กรอบแนวคิดการวิจัย ข้อกำหนดตัวอย่าง

กรอบแนวคิดการวิจัย. การสํารวจข้อมูลระดับครัวเรือนผเู้ ลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง
กรอบแนวคิดการวิจัย. 1. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ ความหมายความพึงพอใจ 1) การให้บริการอย่างเสมอภาพ (Equitable Service) คือ ไม่มีการแบ่งแยกกีดกัน ในการให้บริการประชาชนจะได้รับการปฏิบัติในฐานะที่เป็นปัจเจกบุคคลที่ใช้มาตรฐานการให้บริการ เดียวกัน 2) การให้บริการอย่างทันเวลา (Time Service) คือ ในการบริการจะต้องมองว่าการ ให้บริการสาธารณะจะต้องตรงเวลา ผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐจะถือว่าไม่มีประสิทธิภาพ เลยถ้าไม่มีการตรงต่อเวลาซึ่งจะสร้างความไม่พึงพอใจให้แก่ประชาชน 3) การให้บริการอย่างพอเพียง (Ample Service) คือ การให้บริการสาธารณะต้องมี จํานวนการให้บริการและสถานที่ให้บริการอย่างเหมาะสม 4) การให้บริการอย่างต่อเนื่อง (Continuous Service) คือ การยึดประโยชน์ของ สาธารณะชนเป็นหลัก ไม่ใช่ยึดความพอใจของหน่วยงานที่ให้บริการว่าจะให้หรือหยุดบริการเมื่อใด
กรอบแนวคิดการวิจัย. การทํางานวิจัยภายใต้โครงการนวัตกรรมการจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อพัฒนาจังหวัด ลําปาง เน้นงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ เป็นงานวิจัยประเภทที่หวังผลให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ในพื้นที่ ใช้ความรู้หลายด้าน ทํางานเชิงบูรณาการ เอื้อต่อการทํางานพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัย กับสังคม (engagement) ที่มีการบูรณาการงานวิจัย การจัดการเรียนการสอน การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยใช้โจทย์วิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ที่นําไปสู่ ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนในพื้นที่และยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สู่ชุมชน ที่มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ด้วยองค์ความรู้ ด้านวิชาการ เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนจังหวัดลําปาง บูรณาการร่วมในระหว่าง นักวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏ สถานประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน และหน่วยงานภาครัฐที่เป็นเครือข่าย ในจังหวัดลําปาง และชุมชน ซึ่งเป็นกลไกสําคัญในการวิจัย อาทิ ยุทธศาสตร์จังหวัด อุตสาหกรรม จังหวัด หอการค้า จังหวัดลําปาง สมาคมข้าวแต๋น ดังนั้น กรอบการวิจัยจึงประกอบด้วย 3 ส่วนได้แก่ 1) กรอบการพัฒนาและสนับสนุน การวิจัยและการสร้างนวัตกรรมที่ตอบสนองการแก้ปัญหาและพัฒนาตามโจทย์ของชุมชนในพื้นที่ จังหวัดลําปางและตอบสนองนโยบายการขับเคลื่อน Thailand 4.0 ด้วยการวิจัยและนวัตกรรม
กรอบแนวคิดการวิจัย. 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 ถึง วันที่ แนวคิดของสุวิทย นามบุญเรือง (2560, หนา 67 – 73) ที่เก่ียวกับพฤติกรรมภายใน ชองทางการตลาด ที่เก่ียวกับบทบาทของสมาชิกในชองทางการตลาดและอํานาจในการบริหาร ชองทางการตลาด และนพรัตน ภูมิวุฒิสาร, 2558 (หนา 183) ที่เกี่ยวกับการออกแบบชองทาง การจัดจําหนายที่ตองเหมาะสมและสามารถเขาถึงผูบริโภคได และงานวิจัยของนงลักษณ ตั้งใจ (2551) ท่ีศึกษาเกี่ยวกับชองทางการจัดจําหนายสมสายน้ําผึ้งของเกษตรในพื้นที่อําเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม ที่เกี่ยวกับการจําหนายผลผลิตผานพอคาคนกลางเนื่องจากความคุนเคยที่มีกับพอคา คนกลาง และหากจะสามารถขายโดยตรงได จะตองมีแหลงลงทุน คุณภาพของสมสายน้ําผึ้งและ ความชํานาญในการหาตลาด โดยสามารถกําหนดเปนกรอบแนวความคิดการวิจัยไดดังนี้ ความสัมพันธ ความสัมพันธ พัฒนาชองทางการจัดจําหนายใหม ชองทางการจัดจําหนายเดิม คนกลาง ผูผลิต ความพึงพอใจของผูบริโภค โรงงาน ผูผลิต ผบริโภค การศึกษาแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอ บานคา จังหวัดราชบุรี ผูวิจัยจึงไดกําหนดนิยามเฉพาะ เพื่อใหเขาใจความหมายของคําศัพทที่ใชใน การวิจัยครั้งนี้ตรงกัน ดังนี้
กรอบแนวคิดการวิจัย. 1.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ ความหมายความพึงพอใจ 1. ความหมายของความพึงพอใจของผู้บริการ ตามแนวคิดของนักการตลาดจะพบนิยามของ ความพึงพอใจของผู้รับบริการเป็น 2 นัย คือ 1.1 ความหมายที่ยึดสถานการณ์การซื้อเป็นหลัก ให้ความหมายว่า ความพึงพอใจ เป็นผลที่เกิดขึ้นเนื่องจากการประเมินสิ่งที่ได้รับภายหลังสถานการณ์การซื้อสถานการณ์หนึ่ง มักพบใน งานวิจัยการตลาดที่เน้นแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์
กรอบแนวคิดการวิจัย. 2.1 อต ลกษณ์และอต มโนทศ น์ของปัจเจกบุคคล 2.1.1 อตลกษณ์ 2.1.1.1 ปัจเจกภาพจากมุมมองทางปรัชญา Xxxxxxxxx (1897, อา้ งถึงใน Lorraine, 1990) กล่าววา “เหตุผล” เป็ นแก่นแกนที่เป็ น สากลซ่ึงแยกแยะมนุษยอ อกจากสัตว์ เป็ นคุณสมบต ิที่มีอยู่ในธรรมชาติของมนุษยท ุกคน แมแ ต่ละ คนจะมีความสามารถในการใชมน ไม่เท่ากน ซ่ึงวธ ีการหาความรู้ที่เป็ นเเก่นแทห รือการเขา้ ถึงความ จริงของส่ิงหน่ึงจะทา˚ ไดโ ดยการดึงสิ่งน้น ๆ ออกจากส่ิงอื่นๆ ที่แวดลอ มมน เพื่อศึกษาเฉพาะเจาะจง แต่ส่ิงน้ัน วิธีน้ีจะทา˚ ให้เขา้ ถึงคุณสมบต ิแก่นแท องส่ิงน้ันได้ การเขา้ ถึงแก่นแทข องมนุษยก ็ใช วิธีการเดียวกน เราตอ งตด ตวเองออกจากโลกแวดล้อมท้ง หมด ดึงตว เองออกจากความรับรู้ทาง ประสาทส ผสท้งั มวล และค่อยๆ กา้ วเขา้ สู่ความรู้ที่ลึกซ้ึงยงิ่ ข้ึนเกี่ยวกบ ตวเอง นะของ Hume (1888, อา้ งถึงใน Selby-Bigge, 2014) มองวา ความเช่ือมน ที่วา มีตว เราเองเป็ นแก่นแกนที่เป็ นเอกภาพน้น เป็ นเพียงจินตนาการท่ีเกิดจากความทรงจา˚ ซ่ึงเชื่อมโยง การรับรู้ไวด วยกน ท้งั น้ีความทรงจา˚ ก็ไม่ใช่ส่ิงที่เท่ียงตรงแม่นยา˚ เสมอไป ความเป็ นเหตุเป็ นผลที่ เป็ นคุณสมบต ิพิเศษของมนุษย ้ัน มิได้เป็ นส่ิงที่กา˚ หนดมาให้อยู่ก่อนแล้ว (Innate) หรือเป็ น คุณสมบต ิภายใน (Intrinsic) ที่ฝังลึกเป็ นแก่นแกนมาแต่เดิม ความเป็ นเหตุเป็ นผลจึงเป็ นคุณสมบต ิที่ ค่อยๆ เรียนรู้ฝึ กฝนพฒ นาข้ึนมา ในขณะที่ Kant (1781, อา้ งถึงใน Suxxxxxx, 1989) มองวา ประสาท สัมผส จะเป็ นประตูเปิ ดออกสู่โลกและเป็ นฐานที่มาของความรู้ โดยมีศก ยภาพที่เป็ นแก่นแกนของ จิตท่ีสามารถสร้างมโนทศน์และกรอบความคิดทุกชนิดให้เป็ นระเบียบ เช่น กรอบของมิติเวลา สถานท่ี หรือการเช่ือมโยงความเป็ นเหตุเป็ นผลของส่ิงต่างๆ เป็ นตน้ ต่อมา Kant (1781, อา้ งถึงใน Sullivan, 1989) ไดน า˚ เสนอ “โลกของสิ่งที่มีอยูจ ริง” (Noumena) เป็ นโลกท่ีเป็ นที่อยขู อง “ตวตน” (Self) ไม่อาจรับรู้หรือเขา้ ใจไดโ ดยประสาทสัมผส แต่ สามารถรับรู้หรือเขา้ ใจไดด วยเหตุผล เป็ นสิ่งท่ีอยูน อกเหนือประสบการณ์ เรียกตว ตนน้ีวา “ตวตน เหนือโลกเชิงประจก ษ์” (Transcendenal Self) ซ่ึงมีความเชื่อมโยงกบ ความเป็ นมาของศก ด์ิศรี และ รากฐานทางศีลธรรม Kant (1781, อางถึงใน Sullivan, 1989) ยงั กล่าวต่อไปอีกวา มนุษยม ีศก ยภาพที่ จะกา˚ หนดทิศทางของตนเองในเชิงจริยธรรม มีอิสรภาพท่ีจะเลือกกระทา˚ ส่ิงต่างๆ โดยปราศจากแรง บีบของส คม แรงกดดน ของธรรมชาติ หรือแมแต ิทธิพลความเชื่อทางศาสนา โดยพลงั แห่งเหตุผล จะกา˚ หนดหนา้ ท่ีทางจริยธรรมของมนุษย์ ซ่ึงจิตส˚านึกทางศีลธรรมจะเป็ นแก่นแกนของความรู้สึก อนเป็ นตว ตนของบุคคลน้นั Willhelm (2003) ไดแ สดงทศ นะท่ีแตกต่างไปจาก Descartes โดยกล่าวว่า โลก ภายนอกมีส่วนจา˚ เป็ นในกระบวนการสร้างและนิยามของจิตส˚านึก ตวตนท่ีสมบูรณ์ขึ้นเร่ือยๆ ตอง ปฏิเสธการจา˚ กด กรอบที่หยุดนิ่ง และตอ งอาศย การตระหนก และนา˚ พาโลกภายนอกให้เขา้ มาเป็ น ส่วนหน่ึง...
กรอบแนวคิดการวิจัย. Denotation Process Connotation Process เพลงสมัย เพลง นิยม ทางเลือก เพลง อภิชัย ตระกูลเผด็จ กร นราธิป ปานแร่ เพลงทางเลือก เพลงสมัยนิยม ผู้ร่วมงาน ผู้เชี่ยวชาญหรือนักวิชาการ

Related to กรอบแนวคิดการวิจัย

  • การใช้เรือไทย ในการปฏิบัติตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างจะต้องสั่งหรือนําของเข้ามาจากต่างประเทศรวมทั้ง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องนําเข้ามาเพื่อปฏิบัติงานตามสัญญา ไม่ว่าผู้รับจ้างจะเป็นผู้ที่นําของเข้ามาเองหรือนําเข้ามา โดยผ่านตัวแทนหรือบุคคลอื่นใด ถ้าสิ่งของนั้นต้องนําเข้ามาโดยทางเรือในเส้นทางเดินเรือที่มีเรือไทยเดินอยู่และ สามารถให้บริการรับขนได้ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกําหนด ผู้รับจ้างต้องจัดการให้สิ่งของ ดังกล่าวบรรทุกโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยจากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากกรมเจ้าท่าก่อนบรรทุกของนั้นลงเรืออื่นที่มิใช่เรือไทยหรือเป็นของที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประกาศยกเว้นให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้ ทั้งนี้ไม่ว่าการสั่งหรือนําเข้าสิ่งของดังกล่าวจากต่างประเทศจะเป็นแบบใด ในการส่งมอบงานตามสัญญาให้แก่ผู้ว่าจ้าง ถ้างานนั้นมีสิ่งของตามวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างจะต้อง ส่งมอบใบตราส่ง (Bill of Lading) หรือสําเนาใบตราส่งสําหรับของนั้น ซึ่งแสดงว่าได้บรรทุกมาโดยเรือไทยหรือเรือที่ มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยให้แก่ผู้ว่าจ้างพร้อมกับการส่งมอบงานด้วย ในกรณีที่สิ่งของดังกล่าวไม่ได้บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทยโดยเรือไทยหรือเรือที่มี สิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย ผู้รับจ้างต้องส่งมอบหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้รับอนุญาตจากกรมเจ้าท่า ให้บรรทุกของโดยเรือ อื่นได้หรือหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้ชําระค่าธรรมเนียมพิเศษเนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรือไทยตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวีแล้วอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ผู้ว่าจ้างด้วย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ส่งมอบหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวในวรรคสองและวรรคสามให้แก่ ผู้ว่าจ้าง แต่จะขอส่งมอบงานดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างก่อนโดยไม่รับชําระเงินค่าจ้าง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิรับงานดังกล่าวไว้ก่อน และชําระเงินค่าจ้างเมื่อผู้รับจ้างได้ปฏิบัติถูกต้องครบถ้วนดังกล่าวแล้วได้

  • การควบคุมงานโดยผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างตกลงว่าคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง มีอำนาจที่จะ ตรวจสอบและควบคุมงานเพื่อให้เป็นไปตาม สัญญานี้ และมีอำนาจที่จะสั่งให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือตัดทอนซึ่งงานตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างขัดขืน ไม่ปฏิบัติตาม ผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษา มีอำนาจ ที่จะสั่งให้หยุดการ นั้นชวคราวได้ ความล่าชา้ ในกรณีเช่นนี้ ผู้รับจ้างจะถือเป็นเหตุขอขยายระยะเวลา การปฏิบัติงานตามสัญญาหรือเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ ไม่ได้ทงสิ้น

  • การตรวจงานจ้าง ถ้าผู้ว่าจ้างแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อควบคุมการทำงานของผู้ รับจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานนั้ มีอำนาจเข้าไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที่ก่อสร้างได้ ทุกเวลา และผู้รับจ้างจะต้องอำนวยความสะดวกและให้ความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทำให้ผู้รับจ้างพน้ ความรับผิดชอบ ตามสัญญานี้ข้อใดข้อหนึ่งไม่

  • การรับประกันความชํารุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • การทําสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทำสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุ ในข้อ ๑.๓ หรือทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับ แจ้ง และจะต้องวางหลักประกันสัญญาเป็นจำนวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ยึดถือไว้ในขณะทำสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ๖.๒ เงินสด เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือ ดราฟท์นั้น ชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันทำสัญญา หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ ๖.๓ หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ นโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ๖.๔ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ ไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการ ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • การจ่ายเงินแก่ลูกจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายเงินแก่ลูกจ้างที่ผู้รับจ้างได้จ้างมาในอัตราและตามกําหนดเวลาที่ผู้รับจ้างได้ ตกลงหรือทําสัญญาไว้ต่อลูกจ้างดังกล่าว ถ้าผู้รับจ้างไม่จ่ายเงินค่าจ้างหรือค่าทดแทนอื่นใดแก่ลูกจ้างดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่ จะเอาเงินค่าจ้างที่จะต้องจ่ายแก่ผู้รับจ้างมาจ่ายให้แก่ลูกจ้างของผู้รับจ้างดังกล่าว และให้ถือว่าผู้ว่าจ้างได้จ่ายเงิน จํานวนนั้นเป็นค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามสัญญาแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีประกันภัยสําหรับลูกจ้างทุกคนที่จ้างมาทํางาน โดยให้ครอบคลุมถึงความ รับผิดทั้งปวงของผู้รับจ้าง รวมทั้งผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ในกรณีความเสียหายที่คิดค่าสินไหมทดแทนได้ตาม กฎหมาย ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุหรือภยันตรายใด ๆ ต่อลูกจ้างหรือบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง หรือผู้รับจ้างช่วงจ้างมา ทํางาน ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวพร้อมทั้งหลักฐานการชําระเบี้ยประกันให้แก่ผู้ว่าจ้างเมื่อ ผู้ว่าจ้างเรียกร้อง

  • การตรวจรับ เม่ือผู้ซื้อได้ตรวจรับสิ่งของท่ีส่งมอบและเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาแล้ว ผู้ซื้อจะออกหลักฐานการรับมอบเป็นหนังสือไว้ให้ เพื่อผู้ขายนํามาเป็นหลักฐานประกอบการขอรับเงิน ค่าสิ่งของนั้น ถ้าผลของการตรวจรับปรากฏว่า สิ่งของที่ผู้ขายส่งมอบไม่ตรงตามข้อ ๑ ผู้ซื้อทรงไว้ ซึ่งสิทธิท่ีจะไม่รับสิ่งของนั้น ในกรณีเช่นว่านี้ ผู้ขายต้องรีบนําสิ่งของนั้นกลับคืนโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้ และนําสิ่งของมาส่งมอบให้ใหม่ หรือต้องทําการแก้ไขให้ถูกต้องตามสัญญาด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ขายเอง และระยะเวลาท่ีเสียไปเพราะเหตุดังกล่าวผู้ขายจะนํามาอ้างเป็นเหตุขอขยายเวลาส่งมอบตามสัญญาหรือ ของดหรือลดค่าปรับไม่ได้

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • ความรับผิดของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใด ๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้าง และจะต้องรับผิดต่อความเสียหายจากการกระทําของลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง และจากการ ปฏิบัติงานของผู้รับจ้างช่วงด้วย (ถ้ามี) ความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่งานที่ผู้รับจ้างได้ทําขึ้น แม้จะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผู้รับ จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยซ่อมแซมให้คืนดีหรือเปลี่ยนให้ใหม่โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง เว้นแต่ความเสียหายนั้น เกิดจากความผิดของผู้ว่าจ้าง ทั้งนี้ ความรับผิดของผู้รับจ้างดังกล่าวในข้อนี้จะสิ้นสุดลง เมื่อผู้ว่าจ้างได้รับมอบงาน ครั้งสุดท้าย ซึ่งหลังจากนั้นผู้รับจ้างคงต้องรับผิดเพียงในกรณีชํารุดบกพร่อง หรือความเสียหายดังกล่าวในข้อ 8 เท่านั้น ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในความเสียหายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงานของผู้ รับจ้าง หรือลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง รวมถึงผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ตามสัญญานี้ หากผู้ว่าจ้างถูกเรียกร้องหรือ ฟ้องร้องหรือต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกไปแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการใด ๆ เพื่อให้มีการว่าต่างแก้ต่าง ให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง รวมทั้งผู้รับจ้างจะต้องชดใช้ค่าเสียหายนั้น ๆ ตลอดจนค่าใช้จ่ายใด ๆ อันเกิดจากการถูกเรียกร้องหรือถูกฟ้องร้องให้แก่ผู้ว่าจ้างทันที

  • การหักเงินประกันผลงาน ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างแต่ละงวด ผู้ว่าจ้างจะหักเงินจำนวนร้อยละ - ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนนั้ เพื่อเป็นประกันผลงาน ในกรณีที่เงินประกันผลงานถูกหักไว้แลวเป็นจำนวนเงินไม่ต่ำกว่า - บาท ผู้รับจ้างมีสิทธที่จะขอเงินประกันผลงาน คืน โดยนำหนังสือค้ำประกันของธนาคารหรือหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งออกโดยธนาคารภายในประเทศมามอบให้ผู้ว่าจ้างเพื่อ เป็นหลักประกันแทนก็ได้ ผู้ว่าจ้างจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคารดังกล่าวตามวรรคหนึ่งโดยไม่มี ดอกเบี้ยให้แก่ผู้รับจ้างพร้อมกับการจ่ายเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย