การอภิปรายผล ข้อกำหนดตัวอย่าง

การอภิปรายผล. จากผลการศึกษารูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ภายใต้ความร่วมมือมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับตัวอย่างบันทึกความร่วมมือใน การทําวิจัยของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านมา ซึ่งมีหลาย รูปแบบความร่วมมือ คือ 1) รูปแบบความร่วมมือกันในการสนับสนุนการทําวิจัยในสถาบันการศึกษา โดยมีข้อตกลงใน การใช้ทรัพยากรบุคล ความรู้และงบประมาณจากทั้งสองฝ่าย โดยมีการใช้งบประมาณจากทั้งสองส่วน เท่า ๆ กัน เช่น บันทึกความร่วมมือในการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นระหว่างมหาวิทยาลัย อุบลราชธานีกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2) รูปแบบความร่วมมือในการนํากระบวนการวิจัยไปใช้ในหน่วยงาน ที่มีข้อตกลงในการ สนับสนุนงบประมาณในการทําวิจัยในอัตราส่วน 30:70 ดังตัวอย่างความร่วมมือของ ศูนย์สังคมพัฒนา สังฆมณฑลราชบุรี กับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 3) รูปแบบความร่วมมือที่ สํานักงานกองทุนสนับสนุนงบประมาณ 100% เพื่อให้เกิดงานวิจัยใน ประเด็นเฉพาะ เช่น บันทึกข้อตกลงระหว่าง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กับ สถาบันการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT-I) 4) รูปแบบความร่วมมือที่สนับสนุนงานวิชาการ เป็นความร่วมมือกันในการพัฒนางานวิจัยและ งานวิชาการในสถาบันการศึกษาโดยไม่ได้กล่าวถึงงบประมาณแต่เป็นการสนับสนุนทางวิชาการ เช่น บันทึกความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบจะพบว่า รูปแบบความร่วมมือในการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จะมีความแตกต่างในเรื่อง การจัดการทุนในการสนับสนุนการวิจัย โดยมีการ แบ่งการสนับสนุนอย่างชัดเจนตามระยะการวิจัยและมีการใช้งบประมาณและระเบียบบริหารจัดการของ แต่ละหน่วยงาน ผลการศึกษาดังกล่าว ได้สะท้อนปัญหาในการบริหารจัดงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นภายใต้ โครงการความร่วมมือในรูปแบบการแบ่งส่วนงานและการใช้ระเบียบการจัดการที่แตกต่างกันนั้น มีความ ไม่เหมาะสมกับการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ที่มีเป้าหมายสําคัญ คือการเปลี่ยนแปลงของชุมชนท้องถิ่นเป็น สําคัญ การทํางานจึงต้องการความต่อเนื่องและระเบียบที่ยืดหยุ่น
การอภิปรายผล. การผลิตสื่อเพื่อการสร้างสรรค์สื่อรณรงค์แบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจและลดปัญหา การเสพน้้ากระท่อมในกลุ่มเยาวชนพื้นที่เสี่ยงของจังหวัดสงขลานั้น สิ่งส้าคัญที่สุดได้แก่ กระบวนการ สื่อผลิตที่ให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการผลิต เพราะผลที่ได้จากโครงการพบว่าชาวบ้านในชุมชนต่าง มีความกระตือรือล้นในการร่วมกันผลิตสื่อรณรงค์เป็นอย่างมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของพวงชมพู ไชยอาลา แสงรุ่งเรืองโรจน์ (2556) ที่กล่าวว่ากระบวนดังกล่าวนี้เป็นสิ่งเหมาะสมในการท้าสื่อสาร รณรงค์ เพราะเป็นการท้าให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสื่อสาร ในฐานะผู้สนับสนุนกระบวนการ ผลิต ร่วมสื่อและประเมินผลสื่อร่วมกันอย่างเป็นระบบ จึงท้าให้พัฒนาชุมชนนั้นประสบความส้าเร็จได้ ส่วนเนื้อหาที่น้าเสนอในการรณรงค์ในครั้งนี้อาจจะแตกต่างกับเนื้อหาของสื่อรณรงค์ประเภทอื่นๆ แต่ ยังคงเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับสื่อออนไลน์ในการรณรงค์อื่นๆ ซึ่งสอดคล้องกับงานของ นิษฐา หรุ่น เกษม นิศรารัตน์ วิไลลักษณ์ และปรัชญา ทองชุม (2563) ที่กล่าวว่าการน้าเสนอสารเพื่อการรณงค์ใน สื่อสังคออนไลน์นั้น จะต้องการแปลงสารให้เข้ากับช่องทางการสื่อสารออนไลน์แต่ละประเภท และ ต้องน้าเสนอหรือโพสต์ข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นระบบ สม่้าเสมอ และมีความต่อเนื่อง แม้ว่าผลสัมฤทธิ์ จากการเข้ารับชมสื่อจะมีอิทธิพลต่อความเข้าใจและลดปัญหาการเสพน้้ากระท่อมน้อยมาก แต่ผลวิจัย แสดงให้เห็นแล้วว่าพวกเขายังต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตสื่อมากกว่าเป็นผู้รับสื่อเพียงอย่าง เดียว ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีเทคโนโลยีเป็นตัวก้าหนดที่กล่าวว่าเทคโนโลยีจะเป็นตัวก้าหนดรูปแบบ และสามารถบอกได้ว่าควรจะปรับเปลี่ยนการสื่อสารนั้นไปทิศทางใด ซึ่งในงานวิจัยนี้สื่อที่น้ามาใช้ใน การรณรงค์เป็นสื่อสังคมออนไลน์ ดังนั้นธรรมชาติของสื่อไม่ได้เป็นการน้าเสนอข่าวสารเพียงทางเดียว แต่จะต้องปรับให้ผู้รับสารเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ส่งสาร และสร้างสารใหม่ออกไปยังผู้รับอื่นๆ ใน ลักษณะเครือข่ายต่อไป ซึ่งมีข้อสังเกตที่ชัดเจนแล้วว่ากลุ่มชาวบ้านและเยาวชนอาสาสมัครที่เข้าร่วม โครงการและมีส่วนร่วมในทุกๆ ขั้นตอน กลับกลุ่มเหล่านี้ต่างมีความเข้าใจและลดปัญหาการเสพน้้า กระท่อมที่ดีมาก และพร้อมผลักดันให้ปัญหาน้้ากระท่อมหมดไปในชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับ รณกฤต จิตต์ธรรม (2563) ว่าการแก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น สื่อเป็นแค่เครื่องมือหนึ่งในการสื่อสารเท่านั้น แต่ การที่จะแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนได้นั้น ต้องการส่งเสริมและท้าความเข้าใจให้ประชาชนที่อาศัย ในชุมชนให้เห็นความส้าคัญของปัญหายาเสพติด และตระหนักว่าปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาของ ส่วนรวม ที่ทุกคนต้องช่วยกันป้องกันและแก้ไขปัญหา ซึ่งการกระท้าเช่นนี้จะเป็นตัวสร้างภูมิคุ้มกันให้ เด็กและเยาวชนในชุมชนให้มีทัศนคติท่างไกลยาเสพติดได้ ส้าหรับข้อค้นพบที่ปรากฏว่าอิทธิพลของสื่อที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีผลต่อความเข้าใจและลดปัญหา การเสพน้้ากระท่อมได้ค่อนข้างต่้า อาจจะเกิดมาจากกลุ่มเยาวชนที่น้าสื่อไปทดลองนั้น ส่วนใหญ่เ...
