สรุปผลการวิจัย. สรุปผลการวิจัย………………………………………………………………………………………………… 35
สรุปผลการวิจัย. จากผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการเผชิญและฟันฝุาอุปสรรคโดยรวมมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในงานอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .368) และ ในรายด้านทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการควบคุม ด้านต้นเหตุและความรับผิดชอบ ด้านจํากัดผลกระทบ และด้านความอดทนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในงานอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .184, r= .306, r = .143 และ r = .359 ตามลําดับ) สามารถสรุปได้ว่า ถ้าพนักงานมี ความสามารถในการเผชิญและฟันฝุาอุปสรรคคะแนนระดับสูง ความพึงพอใจในงานของพนักงานจะมี คะแนนระดับสูงด้วยเช่นกัน
สรุปผลการวิจัย. จากผลการวิจัยพบว่า ความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความพึงพอใจในงานอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .377) และในรายด้านทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านการตระหนักรู้ ด้านการควบคุมตนเอง ด้านการสร้างแรงจูงใจ ด้านการรับรู้และเข้าใจอารมณ์ของ บุคคลอื่น และด้านการจัดการด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจ ในงานอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .317, r= .406, r = .368, r = .387 และ r = .388 ตามลําดับ) สามารถสรุปได้ว่า ถ้าพนักงานมีความสามารถในการเผชิญและฟันฝุาอุปสรรคคะแนน ระดับสูง ความพึงพอใจในงานของพนักงานจะมีคะแนนระดับสูงด้วยเช่นกัน
สรุปผลการวิจัย. จากผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการเผชิญและฟันฝุาอุปสรรคมีทั้งผล ทางตรง และผลทางอ้อมโดยผ่านพันธสัญญากับเปูาหมายไปสู่ความพึงพอใจในงาน พันธสัญญากับ เปูาหมายจึงเป็นตัวแปรสื่อ (partial mediator) บางส่วนระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟัน ฝุาอุปสรรคกับผลการปฏิบัติงานของพนักงาน
สรุปผลการวิจัย. จากผลการวิจัยพบว่า ความฉลาดทางอารมณ์มีทั้งผลทางตรง และผลทางอ้อม โดยผ่านพันธสัญญากับเปูาหมายไปสู่ความพึงพอใจในงาน พันธสัญญากับเปูาหมายจึงเป็นตัวแปรสื่อ บางส่วน (Partial mediator) ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับผลการปฏิบัติงานของพนักงาน
สรุปผลการวิจัย. งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาถึงผลกระทบต่ออัตราผลตอบแทนของหุ้นในกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าในช่วงที่มีการประกาศเซ็นสัญญาก่อสร้าง ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน นั้นสามารถก่อให้เกิดอัตราผลตอบแทนที่เกินปกติอย่างมีนัยสําคัญ ได้หรือไม่ โดยกําหนดให้วันที่ศึกษา คือ วันที่มีการประกาศเซ็นสัญญาก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ที่เปิด ให้บริการ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542-2560 ซึ่งมีทั้งหมด 9 เหตุการณ์ สามารถสรุปผลได้ดังนี้
5.1.1 รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีเขียวเข้ม (สายสีลม) และ สายสีเขียวอ่อน (สายสุขุมวิท)
5.1.2 รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สถานีหัวลําโพง-สถานีบางซื่อ)
5.1.3 รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ (สถานีสุวรรณภูมิ-สถานีพญาไท)
5.1.4 ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีเขียวอ่อน (อ่อนนุช-แบริ่ง)
5.1.5 ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีเขียวเข้ม (ตากสิน-วงเวียนใหญ่)
5.1.6 รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (สถานีคลองบางไผ่-สถานีเตาปูน)
5.1.7 ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีเขียวเข้ม (โพธิ์นิมิตร-บางหว้า)
5.1.8 ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีเขียวอ่อน (แบริ่ง-สําโรง)
5.1.9 ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (บางซื่อ-เตาปูน)
