การวิเคราะห์ข้อมูล. ผู้วิจัยนําข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของผู้รับบริการในเขตขององค์การบริหารส่วน ตําบลสงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มาประมวลผลข้อมูลวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสถิติ คอมพิวเตอร์ สถิติสําเร็จรูปทางการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (SPSS) มาประมวลผลข้อมูลวิเคราะห์โดยใช้ ส ถิ ติ เชิ งพ รรณ น า (Descriptive Statistics) ได้ แ ก่ ค่ าส ถิ ติ ความ ถี่ (Frequency) ค่ าร้ อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) เพื่อนําไปใช้วิเคราะห์กับแบบสอบถามโดยมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม โดยใช้สถิติพื้นฐานหาค่าความถี่
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม เกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มี ต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตําบลสงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ใช้สถิติเชิง ตอนที่ 3 ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อ
การวิเคราะห์ข้อมูล. ทงั นีการตรวจสอบและสอบทานทรัพย์สนหลกและอุปกรณ์เป็นไปเพื่อ ใจลงทน และการเปิ ดเผยข้อมล ที่ถกต้อง • ประเมินมูลค่าทรัพย์สินหลกอย่างน้อยตามที่กําหนดไว้ในข้อ 11.1 • ในกรณีที่กองทรัสต์จะลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ใน ลกษณะที่เป็ นการเช่าช่วง จะจัดให้มีมาตรการป้ องกันความเสี่ยง หรือการเยียวยาความเสียหายที่อาจเกิดขึน้ จากการผิดสญญาเช่า ตามสท ธิในสญ ญาเช่า
การวิเคราะห์ข้อมูล. การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ โดยใช้สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
การวิเคราะห์ข้อมูล. โครงการ “แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยภาษากวยโดยชุมชน มีส่วนร่วม ในพื้นที่เทศบาลตําบลโพธิ์กระสังข์ อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ” เป็นการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งส่วนใหญ่จะเน้นการฝึกอบรมและปฏิบัติการ แต่ทีมวิจัยได้มีการเก็บรวบรวม ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณในการศึกษาสถานการณ์การใช้ภาษาของเด็กเล็ก ทําให้ทีมวิจัยได้ เห็นข้อมูลตัวเลขในเชิงสถิติเพื่อประกอบในการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยภาษากวยให้กับ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การวิเคราะห์ข้อมูล. ในการดําเนินงานวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการอธิบายความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์โดยตั้งอยู่บน พื้นฐานแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องตามกรอบแนวคิด โดยนําข้อมูลที่เก็บได้จากกิจกรรมวิจัยทั้งหมด มาเข้าสู่ กระบวนการวิเคราะห์โดยการจําแนก จัดหมวดหมู่ข้อมูล เพื่อให้สามารถเข้าใจง่าย และมีความสัมพันธ์เชิง เหตุผล และตอบวัตถุประสงค์ของโครงการ
การวิเคราะห์ข้อมูล. (Data Analytics) ในการวางแผนและตัดสินใจ เพื่อจัดทำนโยบาย แนวทาง และ งบประมาณสนับสนุน (เป็นการจัดการข้อมูลที่ได้จากการจัดเก็บข้อมูลของโครงการพัฒนาตำบลแบบบูรณาการ ของกระทรวงมหาดไทย)
การวิเคราะห์ข้อมูล. ผู้วิจัยนําข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของผู้รับบริการในเขตของเทศบาลตําบลคําเขื่อน แก้ว อําเภอคําเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร มาประมวลผลข้อมูลวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสถิติคอมพิวเตอร์ สถิติสําเร็จรูปทางการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (SPSS) มาประมวลผลข้อมูลวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าสถิติความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) เพื่อนําไปใช้วิเคราะห์กับแบบสอบถามโดยมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม โดยใช้สถิติพื้นฐานหาค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) แล้วเสนอในรูปแบบกราฟแล้วอธิบายแบบความเรียง
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม เกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มี ตอนที่ 3 ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อ
การวิเคราะห์ข้อมูล. (Data Analytics) และการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลชุมชุน ขนาดใหญ่ (Thailand Community Big Data : TCD) ในพื้นที่ ทําหน้าที่ในการปฏิบัติงานสนับสนุน - การจัดทําข้อมูล TCD ให้สมบูรณ์ - การปรับปรุงและพัฒนา Platform ให้ตอบสนองการใช้ประโยชน์ในหลากหลายมิติ - การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ ทั้งในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ - การถ่ายทอดการใช้ประโยชน์จาก TCD ให้ผู้ที่จะใช้ประโยชน์ ทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน
การวิเคราะห์ข้อมูล. ในการศึกษานี้ใชการวิเคราะหเชิงพรรณนา (DescriptiveAnalysis) โดยการบรรยาย ขอคนพบจากการวิจัย ในรูปแบบของการบรรยายผลการสัมภาษณ ตาราง แผนภูมิ รูปภาพ และเรียบ เรียงใหสอดคลองกับวัตถุประสงคในการวิจัยเพื่อสรุปผลการวิจัยและขอคนพบจากการศึกษาใน ประเด็นดังตอไปนี้
4.4.1 การวิเคราะหผลจากการศึกษาเอกสาร (Document Research) วิเคราะหในรูปแบบของการบรรยาย และการวิเคราะหเพิ่มเติมความคิดเห็นในระบบการแตงตั้ง และการโยกยายของขาราชการตํารวจ ทั้งกอนและหลังจากการปรับเปลี่ยนองคกรจากกรม ตํารวจในกํากับดูแลของกระทรวงมหาดไทย ตามพระราชบัญญัติขาราชการตํารวจพ.ศ.2521 เปนสํานักงานตํารวจแหงชาติ ภายใตการบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัติ สํานักงานตํารวจ พ.ศ. 2547 เปนตนมาซึ่งเปนชวงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญสงการ บริหารกําลังพล ขององคกรตํารวจ รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบ จํานวนกําลังพล อัตรา การ เปลี่ยนแปลงของจํานวนกําลังพล ความเหมาะสม/ความเพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่ และ สัดสวนจํานวนกําลังพลตอประชาชน ขององคกรตํารวจในระยะเวลาดังกลาว และเรียบเรียงและ วิเคราะหขอเสนอแนะในการพัฒนาระบบงานตํารวจ จากเอกสารและวรรณกรรม
4.4.2 การวิเคราะหจากการการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ประเด็นที่ทําวิเคราะห คือ สาเหตุและสภาพปญหาของการแตงตั้ง และการโยกยายของ ขาราชการตํารวจหลักธรรมาภิบาลที่ดีที่นําไปใชในการแตงตั้ง และการโยกยายของขาราชการ ตํารวจ และแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพของการแตงตั้ง และการโยกยายของขาราชการ ตํารวจ
การวิเคราะห์ข้อมูล. การวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมทางสถิติเพื่อการวิเคราะห์ ข้อมูลและหาค่าสถิติดังต่อไปนี้
1. วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามด้วยสถิติเชิงพรรณนา(Descriptive Statistics) โดยค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ความถี่ (Frequency) และร้อย ละ (Percentage)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระทั้ง 3 ด้าน และตัวแปรตาม โดยใช้การ วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) และสร้างสมการทํานายแนวโน้มความคง อยู่ในการทํางานที่แท้จริง