การทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับบุคคลที่เก่ียวข้องของกองทรัสต์ ข้อกำหนดตัวอย่าง

การทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับบุคคลที่เก่ียวข้องของกองทรัสต์. 4.1 เพื่อประโยชน์แห่งสญ ดงต่อไปนี ้ ญาข้อนี ้ คําว่า "บุคคลท่ีเก่ียวข้องของกองทรัสต์" ให้หมายความรวมถึงบุคคล
การทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับบุคคลที่เก่ียวข้องของกองทรัสต์. 5.4.1 เพ่ือประโยชน์แห่งสญญาข้อนี ้ คําว่า "บุคคลท่ีเก่ียวข้องของกองทรัสต์" ให้หมายความ รวมถึงบคคลดงต่อไปนี ้ (1) บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างมีนยสําคญในการกําหนด นโยบายการเงินและการดําเนินงานของกองทรัสต์ (เช่นผู้จัดการกองทรัสต์ กรรมการและผ้บริหารของผ้จ ดการกองทรัสต์ ที่ปรึกษาของกองทรัสต์ ผ้จ ดการของ ดการกองทรัสต์ ผ้ถ ือหน่วยทรัสต์รายใหญ่) (2) ทรัสตี ผ้ประเมินราคาทรัพย์สิน และผ้บริหารอสงหาริมทรัพย์ (3) บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมในผู้จดการกองทรัสต์ ท่ีปรึกษาของกองทรัสต์ ผู้ถือหน่วยทรัสต์รายใหญ่ ทรัสตี ผู้ประเมินราคาทรัพย์สิน และผู้บริ หาร อสงหาริมทรัพย์ (4) กิจการที่บุคคลดงกล่าวข้างต้นมีอํานาจควบคม หรอมสีื ่วนไดเสยอยางมี่ี้ นยสาคญํ (เช่น ผ้ถือห้นรายใหญ่ บรษัิ ทใหญ่ หรอบรษัิื ทแม่ บรษัิ ทยอย่ บรษัิ ทรวมและบรษัิ่ ทท่ี อย่ในเครือเดียวกนกบบคคลหรือกิจการดงกล่าว รวมทง้ กรรมการ และผ้บริหารของ 5.4.2 ผ้จ (1) รวบรวมรายชื่อบคคลหรือกิจการที่เข้าข่ายเป็ นบุคคลที่เกี่ยวข้องของกองทรัสต์และ นําส่งข้ อมูลดังกล่าวให้ ทรัสตีเพื่อใช้ ในการตรวจสอบรายการระหว่างกันของ กองทรัสต์กบบคคลที่เกี่ยวข้อง (2) ตรวจสอบว่าธุรกรรมต่าง ๆ ของกองทรัสต์เป็ นธุรกรรมที่บุคคลที่เกี่ยวข้องของ กองทรัสต์มีส่วนได้เสียหรือไม่ และจําเป็ นต้องขอความเห็นชอบจากทรัสตีหรือขอ มติจากผู้ถือหน่วยทรัสต์ก่อนที่จะทําธุรกรรมนันหรือไม่ เพื่อให้ เป็ นไปตาม ข้อกําหนดของกฎหมาย และสญญาก่อตง้ ทรัสต์ (3) จดให้มีเอกสารหลกฐานท่ีสามารถแสดงได้ว่าธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กบบคคลที่ เกี่ยวข้องของกองทรัสต์เข้าลกษณะดงต่อไปนี ้ (ก) เป็ นธุรกรรมที่สมเหตสมผลและใช้ราคาที่เป็ นธรรม (ข) ผู้ที่มีส่วนได้ เสียเป็ นพิเศษในการเข้ าทําธุรกรรมไม่มีส่วนร่วมในการ ตดสินใจเข้าทําธุรกรรมนน้ หรือธุรกรรมนน้ ได้รับความเห็นชอบจากทรัสตี หรือได้รับมติจากผู้ถือหน่วยทรัสต์ (ขึนอยู่กับความมีสาระสําคญของ ธุรกรรมนนั ้ ) ก่อนที่จะทําธุรกรรม (ค) ค่าใช้ จ่ายที่เกิดขึนจากการเข้ าทําธุรกรรมนันซึ่งนํามาเรียกเก็บจาก กองทรัสต์ (ถ้ามี) อย่ในอตราที่เป็ นธรรมและเหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบ กบอตราในท้องตลาด (4) ในการขอความเห็นชอบจากทรัสตีหรือขอมติจากผู้ถือหน่วยทรัสต์ ผู้จัดการ กองทรัสต์ต้องเปิ ดเผยส่วนได้เสียของตนหรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้องของตนในธุรกรรมที่ จะให้กองทรัสต์เข้าทํารายละเอียดของธุรกรรม เหตผลในการทําธุรกรรม และความ สมเหตสมผลของการคิดค่าตอบแทนหรือการกําหนดเงื่อนไขของธุรกรรมดงกล่าวไว้ ในหนังสือเชิญประชุม รวมทง้ เปิ ดเผยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลกทรัพย์ ตามข้อกําหนดสําหรับหน่วยทรัสต์ที่เป็ นหลกทรัพย์จดทะเบียน (5) ภายหลงการทําธุรกรรมไปแล้วผ้จดการกองทรัสตมี์ หน้าท่ีเปิ ดเผยธุรกรรมระหว่าง กองทรัสต์กับบุคคลที่เกี่ยวข้องของกองทรัสต์ในรอบปี บญชีก่อนและรอบปี บัญชี (6) เพ่ือป้ องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึนระหว่างผู้ให้ ความ สนับสนุน (Spo...

Related to การทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับบุคคลที่เก่ียวข้องของกองทรัสต์

  • การตรวจงานจ้าง ถ้าผู้ว่าจ้างแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อควบคุมการทำงานของผู้ รับจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานนั้ มีอำนาจเข้าไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที่ก่อสร้างได้ ทุกเวลา และผู้รับจ้างจะต้องอำนวยความสะดวกและให้ความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทำให้ผู้รับจ้างพน้ ความรับผิดชอบ ตามสัญญานี้ข้อใดข้อหนึ่งไม่

  • เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา เอกสารแนบท้ายสัญญาดังต่อไปนี้ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้ ๒.๑ ผนวก ๑ .…….….(แบบรูป)……........…......….......….. จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๒ ผนวก ๒ ………...(รายการละเอียด)…….....……....... จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๓ ผนวก ๓ …........(ใบแจ้งปริมาณงานและราคา)...... จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๔ ผนวก ๔ ……….(ใบเสนอราคา)….........…………....... จํานวน.…..( ) หน้า …………..……………..……ฯลฯ……….………..…………… ความใดในเอกสารแนบท้ายสัญ ญ าที่ ขั ดห รื อแย้ งกั บ ข้ อความในสัญ ญ านี้ ให้ ใช้ ข้ อความ ในสัญญานี้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบท้ายสัญญาขัดแย้งกันเอง ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผู้ ว่าจ้าง คําวินิจฉัยของผู้ว่าจ้างให้ถือเป็นที่สุด และผู้รับจ้างไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าจ้าง ค่าเสียหายหรือค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติมจากผู้ว่าจ้างทั้งสิ้น

  • การรับประกันความชํารุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • การทําสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทำสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุ ในข้อ ๑.๓ หรือทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับ แจ้ง และจะต้องวางหลักประกันสัญญาเป็นจำนวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ยึดถือไว้ในขณะทำสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ๖.๒ เงินสด เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือ ดราฟท์นั้น ชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันทำสัญญา หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ ๖.๓ หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ นโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ๖.๔ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ ไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการ ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (๒) ราคาที่เสนอจะต้องเป็นราคาที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่นๆ (ถ้ามี) รวม ค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้ด้วยแล้ว (๓) ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องลงทะเบียนเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา ตามวัน เวลา ที่ กําหนด (๔) ผู้ยื่นข้อเสนอจะถอนการเสนอราคาที่เสนอแล้วไม่ได้ (๕) ผู้ยื่นข้อเสนอต้องศึกษาและทําความเข้าใจในระบบและวิธีการเสนอราคาด้วยวิธี ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลางที่แสดงไว้ในเว็บไซต์ xxx.xxxxxxxxxxxx.xx.xx

  • ความรับผิดของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใด ๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้าง และจะต้องรับผิดต่อความเสียหายจากการกระทําของลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง และจากการ ปฏิบัติงานของผู้รับจ้างช่วงด้วย (ถ้ามี) ความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่งานที่ผู้รับจ้างได้ทําขึ้น แม้จะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผู้รับ จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยซ่อมแซมให้คืนดีหรือเปลี่ยนให้ใหม่โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง เว้นแต่ความเสียหายนั้น เกิดจากความผิดของผู้ว่าจ้าง ทั้งนี้ ความรับผิดของผู้รับจ้างดังกล่าวในข้อนี้จะสิ้นสุดลง เมื่อผู้ว่าจ้างได้รับมอบงาน ครั้งสุดท้าย ซึ่งหลังจากนั้นผู้รับจ้างคงต้องรับผิดเพียงในกรณีชํารุดบกพร่อง หรือความเสียหายดังกล่าวในข้อ 8 เท่านั้น ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในความเสียหายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงานของผู้ รับจ้าง หรือลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง รวมถึงผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ตามสัญญานี้ หากผู้ว่าจ้างถูกเรียกร้องหรือ ฟ้องร้องหรือต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกไปแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการใด ๆ เพื่อให้มีการว่าต่างแก้ต่าง ให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง รวมทั้งผู้รับจ้างจะต้องชดใช้ค่าเสียหายนั้น ๆ ตลอดจนค่าใช้จ่ายใด ๆ อันเกิดจากการถูกเรียกร้องหรือถูกฟ้องร้องให้แก่ผู้ว่าจ้างทันที

  • ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน ตําแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดําเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ)

  • ความรับผิดชอบในความชํารุดบกพร่องของงานจ้าง เมื่องานแล้วเสร็จบริบูรณ์ และผู้ว่าจ้างได้รับมอบงานจากผู้รับจ้างหรือจากผู้รับจ้างรายใหม่ ใน กรณีที่มีการบอกเลิกสัญญาตามข้อ 7 หากมีเหตุชํารุดบกพร่องหรือเสียหายเกิดขึ้นจากการจ้างนี้ ภายในกําหนด 2 (สอง) ปี - เดือน นับถัดจากวันที่ได้รับมอบงานดังกล่าว ซึ่งความชํารุดบกพร่องหรือเสียหายนั้นเกิดจากความ บกพร่องของผู้รับจ้างอันเกิดจากการใช้วัสดุที่ไม่ถูกต้องหรือทําไว้ไม่เรียบร้อย หรือทําไม่ถูกต้องตามมาตรฐานแห่ง หลักวิชา ผู้รับจ้างจะต้องรีบทําการแก้ไขให้เป็นที่เรียบร้อยโดยไม่ชักช้า โดยผู้ว่าจ้างไม่ต้องออกเงินใดๆ ในการนี้ทั้งสิ้น หากผู้รับจ้างไม่กระทําการดังกล่าวภายในกําหนด 7 (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หรือไม่ทําการแก้ไขให้ถูกต้องเรียบร้อยภายในเวลาที่ผู้ว่าจ้างกําหนด ให้ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะทําการนั้นเอง หรือจ้าง ผู้อื่นให้ทํางานนั้น โดยผู้รับจ้างต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองทั้งสิ้น ในกรณีเร่งด่วนจําเป็นต้องรีบแก้ไขเหตุชํารุดบกพร่องหรือเสียหายโดยเร็ว และไม่อาจรอให้ผู้รับ จ้างแก้ไขในระยะเวลาที่กําหนดไว้ตามวรรคหนึ่งได้ ผู้ว่าจ้างมีสิทธิเข้ าจัดการแก้ไขเหตุชํารุดบกพร่องหรือเสียหาย นั้นเอง หรือจ้างผู้อื่นให้ซ่อมแซมความชํารุดบกพร่องหรือเสียหาย โดยผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบชําระค่าใช้จ่ายทั้งหมด การที่ผู้ว่าจ้างทําการนั้นเอง หรือจ้างผู้อื่นให้ทํางานนั้นแทนผู้รับจ้าง ไม่ทําให้ผู้รับจ้างหลุดพ้นจาก ความรับผิดตามสัญญา หากผู้รับจ้างไม่ชดใช้ค่าใช้จ่ายหรือค่าเสียหายตามที่ผู้ว่าจ้างเรียกร้องผู้ว่าจ้างมีสิทธิบังคับจาก หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาได้

  • การส่งมอบ ผู้ขายจะส่งมอบสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาให้แก่ผู้ซื้อ ณ กองยุทธศา^ตร์และงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน ภายในวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๔๖๔ ให้ถูกต้องและครบถ้วนตามที่กำหนดไวิในข้อ ๑ แห่งสัญญานี้ พร้อมทั้งหีบห่อหรือเครื่องรัดพันผูกโดยเรียบร้อย การส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้ใม่ว่าจะเป็นการส่งมอบเพียงครั้งเดียว หรือส่งมอบหลายครั้ง ผู้ขายจะต้องแจ้งกำหนดเวลาส่งมอบแต่ละครั้งโดยทำเป็นหนังสือนำไปยื่นต่อผู้ซื้อ ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน ในวันและเวลาทำการของผู้ซื้อ ก่อนวันส่งมอบไม,น้อยกว่า ๓ (สาม) วันทำการของผู้ซื้อ

  • เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