การอภิปรายผล. จากการศึกษาทั้ง 9 เหตุการณ์พบว่า มีทั้งหมด 6 เหตุการณ์ ที่การประกาศเซ็นสัญญา ก่อสร้างก่อให้เกิดอัตราผลตอบแทนเกินปกติเชิงบวก ในช่วง Post - event หรือช่วงที่ได้มีการเซ็นสัญญา ก่อสร้างเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ 2.รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (หัวลําโพง-บางซื่อ) 3.รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ (สุวรรณภูมิ-พญาไท) 4.ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีเขียวอ่อน (อ่อนนุช-แบริ่ง) 5.ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีเขียวเข้ม (ตากสิน-วงเวียนใหญ่) 6.ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีเขียวอ่อน (แบริ่ง - สําโรง) จะเห็นได้ว่า ทั้ง 6 เหตุการณ์นั้น นักลงทุนได้ตอบสนองทางบวกต่อข่าวการประกาศเซ็น สัญญาก่อสร้างรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน จึงทําให้ ทั้งผลตอบแทนเกินปกติเฉลี่ย (AAR) และ อัตราผลตอบแทน เกินปกติเฉลี่ยสะสม(CAAR) ที่เกิดขึ้นหลังจาก การประกาศเซ็นสัญญานั้นมีค่าเป็นบวกอย่างมีนัยสําคัญ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Agostini และ Palmucci (2008) ที่พบว่าหลังจากที่มีการประกาศเซ็น สัญญาก่อสร้างรถไฟฟ้าสาย 4 ในเมือง Santiago ประเทศชิลี ทําให้ราคาคอนโดนั้นเพิ่มสูงขึ้น 4.2%-7.9% โดยเฉลี่ย รวมไปถึงงานวิจัยของ McDonald และ Osuji (1995) ที่พบว่า ราคาบ้านจะเพิ่มสูงขึ้น 17% หลังจากมีการประกาศสร้างโครงการรถไฟ เนื่องจากนักลงทุนมีความมั่นใจว่าการก่อสร้างนั้นจะเกิดขึ้น อย่างแน่นอน ในขณะเดียวกัน การประกาศเซ็นสัญญาก่อสร้างนั้นก่อให้เกิดผลตอบแทนเกินปกติเชิงลบ ในช่วง Post - event หรือช่วงที่ได้มีการเซ็นสัญญาก่อสร้างเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ 1.รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (คลองบางไผ่-เตาปูน) 2.ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (บางซื่อ - เตาปูน) โดยนักลงทุนได้ตอบสนองทางลบต่อข่าวการประกาศเซ็นสัญญาก่อสร้างรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชน จึงทําให้ทั้งผลตอบแทนเกินปกติเฉลี่ย (AAR) และ อัตราผลตอบแทนเกินปกติเฉลี่ยสะสม(CAAR) ที่เกิดขึ้นหลังจากการประกาศเซ็นสัญญานั้นมีค่าเป็นลบอย่างมีนัยสําคัญ เนื่องจากโครงการดังกล่าว เป็น การลงทุนร่วมระหว่างรัฐกับเอกชน ในรูปแบบ PPP Gross Cost โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย หรือ รฟม.จะเข้ามาลงทุนในงานโยธา และ จ้างเอกชน "BEM-บมจ.ทางด่วนและรถไฟฟ้า กรุงเทพ" ทําการจัดหาระบบ บริหารการเดินรถและซ่อมบํารุงเป็นเวลา 30 ปี โดย รฟม.จะทําการตลาด กําหนดค่าโดยสารและรับความเสี่ยงโครงการทั้งหมด ขณะที่ BEM จะได้ค่าจ้างเดินรถคงที่เฉลี่ย 2,000 กว่าล้านบาท ต่อปี ตลอดอายุสัญญาซึ่งแตกต่างจาก "รถไฟฟ้าบีทีเอส" ที่เอกชนเป็นผู้ลงทุนและรับความ เสี่ยงทั้งหมด อีกทั้ง ยังมีปัญหาในเรื่องของแนวเส้นทางการเดินรถที่แตกต่างจากของ "บีทีเอส" ที่เส้นทาง ส่วนใหญ่จะผ่านใจกลางเมือง แหล่งงาน ย่านช็อปปิ้ง ที่อยู่อาศัย สถานศึกษา ทําให้มีลูกค้า ทุกกลุ่มมาใช้ บริการ ในขณะที่รถไฟฟ้ามหานครสายฉลองรัชธรรม(สายสีม่วง) แนวเส้นทางส่วนใหญ่จะพาดผ่านย่านชาน เมือง ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยเป็นหลัก ทําให้คนส่วนใหญ่เลือกที่จะหันไปใช้บริก...
