ข้อเสนอแนะ. ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒนาและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของ
ข้อเสนอแนะ. ผู้เขียนเห็นว่า ในการที่คู่สัญญาในสัญญาพาณิชย์ ระหว่างประเทศที่ประสงค์จะเลือกใช้วิธีการระงับข้อ พิพาทในสัญญาพาณิชย์ระหว่างประเทศดังกล่าวโดย วิธีการอนุญาโตตุลาการควรจะได้ศึกษากฎหมายว่า ด้วยการอนุญาโตตุลาการของประเทศนั้นๆ อย่าง ถี่ถ้วน เพื่อให้การบังคับให้คู่สัญญาปฏิบัติตามสัญญา อนุญาโตตุลาการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การ เขียนสัญญาอนุญาโตตุลาการจะต้องทำาตามแบบที่ กฎหมายของประเทศนั้นๆ บัญญัติไว้ รวมถึงคู่สัญญา จะต้องพิจารณาใช้ข้อกฎหมายที่เหมาะสมกับข้อพิพาท ความรู้ความเชี่ยวชาญด้านภาษาและกฎหมาย ของ ประเทศนั้นๆ และควรจะได้พิจารณาแต่งตั้งอนุญาโต ตุลาการที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญใน สาขาที่พิพาทหรือ ที่เกี่ยวข้องกับข้อพิพาท และควรจะมีความรู้และความ เข้าใจในกระบวนการอนุญาโตตุลาการเป็นอย่างดี นอกจากนี้ สำาหรับประเทศไทยนั้นประเด็น ที่สำาคัญที่ควรได้รับการแก้ไข คือ การบังคับตามคำาชี้ขาด ของอนุญาโตตุลาการที่ทำาขึ้นในประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี ในอนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับนับถือและบังคับตามคำา ชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ (อนุสัญญา กรุงนิวยอร์ค) ค.ศ. 1958 ซึ่งสามารถใช้บังคับในศาล ประเทศไทยได้โดยเป็นผลมาจากขณะลงนามในอนุสัญญา ดังกล่าวประเทศไทยไม่ได้ตั้งข้อสงวนใดๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะ เรื่องต้องเป็นเรื่องในทางพาณิชย์ หรือคำาชี้ขาดต้องมา จากประเทศภาคีเท่านั้น โดยประเทศไทยไม่อาจออก กฎหมายภายในเพื่อแก้ไขหรือทำาลายสิทธิที่ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับ นับถือและบังคับตามคำาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ระหว่างประเทศ (อนุสัญญากรุงนิวยอร์ค) ค.ศ.1958 มีอยู่ตามอนุสัญญา หากประเทศไทยจะเริ่มตั้งขอสงวน ประเทศไทยต้องถอนตัวจากอนุสัญญาแล้วสมัครกลับ เข้าไปใหม่โดยมีข้อสงวนต่างๆ เช่น ศาลไทยจะบังคับ ตามคำาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการให้เฉพาะประเทศ ที่เป็นภาคีอนุสัญญาและเป็นข้อพิพาททางพาณิชย์ เท่านั้น เป็นต้น และในทางกลับกัน หากประเทศไทยนำา คำาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการที่ทำาขึ้นในประเทศไทย ไปร้องขอให้ประเทศอื่นที่มิได้เป็นภาคีของอนุสัญญา อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับนับถือและบังคับตามคำา ชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ (อนุสัญญา กรุงนิวยอร์ค) ค.ศ. 1958บังคับตามคำาชี้ขาดดังกล่าว ผู้เขียนเห็นว่า กรณีเช่นนี้ประเทศที่ได้รับการร้องขอก็ไม่ น่าจะบังคับให้ตามคำาชี้ขาด เนื่องจากประเทศดังกล่าว มิได้เป็นภาคีของอนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับนับถือและ บังคับตามคำาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ (อนุสัญญากรุงนิวยอร์ค) ค.ศ. 1958 ทำาให้ไม่มีพันธกรณี ที่จะต้องปฏิบัติตามอนุสัญญาดังกล่าว นอกจากนี้ ผู้เขียนยังเห็นว่า ประเทศไทยควรมี กฎหมายซึ่งบัญญัติให้มีการยอมรับบังคับใช้ข้อตกลง เลือกศาลในสัญญาพาณิชย์ระหว่างประเทศไว้อย่างชัดเจน แต่ควรเป็นไปอย่างมีขอบเขตจำากัด กล่าวคือ การจำากัด เขตอำานาจศาลตามข้อตกลงเลือกศาลในสัญญาพาณิชย์ ระหว่างประเทศ โดยจำากัดเฉพาะข้อตกลงเลือกศาล เฉพาะศาลที่มีความเกี่ยวพันระหว่างปร...
