แนวคิดในการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ ข้อกำหนดตัวอย่าง

แนวคิดในการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ. ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นสามารถวิเคราะห์ได้ในระดับบุคคล ระดับครัวเรือนและ ระดับชาติ ต้นทุนอาจอยู่ในรูปของการสูญเสียทางเศรษฐกิจในอนาคตจากการออกจากโรงเรียน หรือค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เช่น ค่าใช้จ่ายในการดูแลครรภ์ ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของทารกแรกเกิด และอาจ มีค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆ เช่น การสูญเสียผลิตภาพทั้งในระดับบุคคลและระดับครัวเรื อน (รูปที่ 3.1) เมื่อ พิจารณาผลสืบเนื่องของการออกจากโรงเรียน ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นคือ รายได้ในอนาคตที่ลดลงหากวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ต้องออกจากโรงเรียนโดยไม่สมัครใจ (school dropout) ระดับ การศึกษาที่ต่ำส่งผลต่อการได้รับค่าจ้างในระดับต่ำ นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังอาจส่งผลกระทบทางลบ ได้ตลอดช่วงชีวิตในด้านรายได้ที่ลดลง (individual loss of income in the future) มีการศึกษาที่แสดงให้ เห็นว่า ผู้หญิงที่มีบุตรเมื่ออายุน้อยมีแนวโน้มที่จะว่างงาน ต้องทำงานนอกระบบหรือต้องทำงานที่ได้รับ ผลตอบแทนต่ำกว่าผู้หญิงที่อยู่ในกลุ่มเศรษฐกิจและสังคมเดียวกันแต่ไม่ได้ออกจากโรงเรียน สถานการณ์ที่ต้อง เข้าสู่ตลาดแรงงานเร็วเกินไปอาจส่งผลทางลบเนื่องจากบางคนติดกับงานที่มีค่าแรงต่ำนานเกินไป นอกจากนี้ยัง มีผลกระทบทวีคูณ (spillover effect) กล่าวคือ กลุ่มที่ได้รับค่าแรงต่ำ มีความสามารถในทำงานต่ำจะอยู่ใน กลุ่มผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น รวมถึงคู่ครอง หรือสมาชิกในครอบครัวด้วย ส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวม ความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่ำลง รัฐบาลสูญเสียรายได้จากภาษี ซึ่งหมายถึงสูญเสียผลตอบแทน จากการลงทุนด้านการศึกษา (no return of education investment) และมีค่าใช้จ่ายภาครัฐที่สูงขึ้นเพื่อ รองรับปัญหาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น เมื่อพิจารณาช่องทางด้านสุขภาพ ต้นทุนจากการตั้งครรภ์วัยรุ่น เกิดขึ้นจากค่าใช้จ่ายในการดูแลครรภ์ และค่าใช้จ่ายสำหรับทารกแรกเกิด ทั้งในระดับบุคคล ระดับครัวเรือน และสังคม และผลิตภาพที่ลดลงสืบเนื่อง จากสุขภาวะที่แย่ลง การดูแลเด็กเล็กเป็นค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจของครอบครัว เนื่องจากต้องมีสมาชิกบางคน ต้องดูแลเด็กเต็มเวลา หรือครอบครัวต้องจ่ายเงินเพื่อเป็นค่าดูแลเด็กเล็ก ตัวอย่างการศึกษาต้นทุนการตั้งครรภ์ในวันรุ่นยังมีการศึกษาไม่มากนักแม้ในต่างประเทศ ในงานศึกษา สถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย 2556 ภายใต้โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้าน สุขภาพ (HITAP) ได้อ้างถึงการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการศึกษาต้นทุนของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นใน ภาพรวมระดับประเทศ ซึ่งเป็นต้นทุนต่อรัฐบาลกลาง รัฐบาลของรัฐต่างๆ และรัฐบาลท้องถิ่นรวมกัน คิดเป็น กว่า 9.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี ค.ศ. 2004 หรือคิดเป็นมูลค่า 1,430 เหรียญสหรัฐ ต่อทารกที่เกิดจากแม่ วัยรุ่นหนึ่งราย (Hoffman, 2006) และเมื่อนำมาคิดเป็นต้นทุนอย่างคร่าวของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของไทยในปี 2554 จะคิดเป็นประมาณ 3,088 ล้านบาท และในงานศึกษานี้ยังได้อ้างถึ...

