ความต้องการทั่วไป ข้อกำหนดตัวอย่าง

ความต้องการทั่วไป. 1.1 ลิฟต์บริการที่ต้องการเพื่อติดตั้งตามส่วนต่าง ๆ ดังนี้ ก. กลุ่มลิฟต์บริการ W1-SF1, W2-SF1 จำนวน 2 ชุด 1.2 พื้นตัวลิฟต์ (Car Platforms) และโครงสรางเสริมตัวลิฟต์ (Car Frames) ก. Car Platforms เป็นโครงเหล็กเสริมพื้นบนปูทับด้วยไม้ พื้นด้านล่างบด้วยเหล็กแผน่ (ความหนาต้องไม่ต่ำกว่า No. 27 Us Gage) Car Platforms ติดตั้งบน Rubber Pads เพื่อลดเสียงและการสั่นสะเทือน ข. Car Frames ตัวโครงสร้างเสริมตัวลิฟต์ เป็นโครงสร้างเหลกแข็งแรง สามารถรับแรงต่าง ๆ ท ระทำภายในตัวลิฟต์ได้อย่างดี การออกแบบ Car Frames และ Car Platforms ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ANSI/ASME A17.1 หรือมาตรฐานของประเทศผู้ผลิต 1.3 ตัวห้องโดยสารลิฟต์ (Car Enclosure) ก. หลังคาตัวลิฟต์ทำด้วยเหล็ก ความหนาไม่ต่ำกว่า No. 14 Us Gage มีโครงเหล็กเสริม แข็งแรง ภายในพ่นสป้องกันสนิม ภายนอกพ่นทับด้วยวสดุป้องกันเสียง และต้องมี Top Emergency Exit เป็นแผ่นมีบานพบเปิดขึ้นชั้นบน ขนาดของช่องประตู ต้องมีพื้นที่ไม่ต่ำ กว่า 0.26 ตารางเมตร และด้านใดด้านหนึ่งต้องยาวไม่ต่ำกว่า 45 เซ็นติเมตร การตกแต่ง ให้เสนอรูปแบบเพื่อการเลือกในภายหลังได้ ข. ผนังทำด้วยแผ่นเหล็กเหนียวอย่างดี หนาไม่น้อยกว่า 16 Us Gage ทาสีพื้นกันสนิมอย่าง ดี ซึ่งจะระบสีในภายหลัง ส่วนดานลางให้มีขอบ Kick Plate และมี Wall Protections/Handrails กันกระแทกที่ระดับสูงจากพื้น 0.80 เมตร ค. พื้นห้องลิฟต์ ปูทับด้วยแผ่นยางกันลื่นชนิด Heavy Duty ง. ภายในห้องโดยสาร ต้องมีแสงสว่างที่ระดับสูงจากพื้น 1 เมตร ไม่น้อยกว่า 100 Lux จาก หลอด Fluorescent หรือ LED ชนิด Cool White พร้อมพัดลมระบายอากาศ เพื่อการ ถ่ายเทอากาศจากภายนอกไม่น้อยกว่า 30 Air Change ใน 1 ชั่วโมง จ. การตกแต่งภายในห้องโดยสาร ดูรายละเอียดใน Specification Sheet 1.4 ประตูตัวลิฟต์ (Car Doors) ก. ประตูเป็นแบบสองบานเลื่อนชนิด Center Opening หรือ Side Opening และมีขนาด ตามที่ระบุใน Specification Sheet ข. ประตู ตัวนำเลื่อน ทางเลื่อน และตัวยด จะต้องมีความแข็งแรงสามารถรับแรงกระทำที่ ประตูขณะปิดสนิทได้โดยประตูไม่โก่งเกินแนวธรณีประตู ไม่เสียหายหรือเสียรูปอย่างถาวร และต้องไม่เลื่อนไปจากตัวนำเลื่อนหรือทางเลื่อน ถ้าเป็นประตูแบบหลายส่วนจะต้องทน แรงกระทำตามที่ระบุได้ ค. การทำงานของประตูตัวลิฟต์ จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานระบบลิฟต์โดยสารของ วสท. ฉบับปัจจบัน 1.5 ประตูหน้าชั้น (Hoistway Entrances) เป็นแบบสองบานเลื่อนและมีรายละเอียดดังต่อไปนี้.- ก. ประตูเป็นแบบสองบานเลื่อนชนิด Center Opening หรือ Side Opening และมีขนาด ประตูกรอบประตู (Door Frame) ตามที่ระบุใน Specification Sheet ข. บานประตู ทำดวยเหล็กแผ่นกรุเต็มทั้งด้านนอก และด้านใน (Hollow Panel Construction) ตรงกลางเป็นช่องว่างฉนวนอากาศมีโครงเสริมให้แข็งแรง มีความสามารถ ทนไฟได้นานไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง โดยไม่โก่ง หรืองอ ค. แผ่นรางร่องประตู (Landing Sill) ทำด้วย Extruded Aluminum พื้นผิวเป็นรองเพื่อก...
ความต้องการทั่วไป. 1-1 1. บทนำ 1-1
ความต้องการทั่วไป. (1) หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้งต้องทำและทดสอบตามมาตรฐานฉบับล่าสุดที่เกี่ยวข้องของ IEC Standard และต้องได้รับการรับรองโดยสถาบันที่เชื่อถือได้ (2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องเป็นชนิดแห้ง สำหรับใช้ภายในอาคารในที่มีความชื้นสูงฉนวนชนิด Cast- Resin Under Vacuum, Insulation Class F or H สำหรับ HV หรือ LV winding. (3) ผู้ผลิตต้องรับประกันคุณภาพของหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้งไม่ต่ำกว่า 5 ปี หากมีการเสียหาย ผู้ผลิตจะต้องทำการเปลี่ยนหม้อแปลงไฟฟ้าลูกใหม่ให้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ความต้องการทั่วไป. (1) หม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง (Power Transformer) ต้องเป็นชนิดขดลวดจุ่มอยู่ในน้ำมัน (Oil immersed) สำหรับใช้งานภายนอกอาคาร (2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผลิตและทดสอบ ตามมาตรฐานของ TIS, ANIS หรือ IEC ฉบับล่าสุด และต้อง เป็นไปตามกฎและระเบียบของการไฟฟ้า (3) การแสดงพิกัดต่างๆ ของหม้อแปลงไฟฟ้าจะต้องอ้างอิงที่อุณหภูมิ 40ºC ความชื้นสัมพัทธ์ 50% (4) หม้อแปลงไฟฟ้า ต้องมีคุณสมบัติ และสมรรถนะ ดังนี้ - Rated Primary Voltage : ตามที่กำหนดในแบบ - Rated Frequency : 50 H z - Number of Phase : 3 - Rated Power Output : ตามที่กำหนดในแบบ - Vector Group : Dyn 11 - HV. No-Load Tap Changer : - 4x2.5% (MEA) : + 2x2.5% (PEA) - Total loss at P F.1 : ไม่เกิน 1.5% ที่ Full load (5) ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดหม้อแปลงให้วิศวกรของผู้ว่าจ้าง หรือตัวแทนของผู้ว่าจ้าง และการไฟฟ้า ท้องถิ่นพิจารณา ให้ความเห็นชอบก่อนการสั่งซื้อหม้อแปลงโดยในรายละเอียดต้องแสดงข้อมูลให้พิจารณาอย่างน้อย ดังนี้ - รายละเอียดของวัสดุ, Rated Voltage และ Current ของขดลวดแรงสูง และแรงต่ำ - Rated Frequency - Number of Phase - No Load Loss และ Rated Load Loss - Tap Changer - Rated Rasic Impulse Level - Impedance Voltage - Impedance Voltage - Vector Group - Noise Level - Percent Efficiency - Percent Regulation at 100% PF - ขนาดมิติ และน้ำหนัก
ความต้องการทั่วไป. 1.1 ผู้รับจ้างต้องจัดหาติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรอง พร้อมระบบควบคุมอัตโนมัติและอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็น เพื่อให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดังกล่าวทำงานโดยสมบูรณ์ตามที่แสดงในแบบและระบุในข้อกำหนดนี้ทุกประการ 1.2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินให้กำลังไฟฟ้าเป็นแบบ Prime (Prime Rating) โดยมีขนาด kVA. ไม่น้อยกว่าที่ แสดงไว้ในแบบที่เพาเวอร์แฟกเตอร์ 0.8 380/220 V. 3 เฟส4 สาย 50 Hz ที่ความเร็วรอบ 1500 รอบ/นาที 1.3 เครื่องยนต์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า และ Radiator ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน ซึ่งทำด้วยเหล็กประกอบสำเร็จรูป และ Coupling มาจากโรงงานผู้ผลิตและต้องส่ง Test Report ของเครื่องนั้นๆ มาให้ผู้ควบคุมงานพิจารณาด้วย 1.4 แผงควบคุมชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ต้องเป็นแผงควบคุมที่ประกอบสำเร็จรูป โดยบริษัทผู้ผลิตชุดเครื่อง กำเนิดไฟฟ้า 1.5 ผู้รับจ้างต้องจัดทำการทดสอบด้วยโหลดเทียมที่สถานที่ติดตั้ง หรือที่โรงงานผู้จัดจำหน่ายตามรายการ ทดสอบระบบ