ข้อเสนอแนะ. กรณีไม้ยืนต้นเป็นทรัพย์สินอื่นที่ใช้เป็นหลักประกันทางธุรกิจได้ตามกฎกระทรวงนั้น เนื่องจากมาตรา ๗ พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ และแก้ไขเพิ่มเติมจากประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับ ที่ ๑๐๖/๒๕๕๗ได้กําหนดให้ชนิดไม้ ๑๘ ชนิด เป็น “ไม้หวงห้ามประเภท ก.” ได้แก่ ไม้สัก ไม้ยาง ไม้พะยูง เป็น ต้น ไม่ว่าจะขึ้นอยู่ที่ใดในราชอาณาจักร ซึ่งต้องมีการขออนุญาตก่อนตัดโค่น หากมีการใช้ในที่ดินของตนเองโดย ไม่ได้รับการอนุญาต จะต้องรับโทษ ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงสองล้านบาท ประชาชนทั่วไป ได้สะท้อนว่าบทบัญญัตินี้มีขั้นตอนการขออนุญาตที่มีความซับซ้อน โดยที่ทางการขาดการให้ความรู้แก่ประชาชน จึงทําให้ประชาชนจํานวนมากไม่ทราบว่าต้องมีการขออนุญาตในการทําไม้หวงห้ามประเภท ก. ตามชนิดไม้ ดังกล่าว จึงสร้างความหวาดกลัวกับประชาชนว่าหากทําไม้จะถูกจับ มาตราดังกล่าวจึงไม่ส่งเสริมแรงจูงใจให้ เกษตรกรและอุตสาหกรรมไม้ได้อย่างแท้จริง การยกเลิกมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ฯ ก็เพื่อที่จะทําให้ ไม่มีการกําหนดไม้ในประเภทดังกล่าวถูกตีความว่า เป็นไม้หวงห้ามในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ของประชาชนอีกต่อไป อย่างไรก็ตาม การแก้ไขให้ไม้ทุกชนิดในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตาม ประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้ามนั้น ก็อาจก่อให้เกิดปัญหาในการลักลอบตัดไม้ในเขตที่ดินของรัฐแล้ว นํามาสวมเป็นไม้ในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินได้ ดังนั้นจึงเป็นเรื่อง สําคัญที่ภาครัฐควรมีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับไม้ยืนต้นให้เกิดความชัดเจนและเหมาะสม
ข้อเสนอแนะ. 10.1 จากการวิเคราะห์พบว่ากระบวนการรับยานพาหนะเข้าซ่อมกองโรงงานช่างกลมีราย ระบบ โดยต้องรอให้ซ่อมเสร็จที่ระบบ ทําให้เกิดความล่าช้า ผู้เสนอผลงาน จึงเห็นว่าควรจัดจุดบริการ แบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ one stop service เป็นการอํานวยความสะดวก แก่ผู้รับบริการให้สามารถรับ บริการต่างๆได้ ณ จุดเดียว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถใช้ร่วมทั้งสถานที่ บุคลากรตลอดจน เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้การให้บริการมีความรวดเร็วขึ้น และเป็นการนํา เจ้าหน้าที่ของหลายระบบงานมาทํางานรวมอยู่ที่จุดเดียวกันเพื่อให้การซ่อมยานพาหนะเป็นไปด้วยความ รวดเร็วไม่ล่าช้า
10.2 จัดให้มีการประชุมหัวหน้าฝ่ายทุกฝ่ายในการรับทราบวิธีการจัดหาอะไหล่โดยทําสัญญา จะซื้อจะขาย แบบราคาคงที่ไม่จํากัดปริมาณ (open end)
10.3 จัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน เผยแพร่ภายในหน่วยงาน ประกอบไปด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ - กฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน - ขั้นตอนการดําเนินงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนงานแล้วเสร็จ - คําแนะนําการทํางาน ข้อสังเกต ข้อควรระวัง เป็นคู่มือการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
ข้อเสนอแนะ. 2.1 จดั ทำคูมือการปฏิบัติงานและปฏิทินการทำงาน แจงใหทุกกลุมทราบเพื่อใชถือเปนแนวรวมกันอีกคร้ัง เพ่ือใชสำหรับเปนการกำกับติดตาม และเรงร การดำเนินการ
2.2 กรมบัญชีกลางทำระบบ E-GP ให ีประสิทธภิ าพมากยิ่งข
2.3 ลดบางขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไมจำเปนระบบ E-GP เพ่ือใหการทำงานเสร็จเร็วขึ้น
2.4 สงเจาหนา ที่ผูเกี่ยวของ เขารับการอบรมสัมมนา เพ่ือพ นาความรูความสามารถอยางตอเนื่อง
2.5 ใหผูที่ตองการใชพัสดุมีการวางแผนการดำเนินงานใหสอดคลองกับมาตรการเรงรัดการเบิกจายและ ให วามสำคัญตอกระบวนการจัดซื้อจัดจ งเพื่อใหเ กิดความคลองต มากยิ่งขึ้น
2.6 จ กรอบอัตรากำลัง บรรจุแตงตัง้ บุคลากร ใหปฏิบัติหนาที่เก่ียวกบั การพัสดุเพียงพอ เสริมสรางขวัญ กำลังใจในการปฏิบ ิงาน เพอ่ื ใหมีการผูเขา มาปฏิบตั ิงานพัสดุมากขึ้น
2.7 สรางความเขาใจใหกับผูท่ีเก่ียวของในการปฏิบัติงานพัสดุ เพื่อไมใหขาดแคลนเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน ดานพัสดุอีก
ข้อเสนอแนะ. 1. ให้ผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างได้รับการฝึกอบรมระเบียบพัสดุ และขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างอย่างต่อเนื่องเป็นประจําทุกปี
ข้อเสนอแนะ. ปัญหาทางนโยบาย รัฐบาลไทยต้องให้ความส าคัญกับกระบวนการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟัง ข้อมูลให้รอบด้านมากขึ้น ให้สิทธิแก่ผู้มีส่วนได้เสียและนักวิชาการที่เกี่ยวข้องร่วมพิจารณาหรือด าเนินการด้วย และที่ ส าคัญต้องมีมาตรการดูแลหรือเยียวยาด้วยวิธีการที่เหมาะสมส าหรับผู้ประกอบอาชีพประมงที่ต้องหยุดหรือเปลี่ยน อาชีพไป ซึ่งจากการศึกษาพบว่ามีเพียงมาตรการรับซื้อเรือหรือเครื่องมือการท าประมงจากชาวประมงเท่านั้นซึ่งยังไม่ เพียงพอ นอกจากนี้ในด้านระหว่างประเทศ ประเทศไทยก็ควรแสดงบทบาทส าคัญในการส่งเสริมความร่วมมือทาง ทะเลในระดับภูมิภาคด้วย เช่น การจัดท าความตกลงกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน เพื่อผลักดันให้การต่อต้านการ ประมง IUU เป็นวาระส าคัญในภูมิภาคอาเซียน เพื่อป้องกัน ยับยั้งและขจัดการท าประมง IUU ในภูมิภาค และผลักดัน ให้มีการจัดท านโยบายร่วมด้านการประมงในอาเซียน เพื่อส่งเสริมการท าประมงอย่างยั่งยืน เพื่อความมั่นคง ทาง อาหารและการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล
ข้อเสนอแนะ. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประเด็นความพึงพอใจ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้ดังต่อไปนี้
ข้อเสนอแนะ. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้ดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลปัญหาในการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตําบลสงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มีดังนี้
2. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการให้การบริการขององค์การบริหารส่วนตําบลสงยาง อําเภอมหา ชนะชัย จังหวัดยโสธร มีดังนี้
ข้อเสนอแนะ. ๑. การจัดกิจกรรมในช่วงต้นเดือนธันวาคมเหมาะสมมากเพราะสภาพสนามและบริบทต่างๆพร้อม ๒. ประชาสัมพันธ์ทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการจัดการแข่งขันนำโดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