เหตุสุดวิสัย ข้อกำหนดตัวอย่าง

เหตุสุดวิสัย. คูสัญญาทั้งสองฝายจะตองรับผิดชอบตอความลาชาหรือความลมเหลวในการปฏิบัติตามสวนหนึ่ง ของสัญญา ที่เกิดจากการกระทําใดๆ ของพระเจา ไฟไหม น้ําทวม ระเบิด สงคราม การนัดหยุดงาน การปดลอ ม ความตองการของภาครัฐ อา นาจทางพลเรือนหรือทางทหาร ศัตรูทางธรรมชาติหรือศัตร สาธารณะใดๆ หรือสาเหตุอื่นๆ ที่คาดไมได หรออยูนอกเหนือการควบคุมของบุคคลที่การกระทํา จะตองถูกระงับหรือยกเวน ในกรณีที่ลาชาดังกลาวหรือความลมเหลวในการทํางานอาจไมไดรับการ ปองกันที่เหมาะสม และบุคคลที่ไมปฏิบัติตามสัญญาหรือมีความลาชาดังกลาวจะแจงเปนลายลักษณ อักษรพรอมถึงเหตุสุดวิสัยไปยังคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ไมถือวาเหตุการณที่เปนความลาชาในการ ขนสง การไมสามารถที่จะไดรับผลิตภัณฑหรือวสดุหรือมีการหยุดชะงักในรูปแบบอื่นๆ เปนเหตุ สุดวิสัย และไมเปนขอแกตัวเพื่อจะไมปฏิบัติตามสัญญาแตอยางใด ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย ฝายที่ ปฏิบัติไมไดจะตองใชความพยายามสูงสุดที่จะเริ่มตนการปฏิบัติงานใหมทุกครั้ง และภายในขอบเขต ที่มากที่สุดเทาที่จะทําไดโดยไมชักชา รวมทั้งการใชแหลงจัดหาอื่น แผนการแกปญหาหรือวิธการ อื่น หากเหตุสุดวิสัยดังกลาวหรือเหตุการณพิเศษอื่นๆ ที่คลายกันทําใหผูขายจะตองจัดสรรทรัพยากร ที่มีจํากัดในระหวางลูกคา หรือในหมูลูกคาของผูขาย ผูขายตองไมใหลูกคารายอื่นๆ ของผูซื้อมี ความสําคัญมากกวา ผูซื้อ หากผูขายมีความลา ชาหรือยังคงไมสามารถดําเนินการไดเปนระยะเวลา อยางนอยสามสิบ (30) วัน ผูซื้ออาจยกเลก
เหตุสุดวิสัย. ในกรณีที่มีความผิดพลาด การแทรกแซง หรือความล่าช้าเกิดขึ้นเกี่ยวกับระบบให้บริการ อัน เนื่องมาจากการกระท˚า เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ที่อยู่นอกเหนือการควบคุมตามสมควรของ ธนาคาร ธนาคารไม่ต้องรับผิดชอบในบรรดาการสูญหาย หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ผู้ใช้บริการ หรือ ธุรกรรม หรือบุคคลอื่นใด เพราะเหตุดังกล่าว โดยเหตุดังกล่าวให้หมายความรวมถึง การขัดข้องของระบบ โทรคมนาคม อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และกฎระเบียบของหน่วยงานรัฐหรือเจ้าพนักงานตามกฎหมายด้วย
เหตุสุดวิสัย. ก) "เหตุสุดวิสัย" หมายความว่า เหตุใดๆ อันเกิดขึ้นก็ดีจะให้ผลพิบัติก็ดี ไม่มีใครอาจจะ ป้องกันได้แม้ทั้งบุคคลผู้ต้องประสบ หรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้นจะได้จัดการระมัดระวังตาม สมควร อนพึงคาดหมายได้จากบุคคลนั้นในฐานะเช่นนัน้ ข) ถ้าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามสัญญานี้ได้เพราะเหตุสุดวิสัย คู่สัญญาฝ่ายนั้นจะต้องบอกกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษร ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งทราบภายในระยะเวลา 14 วัน นับแต่เหตุนั้นเกิดขึ้น และคู่สญญาฝ่ายที่ได้รับแจ้งต้องพิจารณาว่าจะยอมรับเหตุดงกล่าวว่า เป็นเหตุสุดวิสัยหรือไม่แล้วแจ้งให้คู่สัญญาฝ่ายแรกทราบภายในเวลาอันควร ค) ในระหว่างที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ให้หน้าที่และความรับผิดชอบของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายระงับ หยุดไปชั่วคราว เว้นแต่จะระบุไว้ในสัญญานี้เป็นประการอื่น อย่างไรก็ตามที่ปรึกษามีสิทธิจะได้รับการ ขยายเวลาทํางานออกไปเท่ากับระยะเวลาที่ต้องเสียไปอันเน่ืองจากเหตุสุดวิสัยนั้น ง) ในกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถปฏิบัติงานหรือยินยอมให้มีการปฏิบัติงาน ตามสัญญาน้ีได้ทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วน เน่ืองจากเหตุสุดวิสัยต่อเน่ืองกันเป็นเวลาเกิน กว่า 60 วัน นับจากวันแจ้งเหตุสุดวิสัยตามข้อ (ข) คู่สัญญาแต่ละฝ่ายมีสิทธิบอกเลิกสัญญา ได้ โดยส่งคําบอกกล่าวไปยังคู่สัญญาอีกฝ่ายหน่ึงล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 วนั
เหตุสุดวิสัย. 26.1 ความหมายของ เหตุสุดวิสัย (Force Majeure) (1) “เหตุสุดวิสัย” หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติหรือการกระทำของบุคคล หนึ่งบุคคลใดที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน อยู่นอกเหนือจากการควบคุมของคู่สัญญา และไม่อาจป้องกันหรือหลีกเลี่ยง แม้ว่าจะได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและภาวะเช่นนั้นก็ตาม ซึ่ง เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเหตุให้การดำเนินการตามสัญญาเช่านี้ โดยคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถทำได้หรือ มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า การดำเนินการตามสัญญาเช่านี้เป็นไปไม่ได้ โดยที่เหตุการณ์ที่ถือว่าเป็นเหตุสุดวิสัย ดังกล่าว รวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียงเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้ (ก) สงคราม เหตุการณ์ระหว่างสงคราม การรุกราน สงครามกลางเมือง การปฏิวัติ การก่อการจลาจล การก่อการร้ายอันมิใช่จารกรรมหรืออาชญากรรมปกติ (ข) การนัดหยุดงานของลูกจ้าง หรือของพนักงานของคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งอันขยายวง กว้างขวางส่งผลกระทบเกินกว่าเฉพาะในองค์กรของคู่สัญญา (ค) คำสั่งของรัฐบาลพลเรือนหรือทหารเกี่ยวกับการกำหนดให้ถือเอาการริบหรือการ ทำลาย การเวนคืนทรัพย์สิน (ง) ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว การระเบิดของภูเขาไฟ อุทกภัยร้ายแรง วาตภัยร้ายแรง และอัคคีภัย (2) เหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ไม่ถือว่าเป็นเหตุสุดวิสัย ถึงแม้ว่าเหตุการณ์ดังต่อไปนี้จะเกิดขึ้น และก่อให้เกิดความเสียหายโดยสิ้นเชิงต่อทรัพย์สินของโครงการฯ และทำให้การดำเนินโครงการฯ ไม่อาจ เป็นไปได้อีกต่อไปก็ตาม จะไม่ถือเป็นเหตุทำให้คู่สัญญาหลุดพ้นจากหนี้และความรับผิดตามสัญญาเช่านี้ (ก) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพราะเจตนา หรือความประมาทเลินเล่อของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใด หรือเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยเจตนาหรือประมาทเลินเล่อของลูกจ้าง ตัวแทน หรือผู้รับเหมาช่วงของ ผู้เช่า (ข) เหตุการณ์ที่อาจคาดเดาได้ว่าจะเกิดขึ้น ณ วันที่ทำสัญญาเช่า หรือเป็นเหตุการณ์ที่ เป็นการหลบเลี่ยงหรือละเว้นการปฏิบัติตามข้อกำหนดในสัญญาเช่า (ค) การที่ผู้เช่าไม่อาจดำเนินโครงการฯ ต่อไปได้เพราะเหตุขาดเงินลงทุน หรือไม่อาจ หาแหล่งงานของโครงการฯ ได้ 26.2 เหตุสุดวิสัยที่มีผลให้คู่สัญญาหลุดพ้นจากหนี้และความรับผิด เหตุสุดวิสัยที่มีผลให้คู่สัญญาหลุดพ้นจากหนี้และความรับผิดตามสัญญาเช่านี้ จะต้องเป็น เหตุสุดวิสัยที่เกิดขึ้นแล้วทำให้เกิดความเสียหายโดยสิ้นเชิงต่อทรัพย์สินของโครงการฯ และทำให้การดำเนิน โครงการฯ ไม่อาจเป็นไปได้อีกต่อไป โดยที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างมิได้มีส่วนก่อให้เกิด หรือมิได้มีส่วนทำให้ เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นทั้งทางตรงหรือทางอ้อม อีกทั้งคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างได้พยายามอย่างเต็มความสามารถ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดขึ้นของเหตุการณ์นั้น และ/หรือดำเนินการเพื่อลดความเสียหายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก เหตุการณ์นั้น ๆ 26.3 เหตุสุดวิสัยทำให้การปฏิบัติตามสัญญาเช่านั้นเป็นไปไม่ได้โดยสิ้นเชิง เมื่อมีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตามสัญญาเช่านี้ของคู่สัญญาฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งแห่งสัญญาเ...
เหตุสุดวิสัย. คู่สัญญำแต่ละฝ่ ำยไม่ต้องรับผิดต่อกำรไม่ปฏิบัติตำ มสัญญำหรือควำมล่ำช้ำ อันเกิดจำกเหตุกำรณ์ทไี่ ม่คำดคิด หรือเหตุที่อยู่เหนอื กำรควบคุมของตน ซึ่งรวม ถึง ภัยธ รรมชำติ; สงครำม; กำรต่อสู้ด้วยอำวุธ; ผู้ก่อกำ รร้ำ ย; อัคคีภัย; อุทกภัย, อุบัติภัย; สภำพอำกำศ; ระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบโทรคมนำคม, เครือข่ำ ย และโครงสร้ำงพื้น ฐำ น โดยภำครัฐและเอกชน ขัดข้องหรือสะดุดห ยุดลง ; ภั ย คุ ก ค ำ ม ท ำ ง ไ ซ เ บ อ ร์ ; วิ น ำ ศ ก ร ร ม ; ก ำ ร ป ร ะ ท้ ว ง ห ยุ ด ง ำ น ห รื อ เ ห ตุ พิ พ ำ ท ด้ ำ น แ ร ง ง ำ น ; กำรก่อควำมไม่สงบหรือเหตุจลำจล; ค˚ำ สั่ง, ค˚ำร้องขอ, ข้อห้ำม, กฎหมำยของรัฐ (ซึ่งรว มถึงกำ รปฏิเสธ , กำรไม่ออกใบอนุญำตส่งออกหรือส่งกลับออกไป หรือกำรท˚ำ ใบอนุญำตกำรส่งออกหรือกำรส่งกลับออกไปนั้นสูญหำย ); ก ำ ร ไม่ มี บ ริษั ท ข น ส่ งห รื อ มี ค ว ำ ม ล่ ำ ช้ ำ ใ น ก ำ ร ข น ส่ ง ; ห รื อ กำรขำดแคลนวัสดุหรอื ชิ้นส่วนต่ำงๆ
เหตุสุดวิสัย. ในกรณีที่มีความผิดพลาด การแทรกแซง หรือความล เนื่องมการจะาเทกหกาตาุรกหารรืณอ์สถานการณ์ที่อยู่นอกเหนือการ ธนาคธานราคารไม่ต้องรับผิดชอบในบรรดาการสูหญรหืาอย หรือ ธุรกหรรรืมอบุคเคพลรอาืะ่เนหใตโดุดดยัเงหกตลุ่ดาัวงกล่าวกใาหร้ขหัมดาขย้คอวงาขมอรงวรมะถบ โทรคมอนุาปคกมรณ์คอแมลพะิกวฎเรตะอเรบ์ียบของหกนง่าวนยตงาามนกดรฎ้ัหวฐมยหารยือเจ้าพ
เหตุสุดวิสัย. เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่ผู้ขายไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย โดยผู้ขายจะต้องแจ้งเหตุดังกล่าวให้ผู้ซื้อทราบภายใน ๑๕ วันทำการ นับแต่เหตุนั้นสิ้นสุดลงหากผู้ขายมิได้แจ้งภายในเวลาที่กำหนด ผู้ขายจะกล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับหรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได้ เว้นแต่ในกรณีข้อ ๑0.๑ ซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้ง หรือผู้ซื้อทราบดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น
เหตุสุดวิสัย. 11.1 ในกรณีที่คู่สัญญาȦายใดȦายหนึ่งไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาข้อใดข้อหนึ่ง หรือไม่สามารถ ปฏิบัติตามกำหนดระยะเวลาที่กำหนดไว้ตามสัญญานี้ เนื่องมาจากเหตุสุดวิสัยหรือเหตุใดๆ อันมิใช่ความผิด หรือมิได้เกิดจากการละเลยปฏิบัติหน้าที่ หรือทุจริต หรือประมาทเลินเล่อ จะต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรใน โอกาสแรกที่สามารถกระทำได้พร้อมทั้งพิสูจน์ให้คู่สัญญาอีกȦายหนึ่งเห็นว่ามีเหตุดังกล่าวเกิดขึ้นจริง
เหตุสุดวิสัย. พวกเรารู้สึกเสียใจที'ไม่สามารถตกลงรับผิดหรือชาํ ระเงินชดเชยใด ๆ ให้ลูกคา ไดใ้ นกรณีท'ีการปฏิบตั ิตามหน้าที'ตามสัญญาของพวกเราไม่สามารถทาํ ไดหรอื ไดร้ ับผลกระทาํ จากเหตุสุดวิสัย กรณีที'คลบั เมด หรือสาํ นกั งานขายของคลบั เมด ไม่สามารถให้บริการหรือเกิดความล่าช้าในการให้บริการตามขอ้ กาํ หนดและ เง'ือนไขขอ้ นªี มีผลทาํ ให้พวกเราไม่ตอ้ งชาํ ระค่าเสียหาย/ค่าชดเชยใหแ้ ก่ลูกคา้ แม้ พวกเราจะยกเลิกหรือเปลี'ยนแปลงแผนการเขา้ พกั คลบั เมดฮอลิเดยข์ องลูกคา้ ก็ ตาม ทªงั นªี เน'ืองจากเหตุการณ์ท'ีเกิดขªึนไม่อยู่ในวิสัยของพวกเราในการท'ีจะ ควบคุมหรือป้องกันเหตุดังกล่าว ในเอกสารนªี เหตุสุดวิสัยหมายรวมถึง ปรากฏการณ์ธรรมชาติ สงคราม การข่มขู่ว่าจะก่อสงคราม การประท้วง เหตุการณ์ไม่สงบภายในหรือทางการเมือง การประทว้ งหยุดงาน การคว'าํ บาตร หรือขอ้ พิพาทในอุตสาหกรรม การก่อการร้ายหรือการข่มข่วู ่าจะก่อการร้ายและ ผลกระทบของมน ภยั ธรรมชาติ ภยั จากนิวเคลียร์ อคั คีภย ภยั จากสภาพอากาศ แปรปรวน และโรคระบาด การส'ังการใด ๆ ตามกฎหมาย กฎระเบียบขอ้ บงั คบั ตามกฎหมาย การอนุญาต คาํ สั'งหรือขอ้ เรียกร้องของผูม้ ีอาํ นาจท'ีเก'ียวขอ้ งหรือ ศาล การปิ ดสนามบินหรือท่าเรือ ความล่าช้าของการจราจรทางอากาศ ปัญหา ทางเทคนิคและ/หรือการเงินที'ไม่อาจหลีกเลี'ยงไดก้ บั การขนส่งหรือรีสอร์ต หรือ ปัญหาอื'นใดที'ไม่อยใู่ นวิสยั ที'คลบั เมดหรือสาํ นกั งานขายของคลบั เมดจะควบคุม ได้
เหตุสุดวิสัย. ภายใต้บันทึกข้อตกลงนี้ “เหตุสุดวิสัย” ให้หมายความถึง เหตุการณ์ใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติก็ดี เป็นเหตุที่ไม่อาจป้องกันได้ แม้ ม.อ. จะใช้ความระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและภาวะเช่นนั้น การวินิจฉัยว่ากรณีใดเป็นเหตุสุดวิสัยหรือไม่นั้น ให้บริษัทเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาดและคำวินิจฉัยชี้ขาดดังกล่าวให้ถือเป็นที่สุด ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยจนเป็นเหตุให้ ม.อ. ไม่สามารถปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงนี้ได้ ม.อ. จะต้องแจ้งให้บริษัททราบเป็นหนังสือโดยพลัน แต่ต้องไม่เกินกว่า 7 (เจ็ด) วันนับแต่วันที่เกิดเหตุการณ์ โดยอธิบายถึงเหตุการณ์ ผลกระทบของเหตุการณ์ และคำชี้แจงประกอบเหตุผลว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นเหตุสุดวิสัยตามที่กำหนดในบันทึกข้อตกลงนี้ ในระหว่างที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้นทำให้ ม.อ. ไม่สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามเงื่อนไขและกำหนดเวลาแห่งบันทึกข้อตกลงนี้ บริษัทมีสิทธิระงับการดำเนินการโครงการชั่วคราวและ ม.อ. มีสิทธิได้รับการขยายระยะเวลาดำเนินการออกไปได้เท่ากับระยะเวลาที่ต้องเสียไปเนื่องจากเหตุสุดวิสัยดังกล่าว โดย ม.อ. ต้องมีหนังสือแจ้งขอขยายระยะเวลาดำเนินการโครงการให้บริษัททราบภายใน 30 (สามสิบ) วันนับแต่วันที่เหตุนั้น สิ้นสุดลง ทั้งนี้ ไม่ว่าเหตุดังกล่าวจะสิ้นสุดลงแล้วหรือไม่ การมีหนังสือแจ้งขอขยายเวลาดังกล่าวต้องกระทำภายในเวลาไม่เกินวันสิ้นสุดระยะเวลาโครงการตามบันทึกข้อตกลง ในกรณีที่ ม.อ. ไม่สามารถปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงนี้ได้ทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วน อันเนื่องมาจากเหตุสุดวิสัยซึ่งเกิดขึ้นต่อเนื่องกันนานเกินกว่า 60 (หกสิบ) วันหรือเนื่องมาจากเนื้อหาวิชาการ (Technical Problem) อันได้แก่ปัญหาหรือเหตุอันเกิดจากข้อผิดพลาดเนื่องจากกระบวนการดำเนินงาน การศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล หรือการวิเคราะห์ผลข้อมูล ซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้โดยไม่ใช่ความผิด ของ ม.อ. หากบริษัทเห็นว่าเป็นการพ้นวิสัยที่จะปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงนี้ได้ หรือไม่เป็นประโยชน์ที่จะปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงนี้ต่อไป บริษัทมีสิทธิบอกเลิกบันทึกข้อตกลงโดยแจ้งเป็นหนังสือไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง