องแนบใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)