สรุปผลการวิจัย. การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามการวิจัย เรื่อง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้
สรุปผลการวิจัย. 5.3 อภิปรายผล
สรุปผลการวิจัย. 5.2.1 บริบทของปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการ ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 58.4) อายุ – 40 ปี (ร้อยละ 30.7) สภาพ สมรส (ร้อยละ 45.5) ระดับการศึกษา ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (ร้อยละ 48) รองลงมา สูงกว่า ปริญญาตรี (ร้อยละ 32.7) ประสบการณ์การทํางาน มากกว่า 10 ปี (ร้อยละ 46) รองลงมา 6-10 ปี ตําแหน่งหน้าที่ส่วนมาก เจ้าหน้าที่พัสดุ (ร้อยละ 31.7) รองลงมา กรรมการตรวจการจ้าง (ร้อยละ 18.8) งบประมาณก่อสร้างแต่ละโครงการ ส่วนใหญ่ คือ โครงการ 1,000,001 บาท ถึง 10,000,000 บาท (ร้อยละ 33.7) รองลงมาคือ โครงการสูงกว่า 20,000,001 บาท (ร้อยละ 30.2) รูปแบบรายการ โครงการและวัสดุ ส่วนมากคือ โครงการก่อสร้าง (ร้อยละ 35.1) รองลงมา โครงการปรับปรุง (ร้อยละ 8.4)
สรุปผลการวิจัย. จากงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงิน ด้านผู้เช่า ก่อนและหลังจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า (TFRS16) ซึ่งมาตรฐานฉบับใหม่เป็นโครงการการพัฒนามาตรฐานการบัญชีร่วมกัน ระหว่าง คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IASB) และคณะกรรมการกำหนด มาตรฐานการรายงานทางการเงินของสหรัฐอเมริกา (FASB) โดยมุ่งหวังให้การนำเสนอสินทรัพย์และ หนี้สินของผู้เช่าได้สะท้อนให้เห็นในงบแสดงฐานะการเงิน แก้ไขปัญหารายการนอกงบแสดงฐานะของ บริษัท ในด้านผู้เช่า ที่เกิดจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า ทำให้รายการนอกงบแสดงฐานะการเงินที่เกิดจากสัญญาเช่าดำเนินงาน ถูกนำมาแสดงไว้ ในงบการเงิน โดยฝั่งผู้เช่าจะต้องบันทึก “สินทรัพย์สิทธิการใช้” และรับรู้ “หนี้สินสัญญาเช่า” ควบคู่ กัน ซึ่งเกือบทุกสัญญา โดยมีเพียงสัญญาเช่าที่มีอายุสัญญาอายุน้อยกว่า 12 เดือน และสัญญาที่มี มูลค่าต่ำ (Low value asset) เมื่อสินทรัพย์นั้นเป็นสินทรัพย์ใหม่ ซึ่งผลกระทบจากการปฏิบัติตาม มาตรฐานฉบับใหม่นี้จะทำให้งบกำไรขาดทุนของผู้เช่าไม่มีภาระของค่าเช่าจ่าย แต่จะมีภาระค่าใช้จ่าย ในส่วนของค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์สิทธิการใช้และดอกเบี้ยจ่ายเพิ่มขึ้นแทน ในด้านผลกระทบต่อ งบแสดงฐานะการเงิน คือ ต้องรับรู้รายการสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงินเพิ่มสูงขึ้น โดยงานวิจัยนี้ทำการศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยรวบรวมข้อมูล จากงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2562 และ 31 มีนาคม 2563 และงบการเงินไตรมาส 1 ปี สิ้นสุด 31 มีนาคม และ 30 มิถุนายน 2563 ที่เปิดเผยข้อมูลผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย บัญชีใหม่เนื่องจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาถือปฏิบัติใช้ และไม่รวมกลุ่มธุรกิจการเงินเพราะส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นผู้ให้เช่ามากกว่าผู้เช่า และบริษัทที่เปิดเผย ข้อมูลไม่ครบถ้วน จึงได้จำนวนบริษัทกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 475 บริษัท รวมทั้งข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ และวิธีในการศึกษาจะนำข้อมูลในงบการเงินมาปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า เพื่อนำมาวิเคราะห์ความแตกต่างของอัตราส่วนทางการเงินก่อน และหลังจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ทั้งนี้การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จะใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยจะแสดงค่าเฉลี่ยของตัวแปรแต่ละตัวแปร และใช้ สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ทำการทดสอบความแตกต่างของผลกระทบของอัตราส่วน ทางการเงินก่อนและหลัง จากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า โดยใช้หาค่าความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน โดยใช้การทดสอบ Paired Samples T-Test โดยหาความแตก...