การลงทุนของกองทรัสต์ ข้อกำหนดตัวอย่าง

การลงทุนของกองทรัสต์. การลงทุนของกองทรัสต์ให้เป็ นไปตามหลก เกณฑ์ที่ก˚าหนดในประกาศ ทจ. 49/2555 ตลอดจนประกาศ และ ค˚าสงั่ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือสา˚ นกงาน ก.ล.ต. ประกาศก˚าหนดหรือจะแก้ไขเพิ่มเติมต่อไป นโยบายการลงทนมีดงั ตอไปนี ้ 8.1 นโยบายการลงทนและประเภททรัพย์สนหลกที่กองทรัสต์จะลงทนุ 8.1.1 การลงทนในทรัพย์สนหลกและอปกรณ์โดยทางตรง กองทรัสต์มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินหลกประเภทอสงั หาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่า อสงั หาริมทรัพย์ (รวมถึงสทธิการเช่าช่วงอสงั หาริมทรัพย์) และทรัพย์สินอนเป็ นสว่ นควบหรือ เครื่องอปกรณ์ของอสงั หาริมทรัพย์ดงั กลา่ ว ประเภททรัพย์สนที่กองทรัสต์จะลงทน ได้แก่ (1) อาคารคลงั สินค้า ศน ย์กระจายสินค้า อาคารโรงงาน ซึ่งพฒ นาขึน้ ตามความต้องการ ของลูกค้า (Built-to-Suit) ในทุกพืน ที่ รวมทัง (แต่ไม่จ˚ากัดเฉพาะ) พืน ที่ในนิคม อตสาหกรรม เขตประกอบการอตสาหกรรม หรือสวนอต สาหกรรมที่จด ตงั ้ ขึน เข้าลงทน นาโดยบริษัท เหมราชพฒ นาที่ดิน จ˚ากัด (มหาชน) และ/หรือบริษัทย่อย ของบริษัท เหมราชพฒนาที่ดิน จ˚ากด (มหาชน) (รวมเรียกวา “เหมราช”) (2) อาคารคลงั สินค้า ศูนย์กระจายสินค้า หรืออาคารโรงงาน แบบส˚าเร็จรูป (Ready-Built) ที่มิได้อย่ภายในเขตพืนทดี่ งั ตอไปนี (ก) นิคมอตสาหกรรม เขตประกอบการอตสาหกรรม หรือสวนอต สาหกรรมซึ่งจด ตงั ้ ขึน เข้าลงทุนและ/หรือพฒ อตสาหกรรม”) นาโดยเหมราช (พืน้ ที่ดงั กล่าวรวมเรียกว่า “พืน้ ที่ประกอบ (ข) พืนที่ที่พฒนาโดยเหมราชที่อยู่ ติดกบ พืน้ ที่ประกอบอต สาหกรรม หรือ ในกรณีที่ไม ที่ประกอบอุตสาหกรรม ได้ แก่ พืน ที่ใกล้เคียงหรืออยู่โดยรอบพืน ที่ ประกอบอุตสาหกรรม เพื่อรองรับหรือสนบ สนน ธุรกิจหรือการขยายตวั ของธุรกิจ Ready-Built ภายในพืนที่ประกอบอตสาหกรรมของเหมราช (ค) พืนที่นอกเหนือจาก (ก) และ
การลงทุนของกองทรัสต์. (1) นโยบายการลงทุนของกองทรัสต์ กองทรัสต์จะมุ่งเน้นการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเชา่ อสังหาริมทรัพย์ที่มีคุณภาพสูง เช่น ทรัพย์สินเพื่อการ พาณิชย์ ที่พักอาศัยให้เช่า อาคารพักอาศัยรวม โรงแรม และเซอร์วิสอะพาร์ตเมนต์ ศูนย์การค้า ร้านค้าปลีก ศูนย์ จําหน่ายสินค้าเฉพาะอย่าง ศูนย์กระจายสินค้าขนาดใหญ่ อาคารสํานักงาน เป็นต้น เพื่อเป็นทรัพย์สินหลักของ กองทรัสต์ และโดยมุ่งเน้นการจัดหาผลประโยชน์ในรูปของรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ หรือรายได้อื่นใดในทํานอง เดียวกัน โดยมุ่งหวังที่จะสร้างผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์อย่างต่อเนื่องในระยะยาว อีกทั้งกองทรัสต์มี จุดมุ่งหมายที่จะลงทุนในทรัพย์สินเพิ่มเติมเพื่อการเติบโตอย่างต่อเนื่องของฐานรายได้ของกองทรัสต์ รวมถึงการลงทุน ในทรัพย์สินอื่น และ/หรือ หลักทรัพย์อื่น และ/หรือ การหาดอกผลอื่นโดยวิธีอื่นใด ตามที่กฎหมายหลักทรัพย์ และ/หรือ กฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้องกําหนด (2) วิธีการได้มาซึ่งทรัพย์สินของกองทรัสต์ (ก) ในการได้มาซึ่งทรัพย์สินหลักและอุปกรณ์ กองทรัสต์อาจลงทุนโดยทางตรง หรือลงทุนโดยทางอ้อม การลงทุนโดยทางตรง การลงทุนในทรัพย์สินหลักซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. กองทรัสต์จะลงทุนในอสังหาริมทรัพย์เพื่อได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการได้มาซึ่งสทธิครอบครองต้องเป็นกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ 1.1 เป็นการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ที่มีการออก น.ส. 3 ก. 1.2 เป็นการได้มาซึ่งสิทธิการเช่าในอสังหาริมทรัพย์ที่มีการออกตราสารแสดงกรรมสิทธิ์หรือ สิทธิครอบครองประเภท น.ส. 3 ก. อนึ่ง ในกรณีที่กองทรัสต์ลงทุนในสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ที่มีลักษณะเป็นการเช่าช่วง ผู้จัดการกองทรัสต์จะต้องจัดให้มีมาตรการ ป้องกันความเสี่ยงหรือการเยียวยาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการผิดสัญญาเช่า หรือการไม่สามารถบังคับตามสิทธิในสัญญาเช่า 2. อสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาต้องไม่อยู่ในบังคับแห่งทรัพยสิทธิหรือมีข้อพิพาทใดๆ เว้นแต่ผู้จัดการ กองทรัสต์และทรัสตีได้พิจารณาโดยมีความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรว่า การอยู่ภายใต้บังคับแห่ง ทรัพยสิทธิหรือการมีข้อพิพาทนั้นไม่กระทบต่อการหาประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวอย่าง มีนัยสําคัญ และเงื่อนไขการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้นยังเป็นประโยชน์แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยรวม 3. การทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ต้องไม่มีข้อตกลงหรือข้อผูกพันใดๆ ที่อาจมีผลให้ กองทรัสต์ไม่สามารถจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ในราคายุติธรรม (ในขณะที่มีการจําหน่าย) เช่น ข้อตกลงที่ให้สิทธิแก่คู่สัญญาในการซื้ออสังหาริมทรัพย์ของกองทรัสต์ได้ก่อนบุคคลอื่น โดยมีการ กําหนดราคาไว้แน่นอนล่วงหน้า เป็นต้น หรืออาจมีผลให้กองทรัสต์มีหน้าที่มากกว่าหน้าที่ปกติที่ ผู้เช่าพึงมีเมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุดลง 4. อสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาต้องพร้อมจะนําไปจัดหาประโยชน์คิดเป็นมูลค่ารวมกันไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75 (เจ็ดสิบหา้ ) ของมูลค่าหน่วยทรัสต์ที่ขออนุญาตเสนอขายรวมทั้งจํ...
การลงทุนของกองทรัสต์. การลงทน ของกองทรัสต์ให้เป็นไปตามหลก เกณฑ์ที่ก˚าหนดในประกาศ ทจ. 49/2555 ตลอดจนประกาศ และ ค˚าสงั่ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือส˚านักงาน ก.ล.ต. ประกาศก˚าหนดหรือจะแก้ไขเพิ่มเติม ต่อไป นโยบายการลงทนมีดงต่อไปนี ้ 8.1. นโยบายการลงทนและประเภททรัพย์สินหลักที่กองทรัสต์จะลงทน
การลงทุนของกองทรัสต์. (1) นโยบายการลงทนของกองทรสต์ั กองทรัสต์จะมงุ่ เน้นการลงทน ในอสงั หาริมทรัพย์และสท ธิการเช่าอสงั หาริมทรัพย์ที'มีคณ ภาพสง เช่น ทรัพย์สน เพื'อการ พาณิชย์ ที'พักอาศย ให้เช่า อาคารพก อาศย รวม โรงแรม และเซอร์วิสอะพาร์ตเมนต์ ศูนย์การค้าร้ านค้าปลีก ศูนย์ จําหน่ายสินค้าเฉพาะอย่าง ศูนย์กระจายสินค้าขนาดใหญ่ อาคารสํานักงาน เป็ นต้น เพื'อเป็ นทรัพย์สินหลกของ กองทรัสต์ และโดยมุ่งเน้นการจัดหาผลประโยชน์ในรูปของรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ หรือรายได้อื'นใดในทํานอง เดียวกัน โดยมุ่งหวังที'จะสร้ างผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์อย่างต่อเนื'องในระยะยาว อีกทัง กองทรัสต์ม จดมงุ่ หมายที'จะลงทน ในทรัพย์สน เพิ'มเติมเพื'อการเติบโตอยา่ งตอ เนื'องของฐานรายได้ของกองทรัสต์รวมถึงการลงทน ในทรัพย์สินอื'นและ/หรือหลก ทรัพย์อื'นและ/หรือการหาดอกผลอื'นโดยวิธีอื'นใด ตามที'กฎหมายหลก ทรัพย์และ/หรือ กฎหมายอื'นใดที'เกี'ยวข้องกําหนด (2) วิธีการได้มาซงึ' ทรัพย์สนของกองทรสต์ั (ก) ในการได้มาซงึ' ทรัพย์สน หลก และอป กรณ์กองทรัสต์อาจลงทน โดยทางตรง หรือลงทน โดยทางอ้อม ในทรัพย์สน หลก ซงึ' เป็ นไปตามหลก เกณฑ์ดงั ตอ ไปนี 1. กองทรัสต์จะลงทน ในอสงั หาริมทรัพย์เพื'อได้มาซงึ' กรรมสท ธjิหรือสท ธิครอบครอง ทงั นี ในกรณีที'เป็ นการได้มาซงึ' สท ธิครอบครองต้องเป็ นกรณีใดกรณีหนงึ' ดงั ตอ ไปนี 1.1 เป็ นการได้มาซงึ' อสงั หาริมทรัพย์ที'มีการออก น.ส. 3 ก. 1.2 เป็ นการได้มาซงึ' สทธิการเช่าในอสงั หาริมทรัพย์ที'มีการออกตราสารแสดงกรรมสิทธิjหรือ สิทธิครอบครองประเภท น.ส. 3 ก.อนึ'ง ในกรณีที'กองทรัสต์ลงทุนในสิทธิการเช่า ษณะเป็ นการเช่าช่วง ผ้จด การกองทรัสต์จะต้องจด ให้มีมาตรการ ป้ องกันความเสี'ยงหรือการเยียวยาความเสียหายที'อาจเกิดขึน จากการผิดสญญาเช่า ามารถบงั คบ ตามสท ธิในสญ ญาเช่า 2. อสงั หาริมทรัพย์ที'ได้มาต้องไม่อยู่ในบงั คับแห่งทรัพยสิทธิหรือมีข้อพิพาทใดๆ เว้นแต่ผู้จัดการ กองทรัสต์และทรัสตีได้พิจารณาโดยมีความเห็นเป็ นลายลก ษณ์อก ษรวา การอยภ่ ายใต้บงั คบ แห่ง ธิหรือการมีข้อพิพาทนนั ไมก ระทบตอ การหาประโยชน์จากอสงั หาริมทรัพย์ดงั กลา่ วอย่าง มีนัยสําคัญ และเงื'อนไขการได้มาซึ'งอสงั หาริมทรัพย์นัน โดยรวม ยังเป็ นประโยชน์แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์
การลงทุนของกองทรัสต์. การลงทุนของกองทรัสต์ให้เป็นไปตามหลก เกณฑ์ที่ก˚าหนดในประกาศ ทจ. 49/2555 ตลอดจนประกาศ และ ค˚าสงั่ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือส˚านกงาน ก.ล.ต. ประกาศก˚าหนดหรือจะแก้ไขเพิ่มเติมต่อไป นโยบายการลงทนมีดงั ตอไปนี ้ 8.1 นโยบายการลงทนและประเภททรัพย์สนหลกที่กองทรัสต์จะลงทนุ 8.1.1 การลงทนในทรัพย์สนหลกและอปกรณ์โดยทางตรง กองทรัสต์มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินหลกประเภทอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่า อสงั หาริมทรัพย์ (รวมถึงสิทธิการเช่าช่วงอสงั หาริมทรัพย์) และทรัพย์สนอนเป็นสว่ นควบหรือ เครื่องอปกรณ์ของอสงั หาริมทรัพย์ดงั กลา่ ว ประเภททรัพย์สนที่กองทรัสต์จะลงทน ได้แก่ (1) อาคารคลงั สินค้า ศน ย์กระจายสินค้า อาคารโรงงาน ซึ่งพฒ นาขึน้ ตามความต้องการ ของลูกค้ า (Built-to-Suit) ในทุกพืน ที่ รวมทัง (แต่ไม่จ˚ากัดเฉพาะ) พืน ที่ในนิคม อตสาหกรรม เขตประกอบการอต สาหกรรม หรือสวนอตสาหกรรมที่จดตงั ้ ขนึ เข้าลงทน และ/หรือพฒนาโดยบริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จ˚ากัด (มหาชน) หรือบริษัทย่อยของ บริษัท เหมราชพฒนาที่ดิน จ˚ากด (มหาชน) (รวมเรียกวา “เหมราช”) (2) อาคารคลงั สินค้า ศนย์กระจายสินค้า หรืออาคารโรงงาน แบบส˚าเร็จรูป (Ready-Built) ที่มิได้อย่ภายในเขตพืนทดี่ งั ตอไปนี (ก) นิคมอตสาหกรรม เขตประกอบการอตสาหกรรม หรือสวนอตสาหกรรมซึ่งจดตงั ้ ขึน เข้าลงทุนและ/หรือพฒ อตสาหกรรม”) นาโดยเหมราช (พืน้ ที่ดงั กล่าวรวมเรียกว่า “พืน้ ที่ประกอบ (ข) พืน้ ที่ที่พฒ ติดกับพืน (ค) พืนที่นอกเหนือจาก (ก) และ

Related to การลงทุนของกองทรัสต์

  • Quality Safety ระบบมาตรฐานทเกี่ยวข้อง Health Environment

  • การชําระเงิน (13 ก) ผู้ซ้ือตกลงชําระเงินค่าสิ่งของตามข้อ ๑ ให้แก่ผู้ขาย เมื่อผู้ซื้อได้รับมอบสิ่งของ ตามข้อ ๕ ไว้โดยครบถ้วนแล้ว (13 ข) ผู้ซื้อตกลงชําระเงินค่าส่ิงของตามข้อ ๑ ใหแก่ผู้ขาย ดังน้ี ๖.๑ เงินล่วงหน้า จํานวน……....................บาท (… ) จะจ่ายให้ภายใน…….…............(…….........……….) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ทั้งน้ี โดยผู้ขายจะต้องนํา หลักประกันเงินล่วงหน้าเป็น (หนังสือคํ้าประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ของ ธนาคารภายในประเทศหรือพ ธบัตรรัฐบาลไทย)… เต็มตามจํานวนเงินล่วงหน้าท่ีจะได้รับ มามอบ ให้แก่ผู้ซื้อเป็นหลักประกันการชําระคืนเงินล่วงหน้าก่อนการรับชําระเงินล่วงหน้าน้ัน และผู้ซื้อจะคืน หลกประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ผ ายเม่ ผู้ซื้อจ่ายเง ที่เหลือตามข

  • การทําสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทำสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุ ในข้อ ๑.๓ หรือทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับ แจ้ง และจะต้องวางหลักประกันสัญญาเป็นจำนวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ยึดถือไว้ในขณะทำสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ๖.๒ เงินสด เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือ ดราฟท์นั้น ชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันทำสัญญา หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ ๖.๓ หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ นโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ๖.๔ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ ไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการ ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ ๓.๑ ส่วนที่ ๑ อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นนิติบุคคล (ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (ข) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) และบัญชีผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (๒) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ให้ยื่น สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้นั้น สําเนาข้อตกลงที่แสดงถึงการเข้าเป็นหุ้นส่วน (ถ้ามี) สําเนาบัตรประจําตัว ประชาชนของผู้เป็นหุ้นส่วน หรือสําเนาหนังสือเดินทางของผู้เป็นหุ้นส่วนที่มิได้ถือสัญชาติไทย พร้อมทั้งรับรองสําเนา ถูกต้อง (๓) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นผู้ยื่นข้อเสนอร่วมกันในฐานะเป็นผู้ร่วมค้า ให้ยื่นสําเนา สัญญาของการเข้าร่วมค้า และเอกสารตามที่ระบุไว้ใน (๑) หรือ (๒) ของผู้ร่วมค้า แล้วแต่กรณี (๔.๒) สําเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) (๕) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ทั้งหมดที่ได้ยื่นพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัด จ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบในข้อ ๑.๗ (๑) โดยไม่ต้องแนบในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ทั้งนี้ เมื่อผู้ยื่นข้อเสนอดําเนินการแนบไฟล์เอกสารตามบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ครบถ้วน ถูกต้องแล้ว ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์จะสร้างบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ตามแบบใน ข้อ ๑.๗ (๑) ให้โดยผู้ยื่นข้อเสนอไม่ต้องแนบบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ดังกล่าวในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

  • การทําสัญญาจ้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญา โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ๖.๑ เงินสด ๖.๒ เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นเช็คลงวันที่ที่ ทําสัญญา หรือก่อนหน้านั้น ไม่เกิน ๓ วัน ทําการของทางราชการ ๖.๓ หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบหนังสือค้ําประกัน ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด ๖.๔ หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกัน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตาม รายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้ําประกันของ ธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • ความรับผิดของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใด ๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้าง และจะต้องรับผิดต่อความเสียหายจากการกระทําของลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง และจากการ ปฏิบัติงานของผู้รับจ้างช่วงด้วย (ถ้ามี) ความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่งานที่ผู้รับจ้างได้ทําขึ้น แม้จะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผู้รับ จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยซ่อมแซมให้คืนดีหรือเปลี่ยนให้ใหม่โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง เว้นแต่ความเสียหายนั้น เกิดจากความผิดของผู้ว่าจ้าง ทั้งนี้ ความรับผิดของผู้รับจ้างดังกล่าวในข้อนี้จะสิ้นสุดลง เมื่อผู้ว่าจ้างได้รับมอบงาน ครั้งสุดท้าย ซึ่งหลังจากนั้นผู้รับจ้างคงต้องรับผิดเพียงในกรณีชํารุดบกพร่อง หรือความเสียหายดังกล่าวในข้อ 8 เท่านั้น ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในความเสียหายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงานของผู้ รับจ้าง หรือลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง รวมถึงผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ตามสัญญานี้ หากผู้ว่าจ้างถูกเรียกร้องหรือ ฟ้องร้องหรือต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกไปแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการใด ๆ เพื่อให้มีการว่าต่างแก้ต่าง ให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง รวมทั้งผู้รับจ้างจะต้องชดใช้ค่าเสียหายนั้น ๆ ตลอดจนค่าใช้จ่ายใด ๆ อันเกิดจากการถูกเรียกร้องหรือถูกฟ้องร้องให้แก่ผู้ว่าจ้างทันที

  • การบอกเลิกสัญญา ถ้าผู้ขายไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อใดข้อหนึ่ง หรือเมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว หาก ผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบจำนวน ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือ แต่บางส่วนได้ การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญานั้นไม่กระทบสิทธิของผู้ซื้อที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ขาย ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธบิ อกเลิกสัญญา ผู้ซื้อมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกัน ตาม (ข้อ ๖ และ) ข้อ ๘ เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวน หรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่ง แล้วแต่กรณี ภายในกำหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน นบั ถัดจากวันบอกเลิกสัญญา ผู้ขายจะต้องชดใช้ราคา ที่เพิ่มขึ้นจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย

  • ลําดบั งานจดั ซือÊ จดั จ้าง วงเงนิ งบประมาณ (ราคา กลาง) วธิ ีซือÊ /จ้าง ผู้เสนอราคาและราคา ท'ีเสนอ ผู้ได้รับคัดเลือกและราคา เหตุผลท'ี คัดเลือก โดยสรุป เลขท'ีและวนั ท'ีของสัญญา หรือข้อตกลงในการจดั ซอืÊ จดั จ้าง

  • การจ้างช่วง ผู้รับจ้างจะต้องไม่เอางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งสัญญานี้ไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง เว้นแต่การจ้างช่วงงาน แต่บางส่วนที่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างแล้ว การที่ผู้ว่าจ้างได้อนุญาตให้จ้างช่วงงานแต่บางส่วนดังกล่าวนั้น ไม่เป็นเหตุให้ ผู้รับจ้างหลุดพ้นจาก ความรับผิดหรือพันธะหน้าที่ตามสัญญานี้ และผู้รับจ้างจะยังคงต้องรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเล่อ ของผู้รับจ้างช่วง หรือของตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้รับจ้างช่วงนั้นทุกประการ กรณีผู้รับจ้างไปจ้างช่วงงานแต่บางส่วนโดยฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็น จำนวนเงินในอัตราร้อยละ ๑๐ (สิบ) ของวงเงินของงานที่จ้างช่วงตามสัญญา ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิผู้ว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา

  • การตรวจงานจ้าง ถ้าผู้ว่าจ้างแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อควบคุมการทำงานของผู้ รับจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานนั้ มีอำนาจเข้าไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที่ก่อสร้างได้ ทุกเวลา และผู้รับจ้างจะต้องอำนวยความสะดวกและให้ความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทำให้ผู้รับจ้างพน้ ความรับผิดชอบ ตามสัญญานี้ข้อใดข้อหนึ่งไม่