การอภิปรายผล. ผลการวิจัยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สามารถสรุปตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
การอภิปรายผล. จากผลการวิจัยครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า จะส่งผลกระทบต่องบการเงินและอัตราส่วนทางการเงิน สำหรับฝั่งผู้เช่าที่ เปลี่ยนแปลงไป โดยหลักๆ จะกระทบกับงบแสดงฐานะการเงินและงบกำไรขาดทุน ซึ่งอัตราส่วนมี ความสัมพันธ์กันทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ ซึ่งอัตราส่วนทางการเงินที่จะมีการเปลี่ยนแปลงไป โดย อัตราส่วนทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงไปในเชิงลบกับบริษัท ประกอบด้วย อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของสินทรัพย์ ซึ่งผลวิจัยที่ ออกมาสอดคล้องกับที่ผู้วิจัย คาดการณ์ไว้ โดยผลการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของสินทรัพย์ ก่อนและหลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาปฏิบัติใช้ พบว่าค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของสินทรัพย์ก่อน และหลังนำมาตรฐานฉบับนี้มาปฏิบัติใช้ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีสาระสำคัญ จึงให้ข้อสรุปได้ว่า อัตราส่วนที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ภายหลังการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาปฏิบัติใช้ คือ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น กล่าวคือ ในงบแสดงฐานะ การเงินจะต้องบันทึกสินทรัพย์สิทธิการใช้ และหนี้สินสัญญาเช่าเพิ่มขึ้นมา โดยการเพิ่มขึ้นของหนี้สินมี มากกว่าสินทรัพย์ และส่วนของผู้ถือหุ้นก็เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขสัญญาเช่า ซึ่งแตกต่าง กันขึ้นอยู่กับบริษัทเลือกนโยบายการบันทึกบัญชี ณ วันที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ บังคับใช้ ดังนั้น ภายหลังการปฏิบัติใช้ของมาตรฐานฉบับนี้ งบการเงินของบริษัทจะสะท้อนสินทรัพย์ สิทธิการใช้ และภาระหนี้สินสัญญาเช่า เพื่อให้งบการเงินสะท้อน ผลการดำเนินงานของบริษัทมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงการมีสิทธิ์การครอบครองการใช้สินทรัพย์และหนี้สินที่จะต้องจ่ายตามแต่ละสัญญา และอาจจะส่งผลต่อการปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาเงินกู้ (ถ้ามี) กับธนาคาร อย่างเช่น ในสัญญา เงินกู้ จะมีข้อกำหนดให้บริษัท ดำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 0.2:1 เป็นต้น ดังนั้น บริษัทอาจจะต้องพิจารณาเรื่องเงื่อนไขของสัญญาเงินกู้อย่างเข็มงวด จะเห็นได้ว่ามาตรฐานฉบับนี้มี ผลกระทบสำคัญกับบริษัท และผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย ดังนั้นบริษัทจึงต้องศึกษาผลกระทบและ สื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียและผู้ใช้งบการเงิน จากผลการวิจัยในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า พบว่าแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมได้รับผลกระทบแตกต่าง กัน จึงยกตัวอย่างกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนทางการเงินทางการเงินก่อนและหลังการ ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญมากที่สุด คือ กลุ่ม เทคโนโลยี และกลุ่มบริการ ซึ่งถ้าพิจารณาสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีและกลุ่มบริการ จะมี สัญญาเช่าดำเนินงานระยะยา...

Related to การอภิปรายผล

  • ความรับผิดของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใด ๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้าง และจะต้องรับผิดต่อความเสียหายจากการกระทําของลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง และจากการ ปฏิบัติงานของผู้รับจ้างช่วงด้วย (ถ้ามี) ความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่งานที่ผู้รับจ้างได้ทําขึ้น แม้จะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผู้รับ จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยซ่อมแซมให้คืนดีหรือเปลี่ยนให้ใหม่โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง เว้นแต่ความเสียหายนั้น เกิดจากความผิดของผู้ว่าจ้าง ทั้งนี้ ความรับผิดของผู้รับจ้างดังกล่าวในข้อนี้จะสิ้นสุดลง เมื่อผู้ว่าจ้างได้รับมอบงาน ครั้งสุดท้าย ซึ่งหลังจากนั้นผู้รับจ้างคงต้องรับผิดเพียงในกรณีชํารุดบกพร่อง หรือความเสียหายดังกล่าวในข้อ 8 เท่านั้น ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในความเสียหายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงานของผู้ รับจ้าง หรือลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง รวมถึงผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ตามสัญญานี้ หากผู้ว่าจ้างถูกเรียกร้องหรือ ฟ้องร้องหรือต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกไปแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการใด ๆ เพื่อให้มีการว่าต่างแก้ต่าง ให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง รวมทั้งผู้รับจ้างจะต้องชดใช้ค่าเสียหายนั้น ๆ ตลอดจนค่าใช้จ่ายใด ๆ อันเกิดจากการถูกเรียกร้องหรือถูกฟ้องร้องให้แก่ผู้ว่าจ้างทันที

  • การชําระเงิน (13 ก) ผู้ซ้ือตกลงชําระเงินค่าสิ่งของตามข้อ ๑ ให้แก่ผู้ขาย เมื่อผู้ซื้อได้รับมอบสิ่งของ ตามข้อ ๕ ไว้โดยครบถ้วนแล้ว (13 ข) ผู้ซื้อตกลงชําระเงินค่าส่ิงของตามข้อ ๑ ใหแก่ผู้ขาย ดังน้ี ๖.๑ เงินล่วงหน้า จํานวน……....................บาท (… ) จะจ่ายให้ภายใน…….…............(…….........……….) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ทั้งน้ี โดยผู้ขายจะต้องนํา หลักประกันเงินล่วงหน้าเป็น (หนังสือคํ้าประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ของ ธนาคารภายในประเทศหรือพ ธบัตรรัฐบาลไทย)… เต็มตามจํานวนเงินล่วงหน้าท่ีจะได้รับ มามอบ ให้แก่ผู้ซื้อเป็นหลักประกันการชําระคืนเงินล่วงหน้าก่อนการรับชําระเงินล่วงหน้าน้ัน และผู้ซื้อจะคืน หลกประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ผ ายเม่ ผู้ซื้อจ่ายเง ที่เหลือตามข

  • ราคากลาง วิธีซอ้ื หรือจ้าง รายช่ือผู้เสนอราคา/ ราคาที่เสนอ (บาท) ผไู้ ด้รับการคดั เลือก/ ราคาท่ีตกลงซอื้ หรือจ้าง (บาท) เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขท่ีและวันท่ีของสัญญา

  • สิทธิของผู้ว่าจ้างภายหลังบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา ผู้ว่าจ้างอาจทํางานนั้นเองหรือว่าจ้างผู้อื่นให้ทํางานนั้นต่อจนแล้ว เสร็จก็ได้ ผู้ว่าจ้างหรือผู้ที่รับจ้างทํางานนั้นต่อมีสิทธิใช้เครื่องใช้ในการก่อสร้าง สิ่งที่สร้างขึ้นชั่วคราวสําหรับงาน ก่อสร้าง และวัสดุต่างๆ ซึ่งเห็นว่าจะต้องสงวนเอาไว้เพื่อการปฏิบัติงานตามสัญญาตามที่จะเห็นสมควร ในกรณีดังกล่าว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ทั้งหมดหรือ บางส่วนตามแต่จะเห็นสมควร นอกจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในค่าเสียหายซึ่งเป็นจํานวนเกินกว่าหลัก ประกันการปฏิบัติตามสัญญา รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นต่อให้แล้วเสร็จตามสัญญา ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการควบคุมงานเพิ่ม (ถ้ามี) ซึ่งผู้ว่าจ้างจะหักเอาจากเงินประกันผลงานหรือจํานวนเงินใด ๆ ที่จะจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างก็ได้

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ

  • การใช้เรือไทย ในการปฏิบัติตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างจะต้องสั่งหรือนําของเข้ามาจากต่างประเทศรวมทั้ง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องนําเข้ามาเพื่อปฏิบัติงานตามสัญญา ไม่ว่าผู้รับจ้างจะเป็นผู้ที่นําของเข้ามาเองหรือนําเข้ามา โดยผ่านตัวแทนหรือบุคคลอื่นใด ถ้าสิ่งของนั้นต้องนําเข้ามาโดยทางเรือในเส้นทางเดินเรือที่มีเรือไทยเดินอยู่และ สามารถให้บริการรับขนได้ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกําหนด ผู้รับจ้างต้องจัดการให้สิ่งของ ดังกล่าวบรรทุกโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยจากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากกรมเจ้าท่าก่อนบรรทุกของนั้นลงเรืออื่นที่มิใช่เรือไทยหรือเป็นของที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประกาศยกเว้นให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้ ทั้งนี้ไม่ว่าการสั่งหรือนําเข้าสิ่งของดังกล่าวจากต่างประเทศจะเป็นแบบใด ในการส่งมอบงานตามสัญญาให้แก่ผู้ว่าจ้าง ถ้างานนั้นมีสิ่งของตามวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างจะต้อง ส่งมอบใบตราส่ง (Bill of Lading) หรือสําเนาใบตราส่งสําหรับของนั้น ซึ่งแสดงว่าได้บรรทุกมาโดยเรือไทยหรือเรือที่ มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยให้แก่ผู้ว่าจ้างพร้อมกับการส่งมอบงานด้วย ในกรณีที่สิ่งของดังกล่าวไม่ได้บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทยโดยเรือไทยหรือเรือที่มี สิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย ผู้รับจ้างต้องส่งมอบหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้รับอนุญาตจากกรมเจ้าท่า ให้บรรทุกของโดยเรือ อื่นได้หรือหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้ชําระค่าธรรมเนียมพิเศษเนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรือไทยตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวีแล้วอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ผู้ว่าจ้างด้วย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ส่งมอบหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวในวรรคสองและวรรคสามให้แก่ ผู้ว่าจ้าง แต่จะขอส่งมอบงานดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างก่อนโดยไม่รับชําระเงินค่าจ้าง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิรับงานดังกล่าวไว้ก่อน และชําระเงินค่าจ้างเมื่อผู้รับจ้างได้ปฏิบัติถูกต้องครบถ้วนดังกล่าวแล้วได้

  • การทําสัญญาจ้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญา โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ๖.๑ เงินสด ๖.๒ เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นเช็คลงวันที่ที่ ทําสัญญา หรือก่อนหน้านั้น ไม่เกิน ๓ วัน ทําการของทางราชการ ๖.๓ หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบหนังสือค้ําประกัน ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด ๖.๔ หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกัน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตาม รายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้ําประกันของ ธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • การบอกเลิกสัญญา ถ้าผู้ขายไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อใดข้อหนึ่ง หรือเมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว หาก ผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบจำนวน ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือ แต่บางส่วนได้ การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญานั้นไม่กระทบสิทธิของผู้ซื้อที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ขาย ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธบิ อกเลิกสัญญา ผู้ซื้อมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกัน ตาม (ข้อ ๖ และ) ข้อ ๘ เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวน หรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่ง แล้วแต่กรณี ภายในกำหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน นบั ถัดจากวันบอกเลิกสัญญา ผู้ขายจะต้องชดใช้ราคา ที่เพิ่มขึ้นจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ ร่างรายละเอียดขอบเขตของงานทั้งโครงการ (Terms of Reference : TOR) ๑.๒ แบบใบเสนอราคาที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๓ แบบสัญญาจ้างก่อสร้าง ๑.๔ แบบหนังสือค้ำประกัน (๑) หลักประกันสัญญา ๑.๕ สูตรการปรับราคา ๑.๖ บทนิยาม (๑) ผู้ที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (๒) การขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ๑.๗ แบบบัญชีเอกสารที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (๑) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ (๒) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๒ ๑.๘ แผนการใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศและแผนการใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศ ๑.๙ แผนการทำงาน

  • การเสนอราคา ๔.๑ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กําหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้อง กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทําการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอโดยไม่ต้อง แนบใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ๔.๒ ให้ผู้ยื่นข้อเสนอกรอกรายละเอียดการเสนอราคาในใบเสนอราคาตามแบบเอกสาร ประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ข้อ ๑.๒ ให้ครบถ้วนโดยไม่ต้องยื่นใบ แจ้งปริมาณงานและราคา และใบบัญชีรายการก่อสร้างในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ในการเสนอราคาให้เสนอราคาเป็นเงินบาทและเสนอราคาได้เพียงครั้งเดียวและราคา เดียว โดยเสนอราคารวม หรือราคาต่อหน่วย หรือราคาต่อรายการ ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ท้ายใบเสนอราคาให้ถูกต้อง ทั้งนี้ ราคารวมที่เสนอจะต้องตรงกันทั้งตัวเลขและตัวหนังสือ ถ้าตัวเลขและตัวหนังสือไม่ตรงกัน ให้ถือตัวหนังสือ เป็นสําคัญ โดยคิดราคารวมทั้งสิ้นซึ่งรวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีอากรอื่น และค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้แล้ว ราคาที่เสนอจะต้องเสนอกําหนดยืนราคาไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน ตั้งแต่วันเสนอราคาโดย ภายในกําหนดยืนราคา ผู้ยื่นข้อเสนอต้องรับผิดชอบราคาที่ตนได้เสนอไว้และจะถอนการเสนอราคามิได้ ๔.๓ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอกําหนดเวลาดําเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จไม่เกิน ๔๒๐ วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้างหรือจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งจาก โรงเรียน ให้เริ่มทํางาน ๔.๔ ก่อนเสนอราคา ผู้ยื่นข้อเสนอควรตรวจดูร่างสัญญา แบบรูป และรายการละเอียด ฯลฯ ให้ถี่ถ้วนและเข้าใจเอกสารประกวดราคาจ้างอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดเสียก่อนที่จะตกลงยื่นข้อเสนอตามเงื่อนไข ในเอกสารประกวดราคาจ้างอิเล็กทรอนิกส์ ๔.๕ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องยื่นข้อเสนอและเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ในวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ระหว่างเวลา ๐๘.๓๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. และเวลาในการเสนอราคา ให้ถือตามเวลาของระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์เป็นเกณฑ์ เมื่อพ้นกําหนดเวลายื่นข้อเสนอและเสนอราคาแล้ว จะไม่รับเอกสารการยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาใดๆ โดยเด็ดขาด ๔.๖ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องจัดทําเอกสารสําหรับใช้ในการเสนอราคาในรูปแบบไฟล์เอกสาร ประเภท PDF File (Portable Document Format) โดยผู้ยื่นข้อเสนอต้องเป็นผู้รับผิดชอบตรวจสอบความ ครบถ้วน ถูกต้อง และชัดเจนของเอกสาร PDF File ก่อนที่จะยืนยันการเสนอราคา แล้วจึงส่งข้อมูล (Upload) เพื่อ เป็นการเสนอราคาให้แก่โรงเรียน ผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ๔.๗ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะดําเนินการตรวจสอบ คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายว่า เป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่นตาม ข้อ ๑.๖ (๑) หรือไม่ หากปรากฏว่าผู้ยื่นข้อเสนอรายใดเป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอราย อื่น คณะกรรมการฯ จะตัดรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกันนั้นออกจากการเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ หากปรากฏต่อคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ว่า ก่อนหรือใน ขณะที่มีการพิจารณาข้อเสนอ มีผู้ยื่นข้อเสนอรายใดกระทําการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรมตาม ข้อ ๑.๖ (๒) และคณะกรรมการฯ เชื่อว่ามีการกระทําอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม คณะ กรรมการฯ จะตัดรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้นออกจากการเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ และโรงเรียน จะพิจารณาลงโทษผู้ยื่น ข้อเสนอดังกล่าวเป็นผู้ทิ้งงาน เว้นแต่ โรงเรียน จะพิจารณาเห็นว่าผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น มิใช่เป็นผู้ริเริ่มให้มีการ กระทําดังกล่าวและได้ให้ความร่วมมือเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของโรงเรียน