ระเบียบวิธีวิจัย ข้อกำหนดตัวอย่าง

ระเบียบวิธีวิจัย. Research Methodology
ระเบียบวิธีวิจัย. การวิจัยครัง้ นี ้ เป็ นงานวิจัยผสานวิธี (Mixed method) โดยจะมีการเก็บข้ อมูลสองส่วน คือ 1) ข้อมูลทต ิยภูมิ เพื่อทบทวนรูปแบบการจด บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพืน ที่ความมน คงของต่างประเทศ 2) ข้อมูลปฐมภูมิโดยศึกษาทงั ้ เชิงปริมาณ ควบคู่ไปกับการศึกษาเชิงคุณภาพ ทง้ ผ้ให้การบริการการแพทย์ฉกเฉินและผ้ใช้บริการ รวมทง้ ขอความเห็นและข้อเสนอแนะจากผ้เชี่ยวชาญ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1) ผ้บ 2) เจ้าหน้าที่และผ้ป ฏิบต ิการฉก เฉิน ได้แก่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล หวหน้าห้องอบ ติเหตแ ละฉกเฉิน หวหน้าศน ย์รับแจ้งเหตแ ละสงั่ การ เจ้าหน้าที่ด้านสงั คม หน่วยปฏิบต ิการฉก เฉินที่เคยไปรับผ้ป ่ วยฉก เฉินที่ เกิดเหตุ เลือกแบบเจาะจงเพื่อท˚าการสนทนากลม่ จ˚านวน 19 ราย 3) ประชาชนที่ผ่านการอบรมและเป็นสมาชิกเครือข่ายการช่วยเหลือฉก เฉินในพืน ที่ ทงั ้ จากมูลนิธิ ที่ความมน คงชายแดนใต้ เลือกแบบเจาะจงเพื่อท˚าการ สนทนากลม่ และผ้ปฏิบต การฉกเฉินระดบพืนฐาน (FR) จ˚านวน 41 ราย
ระเบียบวิธีวิจัย. เพื่อให้การวิจัยครั้งนี้มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย คณะผู้วิจัย ได้กําหนดระเบียบวิธีวิจัยซึ่งประกอบด้วย รูปแบบการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล และการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ระเบียบวิธีวิจัย. งานวิจัยฉบับนี้ ใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรม ข้อค้นพบในร่างรายงานวิจัย ได้รับการพิจารณา หารือผ่าน 3 กิจกรรมหลักคือ การประชุมเชิงปฏิบัติการระดับชาติ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประมาณ 20 คน15 การประชุมงานวิจัยทางกฎหมาย16 และการประชุมนานาชาติร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ใน หัวข้อ “การเสริมสร้างความเข้มแข็งเพื่อการคุ้มครองสิทธิคนโรฮิงญาไร้สัญชาติ17 กิจกรรมที่สามนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรับฟังความเห็นและรวบรวมข้อมูล และเริ่มกิจกรรมรณรงค์สร้างความรู้ความ เข้าใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองชาวโรฮิงญาในภูมิภาคนี้ นอกจากนี้ ผู้เขียนยังได้ทำางานวิจัยภาคสนามในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย โดยมีการมีส่วน ร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มสำาคัญๆ ผู้แทนจากภาคประชาสังคม และองค์กรต่างๆ ที่ทำางาน กับชาวโรฮิงญา สุดท้ายคือการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งคนโรฮิงญาในชุมชนต่างๆ อย่างไรก็ดี เพื่อความปลอดภัยของผู้ให้ข้อมูล หรือผู้ให้ข้อมูลมีเงื่อนไขที่ที่ว่าต้องการให้ใช้นาม สมมติ ดังนั้นชื่อจริงของผู้ให้ข้อมูลจะไม่ปรากฏในรายงานฉบับนี้ และนี่คือข้อจำากัดบางประการ ของงานวิจัยฉบับนี้
ระเบียบวิธีวิจัย 

