วัตถุประสงค์แห่งสัญญา ข้อกำหนดตัวอย่าง

วัตถุประสงค์แห่งสัญญา. ผู้ให้เช่าตกลงให้เช่าและผู้เช่าตกลงเช่าที่ดินโฉนดเลขที่.............……..เลขที่ดิน...................ตำบล...............………..อำเภอ…………................จังหวัด.............................พร้อมสิ่งปลูกสร้างบนโฉนดที่ดินดังกล่าวเป็น............................................................เลขที่………………. จำนวน……………หลัง เพื่อใช้ประกอบกิจการ............................................................................ รายละเอียดปรากฏตามสำเนาภาพถ่ายโฉนดที่ดินและสำเนาทะเบียนบ้านแนบท้ายสัญญา ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้ ซึ่งต่อไปจะรวมเรียกว่า "สถานที่เช่า"
วัตถุประสงค์แห่งสัญญา. ผู้ว่าจ้างตกลงว่าจ้างและผู้รับจ้างตกลงรับจ้างขนส่ง…………………………จาก..........................ของผู้ว่าจ้าง ตั้งอยู่ที่.........................………………………... ไปยังสถานที่ที่ผู้ว่าจ้างกำหนด และแจ้งให้ทราบเป็นคราว ๆ ซึ่งจะทำการขนส่งโดยรถยนต์ของผู้รับจ้าง รวมทั้งสิ้นจำนวน..................คัน เป็นรถยนต์ประเภท.............................. ยี่ห้อ..............................เครื่องยนต์.................................. ขนาดปริมาตรกระบอกสูบ.................ซีซี ได้แก่ หมายเลขทะเบียน......................................... ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า “งานที่จ้าง”
วัตถุประสงค์แห่งสัญญา. 1.1 บริษัทฯ ตกลงว่ำจำ้ งผูใ้ หบ ริกำร และผูใ้ หบ ริกำรตกลงรบ จำ้ งบริษัทฯ ในกำรใหบ ริกำรวำงแผนกำรเงินแก่ลกคำ ของบรษัทฯ โดยทีผใ่ ู้ หบรกำรจะตองมีคณสมบติดงั ต่อไปนี (1) เป็ นท่ีปรึกษาการเงิน AFPT อันไดแ ก่ บุคคลที่มีควำมรูค วำมสำมำรถในกำรใหค ำ˚ แนะนำ˚ และคำ˚ ปรึกษำที่ เกี่ยวของกับดำ้ นกำรวำงแผนกำรลงทุน และ/หรือ ดำ้ นกำรวำงแผนกำรประกันชีวิตและกำรวำงแผนเพื่อวัย เกษียณ ภำยใตก ำรดูแลและกำรควบคุมโดยนก วำงแผนกำรเงิน CFP และเป็นผูท ่ีผ่ำนกำรอบรม และผ่ำนกำร 1 สอบหลักสูตรดำ้ นกำรวำงแผนกำรลงทุนและที่ปรึกษำกำรเงินดำ้ นกำรประกันชีวิต ตำมกฎเกณฑมำตรฐำนที่ สมำคมนกวำงแผนกำรเงินไทยเป็นผกู ำ˚ หนด (2) นักวางแผนการเงิน CFP อน ไดแ ก่ บุคคลที่มีควำมรูค วำมสำมำรถในกำรใหค ำ˚ แนะนำ˚ เกี่ยวกับกำรออม กำร กูยืม กำรวำงแผนกำรศึกษำ กำรประกันภย กำรลงทุน กำรวำงแผนดำ้ นภำษี และกำรวำงแผนเกษียณเพื่อช่วย คคลสำมำรถจดกำรดำ้ นกำรเงินของตนเองและบรรลเุ ป้ำหมำยในชีวิตทงั้ ในระยะสนั และระยะยำว โดยผ่ำน กำรอบรมและสอบผ่ำนหลกสตรกำรวำงแผนกำรเงิน CFP รวมทงั้ มีประสบกำรณกำรทำ˚ งำนที่เกี่ยวของโดยตรง กบกำรใหบรกำรวำงแผนทำงกำรเงิน และไดร้ บกำรขึนทะเบียนคณวฒิวิชำชีพนกวำงแผนกำรเงินจำกสมำคมนก วำงแผนกำรเงินไทยแลว้ 1.2 ทงั้ นี้ ผูใ้ หบ ริกำรเป็นผูป ระกอบวิชำชีพวำงแผนกำรเงินท่ีไดร้ บอนุญำตใหใ้ ชเ้ ครื่องหมำยรบรองคณวฒิวิชำชีพนก วำงแผนกำรเงิน CFP และเครื่องหมำยรบรองคณวฒิวิชำชีพท่ีปรกษำกำรเงิน AFPT ตำมทะเบียนคณวฒิเลขที่ (ระบุหมายเลข คณวฒิ) มีควำมประสงคร์ บจำ้ งบรษ ัทฯ ในกำรใหบรกำรวำงแผนกำรเงินแก่ลกคำ้ ของบรษ ัทฯ
วัตถุประสงค์แห่งสัญญา. บริษัทตกลงแต่งตั้ง และนายหน้าตกลงรับการแต่งตั้งเป็นนายหน้าในการ ชี้ช่อง หรือชักชวนให้บุคคลภายนอกเข้ามา ให้กับผู้ให้ สัญญา ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผใู้ ห้สัญญากำาหนด และแจ้งให้ทราบ
วัตถุประสงค์แห่งสัญญา. "โจทก์จําเลยตกลงแบ่งเงินค่านายหน้าขายที่ดินคนละครึ่ง, บัดนี้ขายที่ดินได้แล้ว โจทก์จึงฟ้องแบ่งค่านายหน้า ครึ่งหนึ่งในส่วนที่จําเลยยังไม่แบ่งให้. ฝ่ายจําเลยต่อสู้ว่า จําเลยเป็นผู้รับซื้อที่ดินเอง และนําสืบว่าจําเลยซื้อเองโดย เอาเงินของ อ. มาซื้อ, ชั้นแรกจะใส่ชื่อจําเลยเป็นผู้ซื้อแล้วทําจํานอง อ., แต่เห็นว่าเสียค่าธรรมเนียมมาก จึงลงนาม อ. เป็นผู้ซื้อ, แลได้ทําสัญญาไว้ว่า อ.จะขายให้จําเลยตามราคาที่ซื้อไว้ แต่จําเลยต้องส่งดอกเบี้ยให้ อ. ร้อยละ 8, ถ้า จําเลยชําระราคาที่ดินเสร็จ อ. จะโอนที่ให้, ถ้าจําเลยงดส่งดอกเบี้ย 3 เดือนหรือไม่ชําระราคาที่ดิน สัญญาเป็นอัน ยกเลิก. ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า หากจําเลยเป็นผู้ซื้อเอง ก็เห็นได้ว่า เป็นนายหน้าให้แก่ตัวเอง ซึ่งย่อมเป็นไปไม่ได้, ในสัญญาซื้อ ขายแลสัญญาระหว่างจําเลยกับ อ. ก็แสดงอยู่ในตัวชัดเจนว่าจําเลยมิได้เป็นผู้ซื้อ. ส่วนข้อฎีกาว่าฟ้องของโจทก์ เคลือบคลุม จําเลยมิได้ยกขึ้นคัดค้านแต่ชั้นศาลล่าง, จึงไม่รับวินิจฉัย. จึงพิพากษายืนตามศาลล่างซึ่งพิพากษาให้ จําเลยแบ่งค่านายหน้าให้โจทก์ตามฟ้อง." คําพิพากษาศาลฎีกา 337/2478 กฎหมายไทย โดย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 บ่งบอกว่า สัญญานายหน้ามีวัตถุประสงค์เป็น การที่นายหน้าชี้ช่องให้ผู้วานนายหน้าได้เข้าทํากับบุคคลอื่น ซึ่งเป็นจุดต่างกับสัญญาตั้งตัวแทนที่ตัวแทนจะเข้าทํา สัญญากับบุคคลอื่นแทนตัวการเลย การเป็นนายหน้าให้ตนเองย่อมทําไม่ได้ บุคคลต้องเป็นนายหน้าให้ผู้อื่นเท่านั้นและสัญญาที่นายหน้าจะชี้ช่องให้ผู้วาน นายหน้านั้นจะเป็นอะไรก็ได้ ไม่มีจํากัดเป็นสัญญาจะซื้อจะขายก็ได้

Related to วัตถุประสงค์แห่งสัญญา

  • การบอกเลิกสัญญา ถ้าผู้ขายไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อใดข้อหน่ึง หรือเมื่อครบกําหนดส่งมอบสิ่งของ ตามสัญญานีแล้ว หากผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของท่ีตกลงขายให้แก่ผ ือหรือส่งมอบไม่ถูกตอง้ หรือไม่ครบจํานวน ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้ การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาน้ันไม่กระทบสิทธิ ของผู้ซ ที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ขาย ในกรณีท่ีผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ซื้อมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันตาม (๑๙) (ข้อ ๖ และ) ข้อ ๘ เป็นจํานวนเงินท้ังหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อ จัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจํานวนหรือเฉพาะจํานวนที่ขาดส่ง แล้วแต่กรณี ภายในกําหนด……(๒๐)...... (……………..…..) เดือน นับถัดจากวันบอกเลิกสัญญา ผู้ขายจะต้องชดใช้ราคาท่ีเพิ่มข้ึนจากราคาที่กําหนดไว้ ในสัญญานี้ดวย

  • วัตถุประสงค์ ๑.๑ เพื่อส่งเสริม ผลักดัน และประสานความร่วมมือในการร่วมดําเนินการตามนโยบายรัฐบาล และแนวทางการดําเนินการต่าง ๆ เพื่อป้องกัน และต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชนให้ เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติฯ นโยบายของรัฐบาล และแนวทางการดําเนินงานที่เกี่ยวข้อง ๑.๒ เพื่อร่วมกันสังเกตการณ์ การตรวจสอบการปฏิบัติราชการและการขับเคลื่อนการ ดําเนินงานของภาครัฐและภาคเอกขน รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อป้องกันและต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน ๑.๓ เพื่อส่งเสริมการปลุกจิตสํานึกของบุคลากรทั้งภาครัฐ และภาลเอกชนให้ตระหนักถึง คุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และการประชฤติปฏิบัติที่ถูกต้อง เที่ยงตรง

  • หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ในขณะทําสัญญานี้ผู้รับจ้างได้นําหลักประกันเป็น…………..…...…..…....………..……… เป็นจํานวนเงิน ……......…....บาท (………….…..………….) ซึ่งเท่ากับร้อยละ 5 (ร้อยละห้า) ของราคาค่าจ้างตามสัญญา มามอบ ให้แก่ผู้ว่าจ้างเพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้ กรณีผู้รับจ้างใช้หนังสือค้ําประกันมาเป็นหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา หนังสือค้ําประกัน ดังกล่าวจะต้องออกโดยธนาคารที่ประกอบกิจการในประเทศไทย หรือโดยบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบตามแบบที่คณะกรรมการ นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐกําหนด หรืออาจเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตาม วิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได้ และจะต้องมีอายุการค้ําประกันตลอดไปจนกว่าผู้รับจ้างพ้นข้อผูกพันตามสัญญา นี้ หลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบให้ตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีอายุครอบคลุมความรับผิดทั้งปวงของผู้ รับจ้างตลอดอายุสัญญา ถ้าหลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบให้ดังกล่าวลดลงหรือเสื่อมค่าลง หรือมีอายุไม่ครอบคลุม ถึงความรับผิดของผู้รับจ้างตลอดอายุสัญญา ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงกรณี ผู้รับจ้างส่งมอบงานล่าช้าเป็นเหตุ ให้ระยะเวลาแล้วเสร็จหรือวันครบกําหนดความรับผิดในความชํารุดบกพร่องตามสัญญาเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเกิดขึ้น คราวใด ผู้รับจ้างต้องหาหลักประกันใหม่หรือหลักประกันเพิ่มเติมให้มีจํานวนครบถ้วนตามวรรคหนึ่งมามอบให้แก่ ผู้ว่าจ้างภายใน 7 วัน (เจ็ดวัน) นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบไว้ตามข้อนี้ ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้างโดยไม่มีดอกเบี้ยเมื่อ ผู้รับจ้างพ้นจากข้อผูกพันและความรับผิดทั้งปวงตามสัญญานี้แล้ว

  • การงดหรือลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาปฏิบัติงานตามสัญญา ในกรณีที่มีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของฝ่ายผู้ว่าจ้าง หรือเหตุสุดวิสัย หรือเกิด จากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่ผู้รับจ้างไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย หรือเหตุอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ซึ่งออก ตามความในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ทําให้ผู้รับจ้างไม่สามารถทํางานให้แล้ว เสร็จตามเงื่อนไขและกําหนดเวลาแห่งสัญญานี้ได้ ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งเหตุหรือพฤติการณ์ดังกล่าวพร้อมหลักฐานเป็น หนังสือให้ผู้ว่าจ้างทราบ เพื่อของดหรือลดค่าปรับ หรือขยายเวลาทํางานออกไปภายใน 15 (สิบห้า) วันนับถัดจากวันที่ เหตุนั้นสิ้นสุดลง หรือตามที่กําหนดในกฎกระทรวงดังกล่าว แล้วแต่กรณี ถ้าผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามความในวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้รับจ้างได้สละสิทธิเรียกร้องใน การที่ จะของดหรือลดค่าปรับ ห รือ ขยายเวลาทํางานออกไป โดยไม่ มี เงื่อ น ไขใด ๆ ทั้ งสิ้ น เว้น แ ต่ กรณีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของฝ่ายผู้ว่าจ้างซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้งหรือผู้ว่าจ้างทราบดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น การงดหรือลดค่าปรับ หรือขยายกําหนดเวลาทํางานตามวรรคหนึ่ง อยู่ในดุลพินิจของผู้ว่าจ้างที่ จะพิจารณาตามที่เห็นสมควร

  • เชิงคุณภาพ ลงชื่อ........................................................................

  • สิทธิของผู้ว่าจ้างภายหลังบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา ผู้ว่าจ้างอาจทํางานนั้นเองหรือว่าจ้างผู้อื่นให้ทํางานนั้นต่อจนแล้ว เสร็จก็ได้ ผู้ว่าจ้างหรือผู้ที่รับจ้างทํางานนั้นต่อมีสิทธิใช้เครื่องใช้ในการก่อสร้าง สิ่งที่สร้างขึ้นชั่วคราวสําหรับงาน ก่อสร้าง และวัสดุต่างๆ ซึ่งเห็นว่าจะต้องสงวนเอาไว้เพื่อการปฏิบัติงานตามสัญญาตามที่จะเห็นสมควร ในกรณีดังกล่าว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ทั้งหมดหรือ บางส่วนตามแต่จะเห็นสมควร นอกจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในค่าเสียหายซึ่งเป็นจํานวนเกินกว่าหลัก ประกันการปฏิบัติตามสัญญา รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นต่อให้แล้วเสร็จตามสัญญา ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการควบคุมงานเพิ่ม (ถ้ามี) ซึ่งผู้ว่าจ้างจะหักเอาจากเงินประกันผลงานหรือจํานวนเงินใด ๆ ที่จะจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างก็ได้

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ ร่างรายละเอียดขอบเขตของงานทั้งโครงการ (Terms of Reference : TOR) ๑.๒ แบบใบเสนอราคาที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๓ แบบสัญญาจ้างก่อสร้าง ๑.๔ แบบหนังสือค้ำประกัน (๑) หลักประกันสัญญา ๑.๕ สูตรการปรับราคา ๑.๖ บทนิยาม (๑) ผู้ที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (๒) การขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ๑.๗ แบบบัญชีเอกสารที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (๑) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ (๒) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๒ ๑.๘ แผนการใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศและแผนการใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศ ๑.๙ แผนการทำงาน

  • การบังคับค่าปรับ ค่าเสียหาย และค่าใช้จ่าย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใดด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเป็นเหตุให้เกิดค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือ ค่าใช้จ่ายแก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างต้องชดใช้ค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยสนิ้ เชิงภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับ ถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเปน็ หนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากผู้รับจ้างไม่ชดใช้ให้ถูกต้องครบถ้วนภายในระยะเวลาดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างมีสทธิที่จะหัก เอาจากจำนวนเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ หรือจากเงินประกันผลงาน ของผู้รับจ้าง หรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบติตามสัญญาได้ทนั ที หากค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายที่บังคับจากเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ เงินประกันผลงาน หรือหลักประกันการ ปฏิบัติตามสัญญาแล้วยังไม่เพียงพอ ผู้รับจ้างยินยอมชำระส่วนที่เหลือ ที่ยังขาดอยู่จนครบถ้วนตามจำนวนค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายนั้น ภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากมีเงินค่าจ้างตามสัญญาที่หักไว้จ่ายเป็นค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายแล้วยังเหลืออยู่อีกเท่าใด ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้างทงั้ หมด

  • งานพิเศษและการแก้ไขงาน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะสั่งเป็นหนังสือให้ผู้รับจ้างทํางานพิเศษซึ่งไม่ได้แสดงไว้หรือรวมอยู่ในเอกสาร สัญญานี้ หากงานพิเศษนั้นๆ อยู่ในขอบข่ายทั่วไปแห่งวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ นอกจากนี้ ผู้ว่าจ้างยังมีสิทธิสั่งให้ เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขแบบรูปและข้อกําหนดต่างๆ ในเอกสารสัญญานี้ด้วย อัตราค่าจ้างหรือราคาที่กําหนดไว้ในสัญญานี้ ให้กําหนดใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มเติม ขึ้น หรือตัดทอนลงทั้งปวงตามคําสั่งของผู้ว่าจ้าง หากในสัญญาไม่ได้กําหนดไว้ถึง อัตราค่าจ้าง หรือราคาใด ๆ ที่จะ นํามาใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงดังกล่าว ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างจะได้ตกลงกันที่จะกําหนดอัตรา ค่าจ้างหรือราคาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง รวมทั้งการขยายระยะเวลา (ถ้ามี) กันใหม่เพื่อความเหมาะสม ในกรณีที่ตกลง กันไม่ได้ ผู้ว่าจ้างจะกําหนดอัตราจ้างหรือราคาตามแต่ผู้ว่าจ้างจะเห็นว่าเหมาะสมและถูกต้อง ซึ่งผู้รับจ้างจะต้อง ปฏิบัติงานตามคําสั่งของผู้ว่าจ้างไปก่อนเพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่งานที่จ้าง

  • เงินค่าจ้างล่วงหน้า ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าให้แก่ผู้รับจ้างเป็นจํานวนเงิน - บาท ซึ่งเท่ากับร้อย ละ - ของราคาค่าจ้าง ตามสัญญาที่ระบุไว้ ในข้อ ๔ เงินค่าจ้างล่วงหน้าดังกล่าวจะจ่ายให้ภายหลังจากที่ผู้รับจ้างได้วางหลักประกันการรับเงิน ค่าจ้างล่วงหน้าเป็น....................เต็มตามจํานวนเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นให้แก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องออก ใบเสร็จรับเงินค่าจ้างล่วงหน้า ตามแบบที่ผู้ว่าจ้างกําหนดให้ และผู้รับจ้างตกลงที่จะกระทําตามเงื่อนไขอัน เกี่ยวกับการใช้จ่ายและการใช้คืนเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นดังต่อไปนี้ ๕.๑ ผู้รับจ้างจะใช้เงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานตามสัญญา เท่านั้นหากผู้รับจ้างใช้จ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้า หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นในทางอื่นผู้ ว่าจ้างอาจจะเรียกเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นคืนจากผู้รับจ้างหรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินค่าจ้าง ล่วงหน้าได้ทันที ๕.๒ เมื่อผู้ว่าจ้างเรียกร้อง ผู้รับจ้างต้องแสดงหลักฐานการใช้จ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าเพื่อ พิสูจน์ว่าได้เป็นไปตามข้อ ๕.๑ ภายในกําหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน นับถัดจากวันได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ ว่าจ้างหากผู้รับจ้างไม่อาจแสดงหลักฐานดังกล่าวภายในกําหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน ผู้ว่าจ้างอาจเรียกเงินค่าจ้าง ล่วงหน้านั้นคืนจากผู้รับจ้าง หรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินค่าจ้างล่วงหน้าได้ทันที ๕.๓ ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามข้อ ๔ ผู้ว่าจ้างจะหักเงินค่าจ้างในแต่ละงวด เพื่อชดใช้คืนเงินค่าจ้างล่วงหน้าไว้จํานวนร้อยละ - ของจํานวนเงินค่าจ้างในแต่ละงวดจนกว่าจํานวนเงินไว้จะ ครบตามจํานวนเงินที่หักค่าจ้างล่วงหน้าที่ผู้รับจ้างได้รับไปแล้ว ยกเว้นค่าจ้างงวดสุดท้ายจะหักไว้เป็นจํานวน เท่ากับจํานวนเงินค่าจ้างล่วงหน้าที่เหลือทั้งหมด ๕.๔ เงินจํานวนใด ๆ ก็ตามที่ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายให้แก่ผู้ว่าจ้างเพื่อชําระหนี้หรือเพื่อชดใช้ ความรับผิดต่างๆ ตามสัญญา ผู้ว่าจ้างจะหักเอาจากเงินค่าจ้างงวดที่จะจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างก่อนที่จะหักชดใช้คืน เงินค่าจ้างล่วงหน้า ๕.๕ ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หากเงินค่าจ้างล่วงหน้าที่เหลือเกินกว่าจํานวนเงินที่ผู้ รับจ้างจะได้รับหลังจากหักชดใช้ในกรณีอื่นแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายคืนเงินจํานวนที่เหลือนั้นให้แก่ผู้ว่าจ้าง ภายใน ๗ (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง ๕.๖ ผู้ว่าจ้างจะคืนหลักประกันการรับเงินค่าจ้างล่วงหน้าให้แก่ผู้รับจ้างต่อเมื่อผู้ว่าจ้างได้หัก เงินค่าจ้างไว้ครบจํานวนเงินค่าจ้างล่วงหน้าตามข้อ ๕.๓ (ข)