คํานํา ข้อกำหนดตัวอย่าง

คํานํา. ข้อเสนอการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Reference Interconnection Offer : RIO) ฉบับนี้ เป็นของบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม เลขที่ 3ก/48/001 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2548 จากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ เพื่อให้ผู้ขอเชื่อมต่อใช้ประกอบการพิจารณาในการตัดสินใจก่อนทําสัญญาเชื่อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคมกับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)
คํานํา. การสํารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตําบล สงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผลที่ได้จากการประเมินนําไปพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการแก่ผู้รับบริการ เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นที่พึง พอใจแก่ผู้รับบริการ ตามเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ นอกจากนี้แล้วยังสามารถนําไปประกอบการพิจารณาในการกําหนดประโยชน์ตอบแทนให้กับ ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอีกด้วย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้รับความไว้วางใจจากองค์การ บริหารส่วนตําบลสงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ให้เป็นผู้ดําเนินการสํารวจความพึง พอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตําบลสงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ซึ่งนับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่สถาบันฯ ได้มีส่วนร่วมในการก่อให้เกิดความร่วมมือและ ให้บริการทางวิชาการให้กับท้องถิ่น ขอขอบคุณประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลสงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตําบลสงยางที่มี ส่วนร่วมในการให้ข้อมูลจนทําให้การดําเนินการวิจัยในครั้งนี้ สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คํานํา. ข้อตกลงในการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงาน การสอนตามจุดเน้นของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยยาง จัดทําขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือและแนวทางการ ปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านห้วยยาง เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนเป็นเครื่องมือ กํากับ ติดตามและนิเทศการศึกษาของผู้บริหาร โรงเรียนการบริหารการศึกษาในด้านอื่นๆ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาซึ่งสอดคล้องกับจุดเน้นของ โรงเรียน และแนวนโยบายการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสกลนคร เขต ๑ ที่กําหนดไว้ นอกจากนี้ผลจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจาก เอกสารเล่มนี้ ยังใช้คะแนนในการพิจารณาการเลื่อนเงินเดือนและค่าตอบแทนอื่นๆ การพัฒนาเสริมสร้าง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เพื่อให้ขวัญกําลังใจและยกย่องเชิดชูเกียรติ อย่างเป็นรูปธรรม ขอขอบคุณเจ้าของเอกสาร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่ทําให้เอกสารเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์สามารถนําไปสู่การ ปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรม นางสุนันท์ หลวงศรี ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านห้วยยาง ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ คํานํา ก สารบัญ ข บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการยกระดับคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ค คําชี้แจงการจัดทําตัวชี้วัด (KPI) ๑
คํานํา. 1.1 เอกสารแรกเขšา(Welcome Pack)นจี้ ัดทำขน้ึ เพื่อใคร เอกสารแรกเขšานี้ไดšรับการพัฒนาขึน้ โดย ‘คณะทำงานเพื่อสรšางความเปŨนสากล(WGT)’ เอกสารชุด นีอ้ อกแบบขึ้นเพื่อแสดงใหšเห็นถึงภาพรวมเบื้องตšนของกระบวนการและพันธกรณีของสนธิสัญญาการคšาอาวุธ สำหรบั รัฐทีเ่ ปŨนรัฐภาคีใหม'หรือรัฐท่ีสนใจเรียนรูšเพิ่มเติมเก่ียวก สนธิสัญญา สนธิสัญญาว'าดšวยการคšาอาวุธ(ATT) คือ สนธิสัญญาระหว'างประเทศที่ควบคุมการคšาอาวุธตาม แบบ โดยใชšเกณฑŤสูงที่สุดในระดับสากลที่ควบคุมการเคลื่อนยšายอาวุธ เพื่อปŜองกันและขจัดการคšาและการ เคลื่อนยšายถ'ายโอนอาวุธตามแบบอย'างผิดกฎหมาย เปŜาหมายของ ATT ที่บัญญัติไวšในมาตราท่ี 1 คือ - เพ่ือสรšางมาตรฐานสากลท่ีสุงที่สุดท่ีเปŨนไปได ำหรับวางระเบียบหรือและปรับปรุงกฎระเบียบเก่ียวกับ การค อาวุธตามแบบ - ปŜองกันและลดจำนวนการค ขายอาวุธตามแบบอย'างผิดกฎหมาย และปŜองก การเปลี่ยนเสšนทางใน การเคลื่อนยšายถ'ายโอนอาวุธดังกล'าว โดยมีวัตถุประสงคŤ เพ่ือ - นำไปสู'สันติภาพ เสถียรภาพ และความม่นั - ลดสาเหตุแห'งความทุกขŤทรมานของมนุษย คงระหว'างประเทศและในระดับภูมิภาค - ส'งเสริมใหšเกิดความร'วมมือ สรšางความโปร'งใส และความรับผิดชอบระหว'างประเทศภาคีสมาชิกใน การคšาอาวุธ เพ่ือสรšางความเชื่อม่นั ระหว'างรัฐภาคี “นี่เปŨนการพลิกหนšาประวตั ิศาสตรŤใหม'ในความพยายามร'วมกันที่จะสรšางความรบั ผิดชอบ ความ เชื่อมั่น และความโปร'งใสสู'การคาš อาวุธโลก” บนั คี มูน (Ban Ki Moon)1 สนธิสัญญามีส'วนในการสรšางสันติภาพ ความปลอดภัยและความมั่นคงระหว'างประเทศและระดับ ภูมิภาค ในการลดทอนความเจ็บปวดของมนุษยŤและเพื่อการส'งเสริมความร'วมมือ ความโปร'งใส และความ รับผิดชอบของประเทศภาคีสมาชิก
คํานํา. จากนโยบายการขจัดความยากจนของรัฐบาลและแผนแกไขความยากจนของกระทรวงเกษตร และสหกรณ ที่เนนการใหความรูแกเกษตรกรเพื่อสรางปญญาในการแกปญหาความยากจนตามแนว ปร ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภายใตกลยุทธของ การดําเนินการแบบบูรณาการในทุกภาคสวนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ซึ่งการทํา การเกษตรระบบเกษตรพันธสัญญาเปนรูปแบบหนึ่งที่ทุกภาคสวนสามารถเขามามีบทบาทในการ ใหความรู ใหความรวมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตของเกษตรกรทําใหเกษตรกรมีรายได เพ ขึ้นและบรรเทาความยากจนของเกษตรกรในที่สุด สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ไดเห็นถึงความสําคัญของ ระบบเกษตรพันธสัญญาและทําการศึกษา เรื่อง เกษตรพันธสัญญาเพื่อบรรเทาความยากจน (กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม) เพื่อใหทราบถึงขอเท็จจริง ขอดี ขอเสีย ของระบบเกษตรพันธสัญญา ตลอดจนความเปนไปไดในการใชระบบเกษตรพันธสัญญาเปนกลไกหนึ่งในการบรรเทาความยากจน ของเกษตรกรในประเทศไทย และเพื่อใหสามารถนําขอมูลจากการศึกษาไปใชประโยชนประกอบการ กําหนดแนวนโยบายแกไขปญหาความยากจนของเกษตรกร หรือแนวทางในการพัฒนาดานอื่นๆ ทเกี่ยวของ
คํานํา. ตํำบลนำขุนไกร อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย เป็นตํำบลนํำร่องในกำรจัดทํำ แผนกำรใช้ที่ดินระดับตํำบลในปี 2562 โดยแนวทำงกำรจัดทํำแผนกำรใช้ที่ดินตํำบลฉบับนี้ได้ ได้ยึด หลักกำรของ UNEP and FAO ที่กํำหนดไว้ในเอกสำรชื่อ “Negotiating a Sustainable Future for Land” หลักกำรดังกล่ำวได้นํำมำปรับใช้ให้เหมำะสมกับสถำนภำพของประเทศไทย ร่วมกับวิธีกำร ต่ำงๆ ที่จํำเป็นอีกหลำยด้ำน เช่น กำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำรวิเครำะห์ปัญหำ และร่วมเสนอ แนวทำงในกำรแก้ปัญหำร่วมกัน (Participatory Rural Appraisal: PRA) กำรประเมินคุณภำพที่ดิน เป็นต้น ผลจำกกำรวำงแผนกำรใช้ที่ดินตำมศักยภำพของพื้นที่และกำรใช้ที่ดิน จะนํำไปสู่กำรกํำหนด แผนงำนกิจกรรมที่มำตอบควำมต้องกำรของชุมชนในกำรจัดกำรทรัพยำกรดินให้มีกำรใช้ประโยชน์ อย่ำงมีประสิทธิภำพและยั่งยืน ซึ่งได้ปรำกฏในแนวทำงกำรวำงแผนกำรใช้ที่ดินตํำบลฉบับนี้ สารบญั หน้า สารบัญ 1 สารบัญตาราง 4
คํานํา. ภาคผนวก ง มาตรฐานฟาร์มไก่ไข่
คํานํา. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการ “นวัตกรรมการจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อพัฒนาจังหวัดลําปาง” ฉบับนี้จัดทําขึ้น เพื่อรายงานผลการดําเนินวิจัยตลอดระยะเวลา 1 ปี 4 เดือนที่ผ่านมา ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้ บทนําหรือบทที่ 1 กล่าวถึงหลักการและเหตุผล บทที่ 2 เกี่ยวข้องกับแนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3
คํานํา. เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายลักษณะทรัพยสินและที่ดิน รหัสวิชา 2156341 จัดทําขึ้นตาม หลกั สูตรนิติศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผูสอนไดจัดทําเอกสาร ประกอบการสอนวิชากฎหมายลักษณะทรัพยสินและที่ดิน เพื่อใหสอดคลองกับเวลาเรียน และเพื่อใชเปน เครื่องมือสําคัญของผูสอนในการใชประกอบการสอนที่มุงเนนใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในเนื้อหา เอกสารเลมน้ีไดแบงออกเปน 12 บทการเรียนรูเพื่อใหตรงกับคําอธิบายรายวิชา โดยแตละหัวขอ ประกอบดวยเนื้อหา ความหมายของทรัพยและทรัพยสิน ประเภทของทรัพยสิน สวนควบ อุปกรณและดอกผล การไดมาซ่ึงทรัพยสิทธิ ทรัพยสินของแผนดิน การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ แดนกรรมสิทธิ์และการใชกรรมสิทธิ์ กรรมสิทธิ์รวม ครอบครอง ทรัพยสินชนิดอื่น หลักกฎหมายท่ีดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน และกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับที่ดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยซึ่งครอบคลุมสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู โดยหวังวาจะทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงสุด และใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในเรื่องของ ทรัพยสินและที่ดินและสามารถนําไปประยุกตใชในการเรียนในระดับสูงตอไปได ขอขอบพระคุณครู อาจารยทุกทานที่ไดใหความรู ผูเขียนหนังสือ ตํารา ทุกทานที่ขาพเจาไดศึกษา คนควาทุกเลม ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่ใหคําแนะนําในการพัฒนาเอกสาร ประกอบการสอนใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ผูเขียนหวังวาหนังสือเลมนี้คงเปนประโยชนแกนักศึกษา ไดใชเพื่อศึกษาคนควา หาความรู ความเขาใจ ไดเปนอยางดี และเปนประโยชนตอคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาในการ พัฒนาคุณภาพทางการศึกษาใหดียิ่งขึ้นตอไป หากมีสิ่งใดเปนขอเสนอแนะเพอ ขอนอมรับดวยความยินดีและเปนพระคุณยิ่ง การพฒ นาและปรบ ปรุง ผูจัดทําก คํานํา .............................................................................................................................................. สารบัญ ........................................................................................................................................... แผนบรห แผนบรห ารการสอนประจําวิชา ..................................................................................................... ารการสอนประจําบทที่ 1 ................................................................................................. 1
คํานํา. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอข้อตกลในการพัฒนางานสําหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่งครูผู้ช่วย ประจําปีงบประมาณ 2567 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567 ผู้จัดทําข้อตกลง นางอภัสรา ค้ากํายาน ตําแหน่งครูผู้ช่วย ได้นําเสนอต่อผู้อํานวยการโรงเรียน ชุมชนบ้านสันจําปา เพื่อเป็นข้อตกลง แนวทางในการพัฒนาตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะที่ดีของผู้เรียน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตําแหน่ง