Related to แนวคิดในการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ

  • การทําสัญญาจ้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญา โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ๖.๑ เงินสด ๖.๒ เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นเช็คลงวันที่ที่ ทําสัญญา หรือก่อนหน้านั้น ไม่เกิน ๓ วัน ทําการของทางราชการ ๖.๓ หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบหนังสือค้ําประกัน ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด ๖.๔ หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกัน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตาม รายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้ําประกันของ ธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • การจ่ายเงินแก่ลูกจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายเงินแก่ลูกจ้างที่ผู้รับจ้างได้จ้างมาในอัตราและตามกําหนดเวลาที่ผู้รับจ้างได้ ตกลงหรือทําสัญญาไว้ต่อลูกจ้างดังกล่าว ถ้าผู้รับจ้างไม่จ่ายเงินค่าจ้างหรือค่าทดแทนอื่นใดแก่ลูกจ้างดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่ จะเอาเงินค่าจ้างที่จะต้องจ่ายแก่ผู้รับจ้างมาจ่ายให้แก่ลูกจ้างของผู้รับจ้างดังกล่าว และให้ถือว่าผู้ว่าจ้างได้จ่ายเงิน จํานวนนั้นเป็นค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามสัญญาแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีประกันภัยสําหรับลูกจ้างทุกคนที่จ้างมาทํางาน โดยให้ครอบคลุมถึงความ รับผิดทั้งปวงของผู้รับจ้าง รวมทั้งผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ในกรณีความเสียหายที่คิดค่าสินไหมทดแทนได้ตาม กฎหมาย ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุหรือภยันตรายใด ๆ ต่อลูกจ้างหรือบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง หรือผู้รับจ้างช่วงจ้างมา ทํางาน ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวพร้อมทั้งหลักฐานการชําระเบี้ยประกันให้แก่ผู้ว่าจ้างเมื่อ ผู้ว่าจ้างเรียกร้อง

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ

  • การใช้เรือไทย ในการปฏิบัติตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างจะต้องสั่งหรือนําของเข้ามาจากต่างประเทศรวมทั้ง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องนําเข้ามาเพื่อปฏิบัติงานตามสัญญา ไม่ว่าผู้รับจ้างจะเป็นผู้ที่นําของเข้ามาเองหรือนําเข้ามา โดยผ่านตัวแทนหรือบุคคลอื่นใด ถ้าสิ่งของนั้นต้องนําเข้ามาโดยทางเรือในเส้นทางเดินเรือที่มีเรือไทยเดินอยู่และ สามารถให้บริการรับขนได้ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกําหนด ผู้รับจ้างต้องจัดการให้สิ่งของ ดังกล่าวบรรทุกโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยจากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากกรมเจ้าท่าก่อนบรรทุกของนั้นลงเรืออื่นที่มิใช่เรือไทยหรือเป็นของที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประกาศยกเว้นให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้ ทั้งนี้ไม่ว่าการสั่งหรือนําเข้าสิ่งของดังกล่าวจากต่างประเทศจะเป็นแบบใด ในการส่งมอบงานตามสัญญาให้แก่ผู้ว่าจ้าง ถ้างานนั้นมีสิ่งของตามวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างจะต้อง ส่งมอบใบตราส่ง (Bill of Lading) หรือสําเนาใบตราส่งสําหรับของนั้น ซึ่งแสดงว่าได้บรรทุกมาโดยเรือไทยหรือเรือที่ มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยให้แก่ผู้ว่าจ้างพร้อมกับการส่งมอบงานด้วย ในกรณีที่สิ่งของดังกล่าวไม่ได้บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทยโดยเรือไทยหรือเรือที่มี สิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย ผู้รับจ้างต้องส่งมอบหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้รับอนุญาตจากกรมเจ้าท่า ให้บรรทุกของโดยเรือ อื่นได้หรือหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้ชําระค่าธรรมเนียมพิเศษเนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรือไทยตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวีแล้วอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ผู้ว่าจ้างด้วย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ส่งมอบหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวในวรรคสองและวรรคสามให้แก่ ผู้ว่าจ้าง แต่จะขอส่งมอบงานดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างก่อนโดยไม่รับชําระเงินค่าจ้าง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิรับงานดังกล่าวไว้ก่อน และชําระเงินค่าจ้างเมื่อผู้รับจ้างได้ปฏิบัติถูกต้องครบถ้วนดังกล่าวแล้วได้

  • ความรับผิดของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใด ๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้าง และจะต้องรับผิดต่อความเสียหายจากการกระทําของลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง และจากการ ปฏิบัติงานของผู้รับจ้างช่วงด้วย (ถ้ามี) ความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่งานที่ผู้รับจ้างได้ทําขึ้น แม้จะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผู้รับ จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยซ่อมแซมให้คืนดีหรือเปลี่ยนให้ใหม่โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง เว้นแต่ความเสียหายนั้น เกิดจากความผิดของผู้ว่าจ้าง ทั้งนี้ ความรับผิดของผู้รับจ้างดังกล่าวในข้อนี้จะสิ้นสุดลง เมื่อผู้ว่าจ้างได้รับมอบงาน ครั้งสุดท้าย ซึ่งหลังจากนั้นผู้รับจ้างคงต้องรับผิดเพียงในกรณีชํารุดบกพร่อง หรือความเสียหายดังกล่าวในข้อ 8 เท่านั้น ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในความเสียหายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงานของผู้ รับจ้าง หรือลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง รวมถึงผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ตามสัญญานี้ หากผู้ว่าจ้างถูกเรียกร้องหรือ ฟ้องร้องหรือต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกไปแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการใด ๆ เพื่อให้มีการว่าต่างแก้ต่าง ให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง รวมทั้งผู้รับจ้างจะต้องชดใช้ค่าเสียหายนั้น ๆ ตลอดจนค่าใช้จ่ายใด ๆ อันเกิดจากการถูกเรียกร้องหรือถูกฟ้องร้องให้แก่ผู้ว่าจ้างทันที

  • ค่าจ้างและการจ่ายเงิน (สํา👉รับสัญญาที่เป็นราคาเ👉มารวม) ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายและผู้รับจ้างตกลงรับเงินค่าจ้างจํานวนเงิน บาท (………………………………..…) ซึ่งได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม จํานวน…………..…………บาท ( ) ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และค่าใช้จ่ายทั้งปวงด้วยแล้ว โดยถือราคาเหมารวมเป็นเกณฑ์ และกําหนดการจ่ายเงินเป็น งวดๆ ดังนี้ งวดที่ ๑ เป็นจํานวนเงิน……………….………...บาท (… ) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงาน……………………………………ให้แล้วเสร็จภายใน………………………………………………….. งวดที่ ๒ เป็นจํานวนเงิน…….………………...บาท (…………………………………...………….) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงาน…………………………..…..……ให้แล้วเสร็จภายใน…………………………………………………. ..............................................ฯลฯ............................................. งวดสุดท้าย เป็นจํานวนเงิน……………..………....บาท (… ) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงานทั้งหมดให้แล้วเสร็จเรียบร้อยตามสัญญา รวมทั้งทําสถานที่ก่อสร้างให้สะอาดเรียบร้อยตามที่ กําหนดไว้ในข้อ ๒๐ การจ่ายเงินตามเงื่อนไขแห่งสัญญานี้ ผู้ว่าจ้างจะโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับจ้าง ชื่ อ ธ น า ค า ร ……………….….…….….ส า ข า ……….…..…….…….…..ชื่ อ บั ญ ชี เ ล ข ที่ บัญชี ทั้งนี้ ผู้รับจ้างตกลงเป็นผู้รับภาระเงินค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการอื่นใดเกี่ยวกับการ โอน รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นใด (ถ้ามี) ที่ธนาคารเรียกเก็บ และยินยอมให้มีการหักเงินดังกล่าวจากจํานวนเงินโอนในงวด นั้นๆ (ความในวรรคนี้ใช้สํา👉รับกรณีที่👉น่วยงานของรัฐจะจ่ายเงินตรงใ👉้แก่ผู้รับจ้าง (ระบบ Direct Payment) โดย การโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับจ้าง ตามแนวทางที่กระทรวงการคลัง👉รือ👉น่วยงานของรัฐเจ้าของ งบประมาณเป็นผู้กํา👉นด แล้วแต่กรณี)

  • ความคุ้มครอง ในขณะท่ีผเู้ อาประกน ภยั ไดร้ ับความคุม ครองตามกรมธรรมป ระกน ภยั น้ี หากผเู้ อาประกน ภยั ไดร้ ับบาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยที่ เกิดข้ึนอย่างกะทน หันหรือเฉียบพลน และไม่สามารถคาดการณ์ได้ ซ่ึงเกิดข้ึนในระหว่างระยะเวลาเอาประกันภยจนเป็ นเหตุให้ต้อง ไดร้ ับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล สถานพยาบาลเวชกรรม หรือคลินิกในต่างประเทศไม่วาจะในฐานะผปู้ ่ วยในหรือผปู้ ่ วยนอก บริษทจะจ่ายค่าทดแทน ส˚าหรับค่าใช้จ่ายท่ีจา˚ เป็ นและสมควรซึ่งเกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลตามความจา˚ เป็ นทาง การแพทยแ ละมาตรฐานทางการแพทยต ามจา˚ นวนเงินที่ตอ งจ่ายจริง แต่ไม่เกินจา˚ นวนเงินเอาประกน ภยตามที่ระบุไวใ้ นตาราง กรมธรรมป ระกน ภยั ใหแ ก่ผเู้ อาประกนภย ค่าใชจ่ายเพื่อการรักษาพยาบาลที่คุมครอง มีดงั ต่อไปน้

  • การตรวจรับ เม่ือผู้ซื้อได้ตรวจรับสิ่งของท่ีส่งมอบและเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาแล้ว ผู้ซื้อจะออกหลักฐานการรับมอบเป็นหนังสือไว้ให้ เพื่อผู้ขายนํามาเป็นหลักฐานประกอบการขอรับเงิน ค่าสิ่งของนั้น ถ้าผลของการตรวจรับปรากฏว่า สิ่งของที่ผู้ขายส่งมอบไม่ตรงตามข้อ ๑ ผู้ซื้อทรงไว้ ซึ่งสิทธิท่ีจะไม่รับสิ่งของนั้น ในกรณีเช่นว่านี้ ผู้ขายต้องรีบนําสิ่งของนั้นกลับคืนโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้ และนําสิ่งของมาส่งมอบให้ใหม่ หรือต้องทําการแก้ไขให้ถูกต้องตามสัญญาด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ขายเอง และระยะเวลาท่ีเสียไปเพราะเหตุดังกล่าวผู้ขายจะนํามาอ้างเป็นเหตุขอขยายเวลาส่งมอบตามสัญญาหรือ ของดหรือลดค่าปรับไม่ได้

  • การทําสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทำสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุ ในข้อ ๑.๓ หรือทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับ แจ้ง และจะต้องวางหลักประกันสัญญาเป็นจำนวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ยึดถือไว้ในขณะทำสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ๖.๒ เงินสด เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือ ดราฟท์นั้น ชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันทำสัญญา หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ ๖.๓ หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ นโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ๖.๔ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ ไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการ ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • ค่าปรับ หากผู้รับจ้างไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กําหนดไว้ในสัญญาและผู้ว่าจ้างยังมิได้บอก เลิกสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องชําระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็นจํานวนเงิน วันละ ……………..บาท และจะต้องชําระ ค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานในเมื่อผู้ว่าจ้างต้องจ้างผู้ควบคุมงานอีกต่อหนึ่งเป็นจํานวนเงิน วันละ บาท นับถัดจากวันที่กําหนดแล้วเสร็จตามสัญญาหรือวันที่ผู้ว่าจ้างได้ขยายให้จนถึงวันที่ ทํางานแล้วเสร็จจริง นอกจากนี้ ผู้รับจ้างยอมให้ผู้ว่าจ้างเรียกค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากการที่ผู้รับจ้างทํางานล่าช้าเฉพาะส่วนที่เกินกว่าจํานวน ค่าปรับและค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้อีกด้วย ในระหว่างที่ผู้ว่าจ้างยังมิได้บอกเลิกสัญญานั้น หากผู้ว่าจ้างเห็นว่าผู้รับจ้างจะไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญา ต่อไปได้ ผู้ว่าจ้างจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและใช้สิทธิตามข้อ 18 ก็ได้ และถ้าผู้ว่าจ้างได้แจ้ง ข้อเรียกร้องไปยัง ผู้รับจ้างเมื่อครบกําหนดแล้วเสร็จของงานขอให้ชําระค่าปรับแล้ว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะปรับ ผู้รับจ้างจนถึงวันบอกเลิก สัญญาได้อีกด้วย