การระงับข้อพิพาท ข้อกำหนดตัวอย่าง

การระงับข้อพิพาท. 32.1 ในกรณีที่มีข้อพิพาทเกิดขึ้นเกี่ยวกับข้อกำหนดของสัญญาเช่า หรือการปฏิบัติตามสัญญานี้ คู่สัญญาจะต้องทำการแก้ไขข้อพิพาทโดยการเจรจาก่อน หากไม่สามารถแก้ไขหรือหาข้อยุติสำหรับข้อพิพาท ดังกล่าวได้ให้คู่สัญญานำข้อพิพาทดังกล่าวเข้าสู่การพิจารณาของศาลไทย คู่สัญญาตกลงให้ถือเอากฎหมายไทย เป็นหลักในการบังคับใช้ต่อกัน และใช้ภาษาไทยเป็นภาษาในการดำเนินกระบวนการพิจารณา 32.2 ในระหว่างที่ข้อพิพาทอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล ให้คู่สัญญายังคงต้องปฏิบัติตาม ข้อกำหนดในสัญญาเช่าต่อไปจนกว่าจะมีคำพิพากษาถึงที่สุด โดยไม่อาจอ้างข้อขัดแย้ง หรือข้อพิพาทดังกล่าว เพื่อเป็นเหตุหยุดหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญาเช่า เว้นแต่กรณีที่มีการเลิกสัญญาเช่า
การระงับข้อพิพาท. [ภาคผนวก 2 ข้อสัญญาเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาททางเลือก]
การระงับข้อพิพาท. ใหระงับความแตกต่างหรือข้อพิพาทใด ๆ ระหว่างบรรดาภาคี อันเกิดจากการตีความหรือการบังคับใช้ บทบัญญัติของอนุสัญญานี้อย่างฉนมิตร โดยการหารือและการเจรจาระหว่างบรรดาภาคี ผ่านช่องทางการทูต หรือสันติวิธีอ่ืน ๆ เพื่อการระงับข้อพิพาท ตามท่ีได้ตกลงกันระหว่างบรรดาภาคี
การระงับข้อพิพาท. คู่สัญญาตกลงให้ กสทช. เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากสัญญานี้ ซึ่งเป็นข้อพิพาทที่ กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจชี้ขาดของ กสทช. ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายในอันที่จะยื่นคำฟ้องหรือ คำร้องต่อศาล เพื่อใช้กระบวนการระงับข้อพิพาทตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพิจารณาชี้ขาด การยุติข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐและการดำเนินคดี พ.ศ. ๒๕๖๑ สำหรับข้อพิพาทใด ๆ ที่กฎหมายไม่ได้กำหนดให้เป็นอำนาจชี้ขาดของ กสทช. คู่สัญญาจะต้องร่วมกัน พิจารณาหาข้อยุติ หากคู่สัญญาไม่สามารถหาข้อยุติภายใน XX วันทำการ นับจากวันที่เกิดข้อพิพาท ให้ยื่นข้อ พิพาทต่อศาล ใช้กระบวนการระงับข้อพิพาทตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพิจารณาชี้ขาดการยุติ ข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐและการดำเนินคดี พ.ศ. ๒๕๖๑
การระงับข้อพิพาท. 1. กรณีเกิดข้อพิพาทระหว่างประเทศภาคีสองประเทศ หรือมากกว่า เกี่ยวกับการตีความหรือการบังคับใช้ความตก ลงฉบับนี้ ประเทศภาคีดังกล่าวต้องหาทางออกด้วยการเจรจาหรือด้วยวิธีการระงับข้อพิพาทอื่นใดที่ประเทศภาคี ยอมรับให้นํามาใช้กับข้อพิพาท 2. กรณีมีการลงนาม การให้สัตยาบัน การยอมรับ การให้ความเห็นชอบ หรือการภาคยานุวัตความตกลงฉบับนี้ หรือในเวลาใดก็ตามหลังจากนี้ สําหรับกรณีที่ข้อพิพาทไม่อาจระงับได้ด้วยวิธีการตามวรรค 1 ของข้อนี้ ประเทศ ภาคีฝ่ายหนึ่งอาจแจ้งไปยังหน่วยงานหรือบุคคลผูมีหนาที่ดูแลรักษาความตกลงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรว่า ประเทศตนยอมรับวิธีการระงับข้อพิพาทข้อใดข้อหนึ่งหรือทั้งสองข้อต่อไปนี้โดยสภาพบังคับที่สัมพันธ์กับประเทศ ภาคีใดที่ยอมรับพันธกรณีเดียวกัน ดังนี้ (ก) การเสนอข้อพิพาทเข้าสู่การพิจารณาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ข) การตัดสินชี้ขาดโดยอนุญาโตตุลาการตามระเบียบวิธีการซึ่งที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีจะกําหนด ขึ้น 3. กรณีที่ประเทศภาคีซึ่งมีข้อพิพาทระหว่างกันยอมรับวิธีการระงับข้อพิพาททั้งสองวิธีตามที่ปรากฏใน วรรค 2 ของข้อนี้ การดําเนินการอาจจะเพียงแค่เสนอข้อพิพาทนั้นไปยังศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หากประเทศภาคีไม่ เห็นชอบเป็นอย่างอื่น 1. ประเทศภาคีอาจเสนอขอแก้ไขความตกลงฉบับนี้
การระงับข้อพิพาท. ข้อพิพาทใดๆ ระหว่างรัฐภาคีแห่งอนส ญญาฉบบนี ้ ที่เกี่ยวข้องกบ การตีความ หรือการปรับใช้ ซงึ่ ไม่สามารถระงบ ด้วย วิธีการอื่นได้ ให้รัฐภาคีคกรณีแห่งข้อพิพาทดงั กล่าว ร้องขอต่อศาลยติธรรมระหวา่ งประเทศเพื่อพิจารณาต่อไป
การระงับข้อพิพาท. 1. หากเกิดข้อพิพาทขึ้นระหว่างภาคีสองฝ่ายขึ้นไปเกี่ยวกับการตีความหรือการบังคับใช้อนุสัญญานี้ ทุกฝ่ายจะต้อง หาทางแก้ไขโดยการเจรจาหรือด้วยวิธีอื่นใดในการระงับข้อพิพาทที่คู่พิพาทยอมรับได้ 2. เมื่อลงนาม ให้สัตยาบัน ยอมรับ อนุมัติ หรือปฏิบัติตามอนุสัญญานี้ หรือในเวลาใดก็ตามหลังจากนั้น ภาคีอาจ ประกาศเป็นลายลักษณ์อักษรต่อผู้รับฝากว่า สําหรับข้อพิพาทที่ไม่ได้รับการแก้ไขตามวรรค 1 ข้างต้น จะยอมรับ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง วิธีการระงับข้อพิพาทต่อไปนี้เป็นภาคบังคับที่เกี่ยวข้องกับภาคีใด ๆ ที่ยอม รับภาระผูกพันเดียวกัน (ก) การยื่นข้อพิพาทต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ข) อนุญาโตตุลาการตามขั้นตอนที่กําหนดไว้ในภาคผนวก 2 3. หากคู่พิพาทยอมรับวิธีการระงับข้อพิพาททั้งสองวิธีตามที่อ้างถึงในวรรค 2 ข้างต้น ข้อพิพาทอาจถูกส่งไปยังศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศเท่านั้น เว้นแต่คู่พิพาทจะตกลงเป็นอย่างอื่น
การระงับข้อพิพาท. 1. ในกรณีที่มีขอ พิพาทระหวา่ งภาคีเกี่ยวกบ การตีความ หรือการใช้ หรือการปฏิบต ิตามอนุสัญญาน้ีหรือพิธี สารใดๆ ภาคีจะหาทางระงบ ขอพิพาทโดยการเจรจาหรือดวยสันติวธ ีอื่นใดตามที่ตนจะเลือกได 2. หากภาคีท่ีเกี่ยวขอ งไม่สามารถระงบ ขอพิพาทโดยวธ ีดงั กล่าวในวรรคก่อนได้ และหากฝ่ ายในขอ พิพาท ตกลงกน ใหเ้ สนอขอ พิพาทต่อศาลยต ิธรรมระหวา่ งประเทศหรือการอนุญาโตตุลาการภายใตเ้ งื่อนไขที่ระบุ ไวในภาคผนวก 6 วา่ ดว ยการอนุญาโตตุลาการ อยา่ งไรก็ตามการไม่สามารถตกลงร่วมกน ไดใ้ นการเสนอขอ พิพาทต่อศาลยต ิธรรมระหวา่ งประเทศหรือการอนุญาโตตุลาการ จะไม่ทา˚ ใหภ าคีพน จากความรับผด ชอบที่ จะตอ งแสวงหาทางระงบ ขอพิพาทต่อไป โดยวธ ีท่ีอา้ งถึงในวรรค 1 3. ในขณะท่ีใหส ัตยาบน ใหก ารยอมรับ ใหค วามเห็นชอบ ใหก ารยน ยนอยา่ งเป็ นทางการหรือภาคยานุวต อนุสัญญาน้ี หรือในเวลาใดก็ตามหลงั จากน้น รัฐหรือองคก ารความร่วมมือทางการเมืองและ/หรือเศรษฐกิจ อาจประกาศวา่ ตนยอมรับการบงั คบ โดยอต โนมต ิ และโดยปราศจากความตกลงพิเศษเก่ียวกบ การยอมรับ พนธกรณีเดียวกนของภาคีใด (ก) การเสนอขอ พิพาทต่อศาลยต ิธรรมระหวา่ งประเทศ และ/หรือ (ข) การอนุญาโตตุลาการตามวธีดาเนนกาิ รที่ระบุไวในภาคผนวก 6 การประกาศเช่นวา่ จะตอ งไดร ับการแจง เป็ นลายลก ษณ์อก ษรไปยงั สา˚ นก เลขาธิการซ่ึงจะแจง้ การประกาศ น้นไปยงั ภาคี
การระงับข้อพิพาท. ในกรณีที่มีข้อพิพาทใดๆ เกิดขึ้นตามสัญญาฉบับนี้ หรือเกี่ยวเนื่องกับสัญญาฉบับนี้ คู่สัญญาตกลงจะเสนอข้อพิพาทที่เกิดขึ้นต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เพื่อดำเนินการไกล่เกลี่ย หากมิอาจดำเนินการไกล่เกลี่ยตกลงกันได้ ให้มอบข้อพิพาทดังกล่าวแก่อนุญาโตตุลาการเป็นผู้ชี้ขาดตามข้อบังคับกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วยอนุญาโตตุลาการด้านทรัพย์สินทางปัญญาและข้อบังคับว่าด้วยการประนอมข้อพิพาทด้านทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งใช้บังคับอยู่ในขณะที่มีการเสนอข้อพิพาทเพื่อการอนุญาโตตุลาการ และให้อยู่ภายใต้การดำเนินการของกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และตกลงให้คำวินิจฉัยชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการดังกล่าวมีผลผูกพันคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย
การระงับข้อพิพาท. ข้อพิพาทใดๆ ระหว่างรัฐภาคีแห่งอนุสัญญานี้ที่เกี่ยวกับการตีความหรือการบังคับใช้ ซึ่งไม่สามารถระงับได้โดยวิธีอื่นๆ จะต้องให้ส่งไปยังศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดย การร้องขอของรัฐคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง