สรุปผลการดําเนินงาน ข้อกำหนดตัวอย่าง

สรุปผลการดําเนินงาน. 1. รายละเอียดผลการดําเนินงานโดยย่อ (Summary)
สรุปผลการดําเนินงาน. ชาวกวยในพื้นที่ตําบลโพธ์ิกระสังข์ โดยเฉพาะท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนวัดไตรราษฎร์สามัคคีได้เริ่ม ทํางานฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญาทองถ่ิน ตั้งแต่ในปี พ.ศ. 2552 ซ่ึงโครงการวิจัยนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากการ ได้ทดลองนําระบบตัวเขียนภาษากวยไปประยุกต์ใช ําเป็นสื่อการเรียนการสอนภาษากวยในศนยู ์พฒนาเดก็ั เล็กบ้านซํา – บ้านตาตา และพบว่าเด็กเล็กต่างให้ความสนใจในสื่อภาษากวยเป็นอย่างมาก จากการ ดําเนินงานดังกล่าว ชุมชนจึงเห็นว่าควรมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ภาษากวยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่าง เป็นระบบและควรขยายกระบวนการการทํางานนี้ไปสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอื่น ๆ ในชุมชนชาวกวย โดย มุ่งหวังว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะเป็นแหล่งบ่มเพาะภาษาท้องถิ่นให้กับลูกหลานในชุมชนควบคู่กับการพัฒนา ทักษะการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมตามพัฒนาการของเด็กเล็กตามมาตรฐานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีอยู่เดิม จึง ได้ดําเนินโครงการ “แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยภาษากวยโดยชุมชน มีส่วนร่วม ในพ้ืนที่เทศบาลตําบลโพธิ์กระสังข์ อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ” โดยมีวัตถุประสงค์สําคัญ เพื่อศึกษาแนวทางการนําภาษากวยไปใช้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและผลต่อ พัฒนาการการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมกวยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตลอดจนปัจจัยเงื่อนไขท่ีมีผล ต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรูภาษาและวัฒนธรรมกวยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กระบวนการในการดําเนินงานวิจัย ทีมวิจัยได้มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและการสร้างการ เรียนรู้ร่วมกันตามแนวคิดของงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ซ่ึงแบ่งได้ 3 ลักษณะ ได้แก่
สรุปผลการดําเนินงาน. ผลจากการจัดการเรียนการสอนเรื่องตัวโน๊ต โดยใช้การเสริมแรงทางบวกเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านตัวโน๊ต ดนตรีสากลเบื้องต้น ผลปรากฎว่า นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ก่อนใช้แรงเสริมทางบวก และ หลังจากใช้แรงเสริมทางบวกนักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๑๐๐ ทําให้เห็นได้ชัดว่าแรงเสริมทางบวก นักเรียนมีผลการ อ่านตัวโน๊ตดนตรีสากลของนักเรียนได้ถูกต้องอย่างเห็นได้ชัด และสื่อการสอนทําให้เกิดบรรยากาศที่ดีและเอื้อต่อ การเรียนการสอน ช่วยให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นสนใจ ตั้งใจ และมีความรับผิดชอบต่อการเรียนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา ช่วยสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้น ในกลุ่ม ซึ่งแนวทางนี้เหมาะสมในการแก้ปัญหาในชั้นเรียนได้เป็นอย่างดี รวมถึงสามารถสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชา ดนตรีเป็นอย่างมาก ลงชื่อ................................................................ (นางสาวจีรนุช นิลทอง) ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชํานาญการ ผู้รายงานข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ความเห็นของผู้อํานวยการสถานศึกษา ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนําไปแก้ไข และเสนอ เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................
สรุปผลการดําเนินงาน. โครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภู ซาง จังหวัดพะเยา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR : Participatory Action Research) โดย มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่ เป้าหมาย 2. เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ในการวิจัยครั้งนี้มีการใช้เครื่องมือในกระบวนการที่ หลากหลาย อาทิเช่น โอ่งชีวิตทําให้เกิดการเรียนรู้ของกลุ่มสตรีชาวลาวเกี่ยวกับ แหล่งที่มาของรายรับและ รายจ่ายในแต่ละวัน การคิดคํานวณและทําบัญชีครัวเรือน การบันทึกประจําวัน การลดละเลิกในสิ่งที่ไม่จําเป็น และอุดรอยรั่วของรายจ่ายที่ไม่จําเป็น ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความคิดแก้ปัญหารายจ่ายที่ไม่จําเป็นได้ดีขึ้น แผนที่เดินดินรอบนอก แผนที่เดินดินรอบในเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นลักษณะภูมิประเทศ และสถานที่ สําคัญที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของกลุ่มสตรีชาวลาว ตลอดจนร้านค้า หน่วยงานรัฐบาล สถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งเรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการในลักษณะของการใช้สัญลักษณ์แทนสถานที่ และระบายสีตามสภาพ บริบทให้ใกล้ความเป็นจริงปฏิทินฤดูกาลเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นเพื่อดึงข้อมูลการประกอบอาชีพในแต่ ละฤดูกาล และประเพณีวัฒนธรรมในรอบปีของกลุ่มสตรีชาวลาว โดยการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น SWOT เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ทั้งในมุมมองของกลุ่มสตรีชาวลาว และ มุมมองของ กศน.อําเภอภูซาง โดยใช้กระบวนการกลุ่มแล้วนําข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ SWOT นําเสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประมวลเป็นองค์รู้ร่วมกัน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นกลุ่มสตีชาวลาวหมู่ที่ 3, 4 และ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา กระบวนการทํางานวิจัย เน้นการสืบค้นข้อมูลองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์และ ประมวลผลเพื่อนําไปวางแผนพัฒนาและออกแบบกิจกรรมไปพร้อมๆกับการพัฒนาศักยภาพตามความต้องการ ของกลุ่มสตรีชาวลาวผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้เครื่องมืองานการวิจัยเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมใน การการแสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออกสร้างให้เกิดการทํางานเป็นทีมระหว่างนักวิจัยและชุมชนเพื่อ เป้าหมายที่ไปในทิศทางเดียวกัน โดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มสตรีชาวลาว บริบทพื้นที่ตําบลภูซาง และ แนวคิดงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น ทฤษฎีการมีส่วนร่วม กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับกลุ่ม ชาติพันธุ์ เป็นต้น สามารถสรุปผลการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่ ประตูบ้านในช่วงเวลาที่กลุ่มสตรีชาวลาวอยู่บ้าน ช่วงเช้า-เย็น ก่อนและหลังกลับจากการไปทํางานนอกบ้าน จากการใช้เครื่องมือการวิจัย อาทิเช่น โอ่งชีวิต ปฏิทินฤดูกาล/วัฒนธรรม แผนที่เดินดิน เป็นต้นเพื่อ เก็บข้อมูลพื้นฐานแล้ว กลุ่มสตรีชาวลาวและคร...
สรุปผลการดําเนินงาน 

Related to สรุปผลการดําเนินงาน

  • ค่าจ้างและการจ่ายเงิน (สํา👉รับสัญญาที่เป็นราคาเ👉มารวม) ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายและผู้รับจ้างตกลงรับเงินค่าจ้างจํานวนเงิน บาท (………………………………..…) ซึ่งได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม จํานวน…………..…………บาท ( ) ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และค่าใช้จ่ายทั้งปวงด้วยแล้ว โดยถือราคาเหมารวมเป็นเกณฑ์ และกําหนดการจ่ายเงินเป็น งวดๆ ดังนี้ งวดที่ ๑ เป็นจํานวนเงิน……………….………...บาท (… ) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงาน……………………………………ให้แล้วเสร็จภายใน………………………………………………….. งวดที่ ๒ เป็นจํานวนเงิน…….………………...บาท (…………………………………...………….) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงาน…………………………..…..……ให้แล้วเสร็จภายใน…………………………………………………. ..............................................ฯลฯ............................................. งวดสุดท้าย เป็นจํานวนเงิน……………..………....บาท (… ) เมื่อผู้ รับจ้างได้ปฏิบัติงานทั้งหมดให้แล้วเสร็จเรียบร้อยตามสัญญา รวมทั้งทําสถานที่ก่อสร้างให้สะอาดเรียบร้อยตามที่ กําหนดไว้ในข้อ ๒๐ การจ่ายเงินตามเงื่อนไขแห่งสัญญานี้ ผู้ว่าจ้างจะโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับจ้าง ชื่ อ ธ น า ค า ร ……………….….…….….ส า ข า ……….…..…….…….…..ชื่ อ บั ญ ชี เ ล ข ที่ บัญชี ทั้งนี้ ผู้รับจ้างตกลงเป็นผู้รับภาระเงินค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการอื่นใดเกี่ยวกับการ โอน รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นใด (ถ้ามี) ที่ธนาคารเรียกเก็บ และยินยอมให้มีการหักเงินดังกล่าวจากจํานวนเงินโอนในงวด นั้นๆ (ความในวรรคนี้ใช้สํา👉รับกรณีที่👉น่วยงานของรัฐจะจ่ายเงินตรงใ👉้แก่ผู้รับจ้าง (ระบบ Direct Payment) โดย การโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับจ้าง ตามแนวทางที่กระทรวงการคลัง👉รือ👉น่วยงานของรัฐเจ้าของ งบประมาณเป็นผู้กํา👉นด แล้วแต่กรณี)

  • หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกระงับการยื่น ข้อเสนอหรือทำสัญญากับสำนักงาน ไว้ชั่วคราว

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๖.๑ ในการพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ สำนักงาน จะพิจารณาตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคาประกอบเกณฑ์อื่น

  • การรับประกันความชำรุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • ข้อสงวนสิทธิในการยื่นข้อเสนอและอื่น ๆ ๑๑.๑ เงินค่าจ้างสำหรับงานจ้างครั้งนี้ ได้มาจากเงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ การลงนามในสัญญาจะกระทำได้ต่อเมื่อ สำนักงานได้รับอนุมัติเงินค่าจ้างจาก เงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ แล้วเท่านั้น

  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ในระหว่างระยะเวลาการก่อสร้าง ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและระเบียบได้กําหนดไว้โดยเคร่งครัด

  • การทำสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้

  • มาตรฐานฝีมือช่าง เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอรายใดให้เป็นผู้รับจ้างและได้ตกลงจ้าง ก่อสร้างตามประกาศนี้แล้ว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องตกลงว่าในการปฏิบัติงานก่อสร้างดังกล่าว ผู้เสนอราคาจะต้องมีและ ใช้ผู้มีวุฒิบัตรระดับ ปวช. ปวส. และปวท. หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรองให้เข้ารับราชการได้ ใน อัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๑๐ ของแต่ละ สาขาช่างแต่จะต้องมีจํานวนช่างอย่างน้อย ๑ คน ในแต่ละสาขาช่าง ดังต่อไปนี้