แบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement :PA) จัดทำขึ้นเพื่อ นำเสนอข้อตกลงในการพัฒนางาน สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ประจำปีงบประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 แบบบันทึก ข้อตกลงฉบับนี้...
คำนำ
แบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement :PA) จัดทำขึ้นเพื่อ นำเสนอข้อตกลงในการพัฒนางาน สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ประจำปีงบประมาณ 2565 ระหว่างxxxxxx 1 xxxxxx 2564 – 30 กันยายน 2565 แบบบันทึก ข้อตกลงฉบับนี้ นำเสนอต่อผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลลาดยาว เพื่อเป็นข้อตกลงในการพัฒนา ตนเอง ประกอบไปด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู โดยระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติใน
แต่ละด้าน
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาxxxxxxxxxxการ เรียนรู้ของผู้เรียน
ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลลาดยาว ที่xxxxxxxxxxxxxให้คำปรึกษา แนะนำ ในการจัดทำบันทึกข้อตลงในการพัฒนางาน (PA) ฉบับนี้ ข้าพเจ้าจะนำข้อตกลงไปพัฒนาผู้เรียน และ พัฒนาตนเอง ให้บรรจุตามเป้าหมายxxxxxxตั้งไว้
xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx ตำแหน่งครู
สารบัญ
รายการ หน้า
ข้อมูลผู้จัดทำข้อตกลง 1
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ 1
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาระงาน 1
งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู
ด้านการจัดการเรียนรู้ 2
ด้านการxxxxxxxxสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 6
ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 8
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ประเด็นท้าทาย 10
สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ 10
วิธีการxxxxxxการให้xxxxxผล 11
ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดxxxx 11
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา 12
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ)
โรงเรียนอนุบาลลาดยาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างxxxxxx 1 เดือน xxxxxx พ.ศ. 2564 ถึงxxxxxx 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565
ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาวxxxxxxx นามสกุล xxxxxxxxxx ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลลาดยาว สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์
เขต 2
รับเงินเดือนในอันดับ คศ.1 อัตราเงินเดือน 18,370 บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (xxxxxxระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียนตามxxxxxxxจัดการ
เรียนรู้จริง)
🗹 ห้องเรียนxxxxxxxxxxxxxxxxxพื้นฐาน
🞎 ห้องเรียนxxxxxx
🞎 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
🞎 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
🞎 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่ง เป็นตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
- วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
- วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
- วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
- วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/4 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
- วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานxxxxxxxxและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- PLC จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานฝ่ายบริหารงานวิชาการ (งานห้องสมุด) จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบxxxxนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- โครงงานคุณธรรมของสถานศึกษา จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน ว่าจะxxxxxxการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการxxxxxxการด้วยก็ได้)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.1 สร้างและหรือ พัฒนาหลักสูตรโดย จัดทำรายวิชาและ หน่วยการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็ม ศักยภาพ | 1.1.1 จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนอนุบาลลาดยาว ให้ สอดคล้องกับหลักสูตรxxxxxxx การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) เพื่อ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 1.1.2 จัดทำการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ให้ สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนอนุบาลลาดยาว เพื่อ นำไปใช้ในการจัดการเรียนการ สอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 1.1.3 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่ หน่วยการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับ หลักสูตรสถานศึกษา สาระการ เรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนอนุบาล ลาดยาว เพื่อนำไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 | 1.1.1 ผู้เรียนได้เรียนรู้ ตาม หลักสูตรสถานศึกษา สาระ การเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียน อนุบาลลาดยาว ตามนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ 1.1.2 ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตรงตามสมรรถนะในหลักสูตร แต่ละชั้นปี 1.1.3 ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม คำอธิบายรายวิชา ในหลักสูตร สถานศึกษาสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย โรงเรียนอนุบาล ลาดยาว ในแต่ละชั้นปี | 1.1.1 ร้อยละ 80ของ ผู้เรียน ได้เรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนอนุบาลลาดยาว 1.1.2 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม มาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดตรงตามหลักสูตร สถานศึกษา สาระการ เรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียน อนุบาลลาดยาว 1.1.3 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม คำอธิบายรายวิชาตาม หลักสูตรสถานศึกษาสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนอนุบาลลาดยาว ในแต่ละชั้นปี |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.2 ปฏิบัติการสอน โดยออกแบบ การจัดการเรียนรู้โดย เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึง xxxxxxx และ สมรรถนะตาม หลักสูตร | 1.2.1 จัดทำโครงสร้างรายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนา สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา 1.2.2 จัดทำหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนา ทักษะทางภาษาของผู้เรียน (ทักษะ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน) | 1.2.1 ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เน้น พัฒนาทักษะทางภาษาของ ผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 1.2.2 ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม หน่วยการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตรงตามกระบวนการพัฒนา ทักษะทางภาษาและศักยภาพ ในช่วงวัยของผู้เรียน | 1.2.1 ร้อยละ80ของ ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม โครงสร้างรายวิชา ที่เน้น พัฒนาทักษะทางภาษา ของผู้เรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา 1.2.2 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนมีความรู้ตามหน่วย การเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ |
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.3 จัดกิจกรรม การเรียนรู้ อํานวย ความสะดวกใน การเรียนรู้ และ xxxxxxxxผู้เรียน ได้ พัฒนาเต็มศักยภาพ ได้เรียนรู้และทำงาน ร่วมกัน | 1.3.1 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาไทย (Active Learning) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อนำไปใช้ใน การพัฒนาทักษะทางภาษาของ ผู้เรียน 1.3.2 ปรับประยุกต์รูปแบบการ เรียนรู้ วิธีสอน และเทคนิคการสอน ในแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อนำไปใช้ ในการพัฒนาทักษะทางภาษาของ ผู้เรียน | 1.3.1 ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษา ไทย (Active Learning) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ตรงตาม กระบวนการพัฒนาทักษะทาง ภาษา 1.3.2 ผู้เรียน ได้เรียนรู้ รูปแบบ การเรียนรู้ online ด้วย โปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS) ผ่านระบบ YouTube ในแผนการจัด การเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อพัฒนา ทักษะทางภาษาของผู้เรียน | 1.3.1 ร้อยละ80 ของ ผู้เรียนได้รับการจัดการ เรียนการสอนแบบ Active Learning 1.3.2 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนมีxxxxxxxxxx ทางการเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทยสูง กว่าที่โรงเรียนกำหนด |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.4 สร้างและหรือ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้ที่สอดคล้องกับ กิจกรรมการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนมีทักษะการคิด และการสร้าง นวัตกรรมได้ | 1.4.1 ปรับประยุกต์สื่อการเรียนรู้ จัดทำสื่อที่xxxxxxxxพัฒนาผู้เรียนโดย ใช้เทคโนโลยี xxxx บทเรียนจาก โปรแกรม PowerPoint พัฒนา แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นฐาน เพื่อนำไปใช้ใน การพัฒนาทักษะทางภาษาของ ผู้เรียน | 1.4.1 ผู้เรียน มีทักษะการคิด และxxxxxxสร้างนวัตกรรมได้ (ใบงาน ผลงานนักเรียน) | 1.4.1 ผู้เรียนร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์การประเมินผล การเรียนรู้โดยปรับ ประยุกต์ให้สอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้เรียน 1.4.2 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียน มีxxxxxxxxxx ทางการเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย สูง กว่าที่โรงเรียนกำหนด |
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.5 วัดและ ประเมินผลการ เรียนรู้ ด้วยวิธีการที่ หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง | 1.5.1 จัดทำแบบวัดและ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับแผนการจัดการ เรียนรู้ ดังนี้ - แบบทดสอบ On hand - แบบทดสอบ Online - แบบฝึกหัดและใบงานตาม แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 | 1.5.1 ผู้เรียน ได้รับการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ หลากหลายครอบคลุมทักษะ ทางภาษาทั้ง 4 ด้าน | 1.5.1 ร ้ อยละ 80 ของ ผู้เรียน ได้รับการวัดและ ประเมินผลด้วยเครื่องมือ ที่สร้างขึ้นอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ 1.5.2 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียน มีxxxxxxxxxx ทางการเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย สูง กว่าที่โรงเรียนกำหนด |
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.6 ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และหรือ วิจัยเพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ | 1.6.1 จัดทำรายงานวิจัยในชั้น เรียน แบบฝึกเสริมทักษะทาง ภาษาวิชาภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 | 1.6.1 ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ตามกระบวนการวิจัยและพัฒนา ที่ครูผู้xxxxxมาใช้ในการแก้ไข ปัญหาการพัฒนาทักษะทาง | 1.6.1 ผู้เรียน กลุ่มเป้าหมาย มีทักษะ ทางภาษา รายวิชา |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
ที่ส่งผลต่อคุณภาพ ผู้เรียน | ปีการศึกษา 2564 จากการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ บันทึกการ เข้าเรียน Online และบันทึก สรุปผลการส่งงานของผู้เรียน เพื่อ สะท้อนปัญหาและxxxxxxxxxxเกิด จากการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน Online รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และนำไปสู่ กระบวนการแก้ปัญหาด้วยการ วิจัยและพัฒนา | ภาษา ของผู้เรียนรายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 | ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 สูงขึ้น |
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.7 จัดบรรยากาศที่ xxxxxxxxและพัฒนา ผู้เรียนให้เกิด กระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะ การทำงาน ทักษะ การเรียนรู้และ นวัตกรรม ทักษะ ด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี | 1.7.1 ปรับประยุกต์วัสดุ อุปกรณ์ ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน Online ดังนี้ - สัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง - คอมพิวเตอร์ - ไมโครโฟน - กล้องถ่ายทอดสด - กล้อง Top view - ชุดไฟ LED โดยจัดบรรยากาศในการ ถ่ายทอดสดการเรียนการสอน Online รายวิชาภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ตามตาราง เรียน Online ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 ให้มี ประสิทธิภาพ (สัญญาณดี ภาพ คมชัด เสียงชัดเจน) 1.7.2 ทำการจัดบรรยากาศที่ xxxxxxxxและพัฒนาผู้เรียนให้เกิด | 1.7.1 ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการ จัดบรรยากาศห้องเรียน Online เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและ xxxxxxโต้ตอบกับครูผู้สอนได้ ตลอดระยะเวลาการเรียน ส่งผล ให้ผู้เรียนxxxxxxxxxใน การ เรียนรู้ | 1.7.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียน ได้เข้าเรียนในการ เรียนการสอน Onlineทั้ง ในขณะเวลาถ่ายทอดสด และดูย้อนหลัง มีความพึง xxxxในการจัดบรรยากาศ ห้องเรียน Online |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
กระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน และทักษะการ เรียนรู้ โดย จัดบรรยากาศในชั้น เรียนให้สะอาดน่าอยู่ น่าเรียน เสมือนบ้าน มีมุมความรู้ มุมรัก การอ่าน มุมนำเสนอผลงาน และ มุมสื่อการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ ต่อผู้เรียน | 1.7.2 ร ้อยละ 80 ของ ผู้เรียนมีความพึงxxxxxxx ได้เรียนรู้ในชั้นเรียนที่มี บรรยากาศ สะอาด น่า อยู่ น่าเรียน เสมือนบ้าน มีมุมความรู้ มุมรักการ อ่าน มุมนำเสนอผลงาน และมุมสื่อการเรียนรู้ที่ เป็นประโยชน์ | ||
xxxxxxx 1 ด้านการจัด การเรียนการสอน 1.8 การอบรมพัฒนา คุณลักษณะxxxxxของ ผู้เรียน | 1.8.1 จัดกิจกรรมแนะแนว xxxxxxxx อบรมผู้เรียน ให้เป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อันพึงxxxxxxx และค่าxxxxความ เป็นไทยxxxxxงาม เป็นประจำทุกวัน ก่อนเรียน | 1.8.1 ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอัน พึงxxxxxxx และค่าxxxxความ เป็นไทยxxxxxงาม | 1.8.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอัน พึงxxxxxxx และค่าxxxx ความเป็นไทย |
xxxxxxx 2 การ xxxxxxxxและ สนับสนุนการเรียนรู้ 2.1 จัดข้อทำมูล สารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการxxxxxxxx สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียน | 2.1.1 จัดทำแบบรายงานข้อมูล สารสนเทศ เอกสารประจำชั้นและ ของผู้เรียนรายวิชาภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อใช้ในการ xxxxxxxxสนับสนุนการเรียนรู้ใน รายวิชา แก้ไขปัญหา และพัฒนา คุณภาพผู้เรียน | 2.1.1 ผู้เรียน ได้รับการกำกับ ติดตามจากครูผู้สอนจากแบบ รายงานข้อมูลสารสนเทศ | 2.1.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้รับการกำกับ ติดตามจากครูประจำชั้น และครูผู้สอน |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
xxxxxxx 2 การ xxxxxxxxและ สนับสนุนการเรียนรู้ 2.2 xxxxxxการตาม ระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียนโดยใช้ข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับ ผู้เรียนรายบุคคล และxxxxxxความ ร่วมมือกับผู้มีส่วน เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน | 2.2.1 จัดทำแบบรายงานข้อมูล กรณีศึกษารายบุคคลด้วย มีระบบ Application line ประจำห้อง ห้องเรียนเพื่อใช้ในการxxxxxx ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้กับระบบดูแล ช่วยเหลือในประเด็นปัญหาต่างๆ ทั้งการเรียน ครอบครัวและการ xxxxxxชีวิต | 2.2.1 ผู้เรียน ได้รับการกำกับ ติดตามจากครูผู้สอนจากแบบ รายงานข้อมูลกรณีศึกษา รายบุคคล ด้วย ระบบ Application line ประจำห้อง ห้องเรียน ตามระบบดูแล ช่วยเหลือนผู้เรียน | 2.2.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้รับการกำกับ ติดตาม ระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน |
xxxxxxx 2 การ xxxxxxxxและ สนับสนุนการเรียนรู้ 2.3 ร่วมปฏิบัติงาน ทางวิชาการ และงาน อื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษาของ สถานศึกษา | 2.3.1 ปฏิบัติงานตามคำสั่ง ของ ผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับงานวิชาการ และงานอื่นๆของสถานศึกษา | 2.3.1 ผู้เรียน ได้รับการพัฒนา ทักษะด้านวิชาการและงาน บริการอื่นๆของสถานศึกษา | 2.3.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทักษะทางวิชาการและ งานบริการอื่นๆของ สถานศึกษา |
xxxxxxx 2 การ xxxxxxxxและ สนับสนุนการเรียนรู้ 2.4 xxxxxxความ ร่วม มือกับภาคี เครือข่าย และหรือ สถานประกอบการ เพื่อร่วมพัฒนาผู้เรียน | 2.4.1 ปฏิบัติงานxxxxxxรับ มอบหมายในการxxxxxxความ ร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและ ผู้xxxxxxด้วยการประชุม เครือข่ายผู้xxxxxxห้องเรียน | 2.4.1 ผู้เรียนได้รับการดูแลให้ คำแนะนำจากการxxxxxx ความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษาและผู้xxxxxxผ่าน เครือข่ายผู้xxxxxxห้องเรียน | 2.4.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้รับคำปรึกษา แนะนำ จากการxxxxxx ความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษาและผู้xxxxxx |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
2.4.2 ปฏิบัติงานxxxxxxรับ มอบหมายการเป็นภาคีเครือข่าย กับหน่วยงานภายนอก xxxx หน่วยงานสาธารณสุขและ โรงพยาบาลลาดยาว เกี่ยวกับ มาตรการดูแล ป้องกันโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา ด้วยมาตรการ ดังนี้ - การให้ความรู้แก่คณะครูเกี่ยวกับ มาตรการป้องกันโรคติดต่อเชื้อ ไวรัสโคโรนาและเตรียมแผนxxxxx เหตุ - การให้บริการฉีดวัคซีนแก่คณะ ครูและผู้เรียนที่มีอายุครบ 12 ปี - การให้บริการตรวจหาเชื้อไวรัส โคโรนา(ATK)แก่คณะครูครบร้อย ละ 100 และผู้เรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีความ xxxxxxxจะxxxxxxx Onsite | 2.4.2 ผู้เรียนได้รับการดูแลให้ คำปรึกษา แนะนำจากการ xxxxxxความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากับหน่วยงาน สาธารณสุขอำเภอลาดยาว และ โรงพยาบาลลาดยาว เพื่อให้ ผู้เรียนมีมาตรการรักษาความ ปลอดภัยในการดูแลตนเองต่อ การป้องกันโรคไวรัสโคโรนา | 2.4.2 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียน ได้รับคำปรึกษา แนะนำ จากการxxxxxx ความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษา กับ สาธารณสุขอำเภอ ลาดยาว และโรงพยาบาลลาดยาว | |
xxxxxxx 3. ด้านการ พัฒนาตนเองและ พัฒนาวิชาชีพ 3.1 พัฒนาตนเอง อย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง เพื่อให้มี ความรู้ ความxxxxxx ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ | 3.1.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง การศึกษาหา ความรู้และเข้ารับการอบรม จาก ทั้งหน่วยงานภายใน กระทรวงศึกษาธิการและ หน่วยงานภายนอก | 3.1.1 ผู้เรียนได้รับการพัฒนา จากครูผู้สอนที่ผ่านการศึกษาหา ความรู้และการอบรมจากทั้ง หน่วยงานภายใน กระทรวงศึกษาธิการและ หน่วยงานภายนอก | 3.1.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทักษะวิชาการและงาน บริการอื่นๆของ สถานศึกษา |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดง ให้เห็นxxxxxx เปลยนแปลงไป ในทางxxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลxxxxxxx สูงขึ้น (โปรดระบุ) |
การศึกษา สมรรถนะ วิชาชีพครู ความรอบ รู้ในเนื้อหาและวิชาที่ สอน | |||
xxxxxxx 3. ด้าน การพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ 3.2 มีส่วนร่วมและ เป็นผู้นําในการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ทาง วิชาชีพเพื่อ พัฒนาการจัดการ เรียนรู้ | 3.2.1 จัดทำแบบบันทึกการเข้า ร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) สายชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ในกลุ่ม มาพัฒนากระบวนการ จัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 | 3.2.1 ผู้เรียน ได้รับการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนจาก การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ของผู้เรียน | 3.2.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทักษะทางวิชาการและ งานบริการอื่นๆของ สถานศึกษา |
xxxxxxx 3. ด้าน การพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ 3.3 นําความรู้ ความxxxxxxและ ทักษะxxxxxxจากการ พัฒนาตนเองและ วิชาชีพมาใช้ในการ พัฒนาการจัดการ เรียนรู้ พัฒนา คุณภาพผู้เรียน รวมxxxxxxพัฒนา นวัตกรรมการจัดการ เรียนรู้ | 3.3.1 จัดทำแบบรายงานผลการ เข้าร่วมการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพในการนำความรู้xxxxxxรับ จากการอบรมในด้านต่างๆมา นำเสนอ อภิปราย และคิด วิเคราะห์ในการนำความรู้xxxxxxรับ มาพัฒนาวิชาการและงานอื่นๆ ของสถานศึกษา | 3.3.1 ผู้เรียนได้รับการพัฒนา คุณภาพด้านวิชาการและงาน บริการอื่นๆจากการที่ครูนำองค์ ความรู้xxxxxxรับการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา งานวิชาการและงานบริการอื่นๆ | 3.3.1 ร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทักษะทางวิชาการและ งานบริการอื่นๆของ สถานศึกษา |
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นxxxxxxxxxในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดxxxx คือ การปรับประยุกต์ การ จัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทางxxxxxขึ้นหรือมีการ พัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นxxxxxxxxxจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดxxxxxxxสูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกการอ่าน การ xxxxxxxxxxxxxxและคำควบกล้ำ สำหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
การอ่านและการเขียนเป็นทักษะที่มีความสำคัญในชีวิตประจำวัน เพราะเมื่ออ่านออกเขียน xxxxxจะเกิดความรู้ความเข้าใจ นำไปสู่การสร้างความคิด การตัดสินใจแก้ปัญหา และก้าวทันต่อเหตุการณ์ของ โลกในยุคปัจจุบัน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลลาดยาว ปัญหาที่พบ คือ การใช้ภาษาของผู้เรียนมีข้อบกพร่องหลายประการ ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน แต่ที่เป็นปัญหามากคือปัญหาการเขียน โดยเฉพาะxxxxxxxxควบกล้ำ ผู้เรียนอ่านxxxxx ควบกล้ำไม่xxxxxx xxxx อ่านxxxxxควบ ร โดยไม่ออกเสียงควบxxxx xxxx แปรง ออกเสียงเป็น แปง ปราบ ออกเสียง เป็น ปาบ ครู ออกเสียงเป็น คู อ่านxxxxxควบ ล ไม่ออกเสียง ล xxxx xxxx กลาง ออกเสียงเป็น กาง ปลอด ออกเสียง เป็น ปอด เนื่องมาจากผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะด้านการอ่านการเขียน ทักษะเกี่ยวกับหลักภาษาและการใช้ ภาษา ผู้เรียนมีความสับสนทางด้านภาษาไทยเพราะxxxxxxxของการใช้ภาษาถิ่นในชีวิตประจำวัน ความxxxxxxกับ การพูดของคนในชุมชน และครอบครัวของผู้เรียนที่ใช้ภาษาในxxxxxxxxของตนในการสื่อสารกันทำให้ออกเสียงคำควบ กล้ำไม่ชัดเจน ซึ่งมีผลทำให้การเขียนสะกดคำควบกล้ำไม่ถูกต้องตามไปด้วย เมื่อการอ่านการเขียนไม่ถูกต้องก็มี ผลทำให้การสื่อสารผิดเพี้ยนตามไปด้วย xxxxxxxxxxเป็นปัญหาและxxxxxxxxxxสำคัญอย่างยิ่งในการที่จะเรียนรู้ในกลุ่ม สาระอื่น ๆ ต่อไป การฝึกทักษะภาษาไทยต้องอาศัยองค์ประกอบหลายๆอย่าง xxxx การฝึกย้ำซ้ำทวน ฝึกxxxxx xxxจะทำให้ผู้เรียนจำได้ ฟังเข้าใจ พูด อ่านและเขียนได้ถูกต้อง วิธีที่จะฝึกทักษะทางภาษาให้ได้ผลดีอีกวิธีหนึ่ง คือได้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและทักษะxxxxxขึ้น การสอนภาษาไทยที่ครูใช้อยู่ใน ปัจจุบันเป็นการสอนแบบบรรยายผู้เรียนอ่านตามครู เขียนตามครูยึดเนื้อหาในหนังสือเรียนเป็นหลัก ไม่มีสิ่ง เร้าใจ ใช้เทคนิคเดิม ๆ ผู้เรียนเบื่อหน่ายไม่สนใจการเรียน ดังนั้น จากการศึกษาค้นคว้าผู้ศึกษาพบว่า การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกทักษะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในบทเรียนxxxxxขึ้นเพราะแบบ ฝึกทักษะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการสอนภาษา แบบฝึกทักษะจะทำให้เด็กเกิดความxxxxxx xxxxxxxxxxใน
แต่ละทักษะ xxxxxxใช้ภาษาสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธภาพ มีความคิดและเหตุผล และยังxxxxxxเร้าความ
สนใจของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีและสร้างความสนุกสนานโดยไม่เกิดความเบื่อหน่ายในการฝึกซ้ำ ดังนั้นการสอน ภาษาไทยให้ผู้เรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาไทยได้อย่างxxxxxxxxxx รวดเร็วและถูกต้อง เครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งที่ใช้ฝึกทักษะทางภาษา คือ แบบฝึก ดังที่กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่าการสอน ภาษาไทยให้สนุกต้องให้ผู้เรียนได้ทำแบบฝึกหัดให้มากที่สุด ในแบบฝึกหัดนั้นย่อมxxxxตอบที่ถูกและผิด เมื่อครู ชี้แจงให้ทราบว่าข้อไหนถูกและข้อไหนผิดจะทำให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกยิ่งขึ้น การใช้แบบฝึกเป็นสื่อการสอนที่จัดทำ
ขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาทำความเข้าใจ ฝึกฝนจนเกิดxxxxxxxxxถูกต้องและเกิดทักษะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นอกจากนี้แบบฝึกหัดยังเป็นเครื่องช่วยบ่งชี้ให้ครูทราบว่าผู้เรียนหรือผู้ใช้แบบฝึกมีความรู้ความเข้าใจบทเรียน และxxxxxxนำความรู้ไปใช้ได้มากxxxxxxxxxใด แบบฝึกมีความสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอน และมี ความสำคัญในการช่วยเหลือให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะทางภาษา ซึ่งในการฝึกทักษะจำเป็นต้องอาศัยแบบฝึกทักษะใน การฝึกฝน หรือฝึกปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนxxxxxxxxxxเรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเองและช่วยให้ผู้เรียนxxxxxxเขียน ได้ถูกต้องxxxxxx สื่อความหมายได้และxxxxxxxเรียนรู้xxxxx
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงได้xxxxxxการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะการ อ่านและการเขียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้วยแบบฝึกทักษะการอ่าน การxxxxxxxxxxxxxxและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อxxxxxxxxให้ผู้เรียนxxxxxxxพัฒนาทางด้านการ อ่านและการxxxxxxxควบกล้ำได้อย่างถูกต้องและเป็นพื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ในระดับสูงขึ้นต่อไป
สอน
2. วิธีการxxxxxxการให้xxxxxผล
2.1 ศึกษาเอกสารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แนวคิดทฤษฎีการเรียนการ
2.2 ศึกษาปัญหาของผู้เรียน วิเคราะห์ข้อมูลที่พบในการจัดการเรียนการสอน
2.3 ศึกษาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
2.4 ศึกษาเทคนิคการใช้แบบฝึกทักษะพัฒนาการอ่านและการเขียน เพื่อให้เหมาะสมกับ
เนื้อหาและผู้เรียน
2.5 สร้างแบบประเมินผลการอ่านและการเขียน ก่อนเรียน - หลังเรียน
2.6 ประเมินผลการอ่าน การเขียน ก่อนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การxxxxxxxxxxxxxxและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับผู้เรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4
2.7 xxxxxxการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบ ด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การxxxxxxxxxxxxxxและคำควบกล้ำ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2.8 ประเมินผลการอ่านและการเขียน หลังการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย ใช้แบบฝึกแบบฝึกทักษะการอ่าน การxxxxxxxxxxxxxxและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดxxxx
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การxxxxxxxxxxxxxxและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีxxxxxxxxxxทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
3.2 xxxxxxxxxx
ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 xxxxxxอ่านออก เขียนได้ มีความรู้ความเข้าใจใน เรื่อง การอ่าน การxxxxxxxxxxxxxxและควบกล้ำ ตามหลักสูตรxxxxxxxการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................................
(xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx) ตำแหน่ง ครู คศ.1 โรงเรียนอนุบาลลาดยาว
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
................/.............../...................
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
............................................................................................................................. ..........
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................................
(นางสาวชญาภา xxxxxx) ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลลาดยาว
................/.............../...................