ความต้องการทั่วไป. ผ ับจ้างจะต้องจัดหา และติดตั้งระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าชนิด EARLY STREAMER EMISSION SYSTEM รัศมีมีการป้องกันไม่น้อยกว่าระบุในแบบ ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าต้องสามารถรับประจุที่เกิดจาก ฟ้าผ่า แล้วนำสู่พื้นดินอย่างรวดเร็ว และจะต้องไม่ใช้แหล่งจ่ายไฟใด ๆ เกิดจากภายนอกทั้งสิ้นผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไป ตามมาตรฐาน NFC 17- 102
ความต้องการทั่วไป. 1.1. ข้อกำหนดนี้ครอบคลุมรายละเอียดคุณสมบัติและการติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน UPS, อุปกรณ์ควบคุม, Bypass Switch ตลอดจน Battery Backup 1.2. เครื่อง UPS เป็นแบบ Double Conversion On-line UPS with Parallel Redundancy Configuration ใช้สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าฉุกเฉินให้แก่อุปกรณ์ไฟฟ้าที่จำเป็นโดยอัตโนมัติเมื่อ ไฟฟ้าเกิดขัดข้องโดยขนาดกำลังไฟฟ้าต้องไม่น้อยกว่าที่กำหนดในแบบเพื่อจ่ายโหลดที่ Power Factor 0.8 Lagging, 380/220V, 3-Phase, 4-Wire, 50 Hz. และจะต้องมีประสิทธิภาพไม่ต่ำ กว่า 90 % 1.3. เครื่อง UPS จะต้องเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อสามารถมอนิเตอร์การทำงาน ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 1.4. เครื่อง UPS และอุปกรณ์ประกอบต้องผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน IEC, EN, VDE, BS, ANSI, UL, ISO หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า 1.5. เครื่อง UPS จะต้องทำการทดสอบรายละเอียดต่างๆของ UPS ตามข้อกำหนดณโรงงานผู้ผลิต ก่อน การจัดส่งพร้อมด้วยรายงานการทดสอบซึ่งได้รับการรับรอง 1.6. เครื่อง UPS ต้องเป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกาหรือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเท่านั้น 1.7. ผู้รับจ้างจำเป็นต้องดำเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ที่จำเป็นถึงแม้ว่าจะไม่ระบุไว้ในแบบหรือ ข้อกำหนดก็ตามเพื่อให้เครื่อง UPS ทำงานได้สมบูรณ์ตามความต้องการของวิศวกร
ความต้องการทั่วไป. ระบบเสาอากาศวิทยุ – โทรทัศน์รวม (SMATV SYSTEM)
ความต้องการทั่วไป. (1) ผู้รับจ้างต้องจัดหาและติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบต่างๆ สำหรับดูแลบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ และติดตั้งบน Top-Desk Rack ในห้อง รักษาความปลอดภัยของอาคารตามที่แสดงในแบบ โดยที่วัสดุและอุปกรณ์หลักที่ใช้ในระบบ CCTV ได้แก่ กล้องและ CCTV Controller (Digital Video Recorder) ต้องได้รับการรับรองจาก UL หรือ CE (2) ระบบ CCTV ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ อย่างน้อยดังนี้ - กล้อง (Camera) - เลนส์ (Lens) - จอภาพ (Monitor) - เครื่องบันทึกภาพแบบดิจิตอล CCTV Controller (Digital Video Recorder, DVR) - Cabling System - Storage Backup - โปรแกรมบริหารจัดการ
ความต้องการทั่วไป. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีความประสงค์จ้างเหมางาน เกษตร ระยะเวลา 10 เดือน (ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2562) ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องมีคุณสมบัติ