Related to ระเบียบวิธีวิจัย

  • เงินค่าจ้างล่วงหน้า ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าให้แก่ผู้รับจ้างเป็นจํานวนเงิน - บาท ซึ่งเท่ากับร้อย ละ - ของราคาค่าจ้าง ตามสัญญาที่ระบุไว้ ในข้อ ๔ เงินค่าจ้างล่วงหน้าดังกล่าวจะจ่ายให้ภายหลังจากที่ผู้รับจ้างได้วางหลักประกันการรับเงิน ค่าจ้างล่วงหน้าเป็น....................เต็มตามจํานวนเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นให้แก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องออก ใบเสร็จรับเงินค่าจ้างล่วงหน้า ตามแบบที่ผู้ว่าจ้างกําหนดให้ และผู้รับจ้างตกลงที่จะกระทําตามเงื่อนไขอัน เกี่ยวกับการใช้จ่ายและการใช้คืนเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นดังต่อไปนี้ ๕.๑ ผู้รับจ้างจะใช้เงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานตามสัญญา เท่านั้นหากผู้รับจ้างใช้จ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้า หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นในทางอื่นผู้ ว่าจ้างอาจจะเรียกเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นคืนจากผู้รับจ้างหรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินค่าจ้าง ล่วงหน้าได้ทันที ๕.๒ เมื่อผู้ว่าจ้างเรียกร้อง ผู้รับจ้างต้องแสดงหลักฐานการใช้จ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าเพื่อ พิสูจน์ว่าได้เป็นไปตามข้อ ๕.๑ ภายในกําหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน นับถัดจากวันได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ ว่าจ้างหากผู้รับจ้างไม่อาจแสดงหลักฐานดังกล่าวภายในกําหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน ผู้ว่าจ้างอาจเรียกเงินค่าจ้าง ล่วงหน้านั้นคืนจากผู้รับจ้าง หรือบังคับเอาจากหลักประกันการรับเงินค่าจ้างล่วงหน้าได้ทันที ๕.๓ ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามข้อ ๔ ผู้ว่าจ้างจะหักเงินค่าจ้างในแต่ละงวด เพื่อชดใช้คืนเงินค่าจ้างล่วงหน้าไว้จํานวนร้อยละ - ของจํานวนเงินค่าจ้างในแต่ละงวดจนกว่าจํานวนเงินไว้จะ ครบตามจํานวนเงินที่หักค่าจ้างล่วงหน้าที่ผู้รับจ้างได้รับไปแล้ว ยกเว้นค่าจ้างงวดสุดท้ายจะหักไว้เป็นจํานวน เท่ากับจํานวนเงินค่าจ้างล่วงหน้าที่เหลือทั้งหมด ๕.๔ เงินจํานวนใด ๆ ก็ตามที่ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายให้แก่ผู้ว่าจ้างเพื่อชําระหนี้หรือเพื่อชดใช้ ความรับผิดต่างๆ ตามสัญญา ผู้ว่าจ้างจะหักเอาจากเงินค่าจ้างงวดที่จะจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างก่อนที่จะหักชดใช้คืน เงินค่าจ้างล่วงหน้า ๕.๕ ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หากเงินค่าจ้างล่วงหน้าที่เหลือเกินกว่าจํานวนเงินที่ผู้ รับจ้างจะได้รับหลังจากหักชดใช้ในกรณีอื่นแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายคืนเงินจํานวนที่เหลือนั้นให้แก่ผู้ว่าจ้าง ภายใน ๗ (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง ๕.๖ ผู้ว่าจ้างจะคืนหลักประกันการรับเงินค่าจ้างล่วงหน้าให้แก่ผู้รับจ้างต่อเมื่อผู้ว่าจ้างได้หัก เงินค่าจ้างไว้ครบจํานวนเงินค่าจ้างล่วงหน้าตามข้อ ๕.๓ (ข)

  • แบบรูปและรายการละเอียดคลาดเคลื่อน ผู้รับจ้างรับรองว่าได้ตรวจสอบและทําความเข้าใจในแบบรูปและรายการละเอียดโดยถี่ถ้วนแล้ว หากปรากฏว่าแบบรูปและรายการละเอียดนั้นผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรมหรือทาง เทคนิค ผู้รับจ้างตกลงที่จะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง เพื่อให้งานแล้วเสร็จบริบูรณ์ คําวินิจฉัยดังกล่าว ให้ถือเป็นที่สุด โดยผู้รับจ้างจะคิดค่าจ้าง ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มขึ้นจากผู้ว่าจ้าง หรือขอขยายอายุสัญญาไม่ได้

  • สิทธิของผู้ว่าจ้างภายหลังบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา ผู้ว่าจ้างอาจทํางานนั้นเองหรือว่าจ้างผู้อื่นให้ทํางานนั้นต่อจนแล้ว เสร็จก็ได้ ผู้ว่าจ้างหรือผู้ที่รับจ้างทํางานนั้นต่อมีสิทธิใช้เครื่องใช้ในการก่อสร้าง สิ่งที่สร้างขึ้นชั่วคราวสําหรับงาน ก่อสร้าง และวัสดุต่างๆ ซึ่งเห็นว่าจะต้องสงวนเอาไว้เพื่อการปฏิบัติงานตามสัญญาตามที่จะเห็นสมควร ในกรณีดังกล่าว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ทั้งหมดหรือ บางส่วนตามแต่จะเห็นสมควร นอกจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในค่าเสียหายซึ่งเป็นจํานวนเกินกว่าหลัก ประกันการปฏิบัติตามสัญญา รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นต่อให้แล้วเสร็จตามสัญญา ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการควบคุมงานเพิ่ม (ถ้ามี) ซึ่งผู้ว่าจ้างจะหักเอาจากเงินประกันผลงานหรือจํานวนเงินใด ๆ ที่จะจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างก็ได้

  • การควบคุมงานโดยผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างตกลงว่าคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง มีอำนาจที่จะ ตรวจสอบและควบคุมงานเพื่อให้เป็นไปตาม สัญญานี้ และมีอำนาจที่จะสั่งให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือตัดทอนซึ่งงานตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างขัดขืน ไม่ปฏิบัติตาม ผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษา มีอำนาจ ที่จะสั่งให้หยุดการ นั้นชวคราวได้ ความล่าชา้ ในกรณีเช่นนี้ ผู้รับจ้างจะถือเป็นเหตุขอขยายระยะเวลา การปฏิบัติงานตามสัญญาหรือเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ ไม่ได้ทงสิ้น

  • ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์

  • ลําดบั งานจดั ซือÊ จดั จ้าง วงเงนิ งบประมาณ (ราคา กลาง) วธิ ีซือÊ /จ้าง ผู้เสนอราคาและราคา ท'ีเสนอ ผู้ได้รับคัดเลือกและราคา เหตุผลท'ี คัดเลือก โดยสรุป เลขท'ีและวนั ท'ีของสัญญา หรือข้อตกลงในการจดั ซอืÊ จดั จ้าง

  • การบอกเลิกสัญญา ถ้าผู้ขายไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อใดข้อหนึ่ง หรือเมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว หาก ผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบจำนวน ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือ แต่บางส่วนได้ การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญานั้นไม่กระทบสิทธิของผู้ซื้อที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ขาย ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธบิ อกเลิกสัญญา ผู้ซื้อมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกัน ตาม (ข้อ ๖ และ) ข้อ ๘ เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวน หรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่ง แล้วแต่กรณี ภายในกำหนด ๑๕ (สิบห้า) วัน นบั ถัดจากวันบอกเลิกสัญญา ผู้ขายจะต้องชดใช้ราคา ที่เพิ่มขึ้นจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย

  • การควบคุมงานของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องควบคุมงานที่รับจ้างอย่างเอาใจใส่ ด้วยประสทธิภาพและความชำนาญ และในระหว่างทำงานที่ รับจ้างจะต้องจัดให้มีผู้แทนซึ่งทำงานเต็มเวลาเป็นผู้รับผิดชอบควบคุมงานของ ผู้รับจา้ ง ผู้แทนดังกล่าวจะต้องได้รับมอบอำนาจจากผู้ รับจ้าง คำสั่งหรือคำแนะนำต่างๆ ที่ผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษาที่ผู้วา่ จ้างแต่งตั้ง ได้แจ้งแก่ ผู้แทนเช่นว่านั้น ให้ถือว่าเป็นคำสั่งหรือคำแนะนำที่ได้แจ้งแก่ผู้รับจ้าง การแต่งตั้งผู้แทนตามข้อนี้จะต้องทำเป็นหนงสือและต้องได้รับความ เห็นชอบเป็นหนังสือ จากผู้ว่าจ้าง การเปลี่ยนตัวหรือแต่งตั้งผู้แทนใหม่จะทำมิได้หากไม่ได้รับความเห็นชอบ เป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างก่อน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะขอให้เปลี่ยนตัวผู้แทนตามวรรคหนึ่ง โดยแจ้งเป็นหนังสือไปยังผู้รับจ้าง และผู้รับจ้างจะต้องทำ การเปลี่ยนตัวผู้แทนนั้นโดยพลัน โดยไม่คิดค่าจ้างหรือราคาเพิ่มหรืออ้างเป็นเหตุเพื่อขยายอายุสัญญาอันเนื่องมาจากเหตุนี้

  • หลักฐานการเสนอราคา ผู้ประสงค์จะเสนอราคาจะต้องเสนอเอกสารหลักฐาน แยกเป็น 2 ส่วน คือ 3.1 ส่วนที่ 1 อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีผู้ประสงค์จะเสนอราคาเป็นนิติบุคคล (ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจ˚ากัด ให้ยื่นส˚าเนาหนังสือรับรองการ จดทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ผู้มีอ˚านาจควบคุม (ถ้ามี) พร้อมรับรองส˚าเนาถูกต้อง /3.(ข) บริษัทจ˚ากัด.... (ข) บริษัทจ˚ากัดหรือบริษัทมหาชนจ˚ากัด ให้ยื่นส˚าเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติ บุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอ˚านาจควบคุม และบัญชีผู้ถือหุ้นรายใหญ่พร้อม รับรองส˚าเนาถูกต้อง (2) ในกรณีผู้ประสงค์จะเสนอราคาเป็นบุคคลธรรมดา หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลให้ยื่น ส˚าเนาบัตรประจ˚าตัวประชาชนของผู้นั้น ส˚าเนาข้อตกลงที่แสดงถึงการเข้าเป็นหุ้นส่วน(ถ้ามี) ส˚าเนาบัตรประจ˚าตัว ประชาชนของผู้เป็นหุ้นส่วน พร้อมทั้งรับรองส˚าเนาถูกต้อง (3) ในกรณีผู้ประสงค์จะเสนอราคาเป็นผู้ประสงค์จะเสนอราคาร่วมกันในฐานะเป็นผู้ร่วมค้าให้ ยื่นส˚าเนาสัญญาของการเข้าร่วมค้า ส˚าเนาบัตรประจ˚าตัวประชาชนของผู้ร่วมค้า และในกรณีที่ผู้เข้าร่วมค้าฝ่ายใด เป็นบุคคลธรรมดาที่มิใช่สัญชาติไทย ก็ให้ยื่นส˚าเนาหนังสือเดินทาง หรือผู้ร่วมค้าฝ่ายใดเป็นนิติบุคคล ให้ยื่น เอกสารตามที่ระบุไว้ใน (1) (4) ส˚าเนาแบบแสดงการลงทะเบียนในระบบ e-GP, ส˚าเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม พร้อมรับรองส˚าเนาถูกต้อง (5) บัญชีเอกสารส่วนที่ 1 ทั้งหมดที่ได้ยื่นตามแบบในข้อ 1.9 (1)

  • การทําสัญญาจ้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญา โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ๖.๑ เงินสด ๖.๒ เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นเช็คลงวันที่ที่ ทําสัญญา หรือก่อนหน้านั้น ไม่เกิน ๓ วัน ทําการของทางราชการ ๖.๓ หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบหนังสือค้ําประกัน ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด ๖.๔ หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกัน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตาม รายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้ําประกันของ ธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว