บทน˚า ข้อกำหนดตัวอย่าง
บทน˚า. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับท่ ี 16 เร่ ือง สัญญาเช่า ก˚าหนดหลักการส˚าหรับการรับรู้รายการ การวัดมูลค่า การนา˚ เสนอและการเปิ ดเผยข้อมูลของสัญญาเช่า โดยมีวัตถุประสงค์เพือให้มั่นใจว่าผู้เช่าและ ผู้ให้เช่าได้ให้ข้อมูลท่เก่ ย วข้องกบ การตัดสนใจในลักษณะการนา˚ เสนอรายการท่เป็นตัวแทนอนเท่ย งธรรมโดย ใช้วิธการบัญชีเดียวสา˚ หรับผู้เช่า (single lessee accounting model) โดยผู้เช่าบันทกสัญญาเช่าทุกรายการใน แนวทางเดียวกันและกา˚ หนดให้ผู้เช่ารับรู้สินทรัพย์และหนีสินสา˚ การเช่ามากกว่า 12 เดือน เว้นแต่สินทรัพย์อ้างอิงนั้นมีมูลค่าต่า หรับสัญญาเช่าทุกรายการท่ ีมีระยะเวลาใน โดยผู้เช่าต้องรับรู้สินทรัพย์สิทธิการใช้ท่ ี แสดงถึงสิทธิในการใช้สินทรัพย์อ้างอิงท่ เี ช่าและหนีสินตามสัญญาเช่าท่ แสดงถึงภาระผูกพันท่ ีต้องจ่ายช˚า ระ ตามสญญาเช่า สนทรัพย์และหนีสนท่ เกิดจากสญญาเชาถ่ ูกวัดมูลคาเ่ มือเร่ ิมแรกดว้ ยเกณฑ์ของมูลคาปั่ จจุบัน การวัดมูลค่าประกอบด้วยการจ่ายชา ระตามสัญญาเช่าท่ บ อกเลิกไม่ได้ (รวมถึงค่าเช่าท่ แปรผันตามเงินเฟ้ อ) และยังรวมถึงการจ่ายชา˚ ระท่จะจ่ายในช่วงเวลาใช้สิทธิเลือกถ้าผู้เช่าจะใช้สิทธิเลือกในการขยายอายุสญญาเช่า หรือไม่ใช้สิทธิเลือกในการยกเลิกสัญญาเช่าอย่างแน่นอนด้วยความสมเหตุสมผล มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับท่ ี 16 เร่ ือง สญญาเช่า นา˚ ข้อกา˚ หนดเกอบท้งั หมดของการบัญชีสา˚ หรับผู้ให้เช่าในมาตรฐานการ บัญชี ฉบับท่ ี 17 (ปรับปรุง 2561) เร่ ือง สญญาเช่า มาใช้ ดังนั้นผู้ให้เช่ายังคงต้องจัดประเภทสญญาเช่าเป็น สญญาเช่าดา˚ เนินงานหรือสญญาเช่าเงินทุนและบันทกสญญาเช่าท้งั สองประเภทนั้นอย่างแตกต่างกนั
บทน˚า. “…คนจนไม่เสย ภาษีแต่อยากไดรฐ สวสดก าร, ไม่ไดจ ่ายภาษี ไม่ควรไดรบ , จ่ายภาษแ ค่ 4 ลา นคน เป็นภาระงบประมาณ, ฯลฯ” วาทกรรมและมายาคตเหล่านี้เกยวกบ การเสย ภาษข องคนจน และ การจด สรร ทรพ ยากรใหเ้ ป็นธรรมเพอ คุณภาพชวต เป็นสงิ่ ทเ่ี รามก จะไดยน บ่อยครงั้ ในสงั คมไทย ซง น˚าไปสู่ทศ นคตท่ คบแคบเก่ย วกบ การลดทอนคุณค่าศก ดศิ รค วามเป็นมนุษย์ของผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจสง คมและเป็น ประชากรสวนใหญ่ในสงคมไทย วาทกรรมเหล่านี้ส่วนหนึ่งอาจจะเกด จากการไดรบ การยกเวน ภาษข องผูม รี ายไดน ้อย เนื่องจากการ จดเกบ ภาษเี งน ได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทยมโี ครงสรา งภาษแ บบอต ราก้าวหน้า (progressive tax) โดย อตราภาษจ ะเพมขน ตามรายไดสุทธของผเู้ สย ภาษี แต่ผทู ม่ รายได้ 0-150,000 บาท จะไดร้ บการยกเว้นภาษ โดยวต ถุประสงคข องการเกบภาษแบบอต ราก้าวหน้าเป็นไปตามหลก เศรษฐศาสตรส าธารณะ คอ ความเป็น ธรรมในแนวดง (vertical equity) หมายถง กลุ่มทม่ โี อกาสเขา ถงทรพ ยากรและมก˚าลงั มากกว่า ควรจะเป็นผู เสยภาษม ากกว่ากลุ่มทม่ โอกาสและทรพยากรน้อยกว่า ซงึ จะช่วยลดความเหลอ มล˚้าของการกระจายรายได ขณะเดย วกน เรากม การเกบ ภาษจ ากการบรโิ ภค เช่น ภาษม ูลค่าเพม ซงทุกคนในสงั คมไดร่วมกน จ่าย โดยมีลักษณะเป็นภาษีทางอ้อม (indirect tax) ซ่ึงผู้มีหน้าท่ีเสียภาษี คือ ผู้ขาย สามารถผลักภาระ ภาษีมูลค่าเพม ไปยงั ผู้บรโิ ภคโดยบวกเขา ไปในราคาสน ค้า จง หมายความว่า ทุกคนในสงั คมได้ร่วมกน จ่าย ภาษทจ่ ดเกบจากฐานการบรโิ ภค ยงไปกว่านนั การจดเกบภาษเปรยบเสมอ นการทร่ี ฐ จดเกบสว นแบ่งรายไดของภาคเอกชนจากการท่ เอกชนไดใ้ ชประโยชน์จากสน คาและบรก ารสาธารณะของประเทศ อก ทงั้ ผูผลต ซงมรี ายไดจ ากการประกอบ กจการต่าง ๆ มจ ˚านวนไม่น้อยทจ างแรงงานดว ยอต ราค่าจา งทต่ ่˚าเกน ไป โดยค่าจา งขนั ต่˚าและค่าจ้างทวั ่ ไป เพมขน ช้ากว่าการขยายตว ของผลต ภาพแรงงานและการเตบ โตทางเศรษฐกจ (นพดล บูรณะธนัง และพร เกียรติ ยงั ่ ยืน, 2556) ซ่ึงแสดงถึงการเพิ่มข้ึนของรายได้ในคนกลุ่มหนึ่งท่ีสามารถเข้าถึงทรพยากรได มากกว่า มความเกย วขอ งกบต้นทุนของคนกลุ่มล่าง ซงึ เป็นคนสว นใหญ่ของประเทศทต่ องเสย โอกาสในการ มคุณภาพชวต ทเี ตบโตทนสภาพเศรษฐกจ และค่าครองชพ ในส่วนของการเก็บภาษเี งน ได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทยมลก ษณะเป็นโครงสร้างภาษีก้าวหน้า จากงานศก ษาการกระจายภาระภาษจ ˚าแนกตามขนั รายได้โดย วรวรรณ ชาญดว ยวท ย์ และ อมรเทพ จาวะ ลา (2557) พบว่า ภาระภาษม การเปลย่ นแปลงในลกษณะทเ่ี ป็นอต ราก้าวหน้ามากขน้ ระหว่างปี พ.ศ. 2543 และ 2550 โดยจะเหน ได้จากอต ราภาษีทย งคงระดบ ต่˚า และปรบ เพม สูงขน อยางรวดเรว ส˚าหรบ ผู้มร ายได 20% บนสุด โดยกลุ่มคนทม่ รี ายไดส ูงสุด 10% เสย ภาษใี นอต รา 5.6% ในปี พ.ศ. 2543 และเพม สูงขน้ อย่าง ต่อเนื่องเป็น 7.2% ในปี พ.ศ. 2550 แสดงถงอต ราภาษท เี กบตามชนั รายไดค่อนขา งเป็นอต ราทก่ ้าวหน้า แต ในบางช่วงของชนั รายไดกม อตราทถ่ ดถอย เนื่องจากการเสย ภาษท อ่ นุญาตใหม การหก ค่าลดหย่อน ...
บทน˚า. 1.1 ที่มำและควำมส˚ำคญ
บทน˚า. 1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคญของปัญหำ “ผ้พ ิทก ษ์สน ติราษฎร”์ ในการปฏบตภ
บทน˚า. ปัจจุบันพบว่าธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ผู้ประกอบการมีการใช้สัญญาส˚าเร็จรูป ที่ท˚าเป็นหนังสือโดยผู้ประกอบธุรกิจซึ่งเป็นผู้ให้บริการได้จัดท˚าขึ้นฝ่ายเดียวและมีการใช้ข้อสัญญาที่ไม่เป็น ธรรมส˚าหรับผู้รับบริการ อีกทั้งมีการใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็นข้อสัญญาที่ใช้บังคับได้เพราะข้อสัญญา ดังกล่าวไม่ขัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ด้วยเหตุนี้จึงท˚าให้ ผู้รับบริการไม่ได้รับความเป็นธรรมในการท˚าสัญญา ประกอบกับกฎหมายไทยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจนี้ ได้แก่ กฎหมายสถานบริการ กฎหมายสาธารณสุข กฎหมายการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายสถานพยาบาล กฎหมายวิชาชีพเวชกรรมไม่มีบทบัญญัติเรื่องมาตรฐานข้อสัญญาคงมีเฉพาะมาตรฐานวิชาชีพเท่านั้น ดังนั้น จึงจ˚าเป็นต้องมีการก˚าหนดให้ธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญาตามกฎหมาย คุ้มครองผู้บริโภค
บทน˚า. โครงการจดทา˚ เกณฑส า˚ หรบ
บทน˚า. การท˚าสัญญาสินเชื่อกับธนาคารอิสลามนั้น สินเชื่อกับธนาคารอิสลามนั้นจะต้องเป็นการขอสินเชื่อ ในวัตถุประสงค์ที่ไม่ขัดต่อหลักการของศาสนาอิสลาม ไม่จ˚าเป็นต้องบุคคลที่นับถือซึ่งศาสนาอิสลาลามเพียง เท่านั้น บุคคลใดก็ตามหากความประสงค์จะเป็นลูกค้า ของธนาคารอิสลามสามารถเป็นลูกค้าได้ทุกคนหากได้ ผ่านหลักเกณฑ์การประเมินของธนาคารอิสลามแล้ว ส˚าหรับการท˚าข้อตกลงของธนาคารอิสลามในเรื่องของ การขอสินเชื่อนั้นโดยส่วนใหญ่ของธนาคารอิสลามจะ แตกต่างกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไป กล่าวคือการขอ เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปด˚าเนินกิจการโดยการ หารายได้จากอัตราดอกเบี้ย แต่ธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทยต้องด˚าเนินงานธุรกิจในการหารายได้ที่ไม่ สามารถเกี่ยวข้องกับดอกเบี้ยได้ จึงได้น˚าวิธีการซื้อขาย, วิธีการให้เช่าและวิธีการร่วมทุนมาบังคับใช้แทน เช่น การซื้อขายสินค้าโดยบวกเพิ่มราคา (murabahah) มหาวิทยาลัยรังสิต หลักการพื้นฐานก็คือธนาคารซื้อสินค้ามาขาย ให้แก่ลูกค้า แต่ขายในราคาที่มีการบวกต้นทุนและก˚าไร หรือดอกเบี้ยแฝงเข้าไปแล้ว (cost plus หรือ mark-up) ถ้าลูกค้าประสงค์จะซื้อขายหรือประสงค์ที่จะกู้ยืมเงิน ขอสินเชื่อจากธนาคารเพื่อซื้อสินค้า เพื่อการกู้ยืมเงิน เพื่อปิดบัญชีต่างธนาคารและกู้ยืมเ งินโดยไม่มี หลักประกัน ลูกค้าต้องตกลงตามระเบียบหรือข้อบังคับ สัญญาตามราคาที่ธนาคารแจ้งกลับไป โดยธนาคาร อนุญาตให้ผ่อนจ่ายเป็นงวดรายเดือน ซึ่งเหล่านี้ไม่ขัด กับหลักศาสนาอิสลามแต่ประการใด ดังนั้นเมื่อการที่ ธนาคารได้บวกก˚าไรไปนั้น มีลักษณะเหมือนหรือคล้าย กับดอกเบี้ย เบี้ยปรับ หรือค่าเสียหายมา จึงมีความ จ˚าเป็นจะต้องศึกษาที่มา แนวคิด วิธีการ รูปแบบ ของ ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ หรือค่าเสียหาย ว่าเป็นอย่างไร จาก วิธีการดังกล่าวจะเห็นได้ว่าก˚าไรที่ธนาคารอิสลามฯ บวกเข้าไปนั้นเป็นการบวกเพิ่มไปตั้งแต่ต้น ดังนั้นยอด หนี้ที่ต้องช˚าระของลูกค้าสินเชื่อของธนาคารอิสลามฯ จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าลูกค้าผิดนัดไม่ช˚าระหนี้ ลูกค้าจะต้องรับผิดชดใช้ค่าชดเชยในอัตราที่สูงมากถึง ร้อยละ 31 ต่อปี จะเห็นได้ว่าข้อสัญญาในการขอ สินเชื่อของธนาคารอิสลามฯนั้นมีการก˚าหนดข้อตกลง และเงื่อนไขในการขอสินเชื่อที่ไม่เป็นธรรมต่อลูกค้า อย่างมากในกรณีของการที่ลูกค้าต้องรับผิดชดใช้ ค่าชดเชยที่ลูกค้าผิดนัดช˚าระหนี้ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้วจะ เห็นว่าเข้าลักษณะของข้อสัญญาสินเชื่อที่มีอัตรา ค่าชดเชยหรือก˚าไรสูงเกินส่วน จึงแสดงให้เห็นว่าไม่มี ความเสมอภาคในการท˚าสัญญา กล่าวคือผู้ประกอบ กิจการหรือธนาคารอิสลามฯอยู่ในฐานะได้เปรียบใน การก˚าหนดข้อตกลงในสัญญามีอ˚านาจในการต่อรอง มากว่าลูกค้าหรือผู้ขอสินเชื่อที่อยู่ในฐานะเสียเปรียบ ต้องยอมจ˚านนต่อข้อตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญา (สฤษฎ์ กลั่นสุภา, 2554) อีกทั้งเมื่อการท˚าข้อตกลงสัญญาสินเชื่อของ ธนาคารอิสลามฯไม่มีค˚าว่าดอกเบี้ยหรือไม่ได้คิด ดอกเบี้ยแก่ลูกค้าแล้วกระนั้น จึงไม่ตกอยู่ภายใต้ กฎหมายที่ก˚าหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ เช่นประมวล กฎหมายแพ่งและพา...
บทน˚า. ในปัจจุบันภาษาอังกฤษที่เป็นภาษากฎหมายได้เข้ามามีบทบาทส˚าคัญในแวดวงธุรกิจ มากขึ้นเป็นล˚าดับ โดยเฉพาะในยุคที่การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศกลายเป็นเรื่องปกติธรรมดา การตกลงประกอบธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคนต่างชาติ ไม่ว่าบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ตาม จะอยู่ในรูปของสัญญาที่ท˚าขึ้นเป็นภาษาอังกฤษทั้งสิ้น สัญญาภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจการค้าระหว่าง ประเทศ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ (Common Law) จะมีลักษณะของสัญญา ที่มีรายละเอียดมาก เพราะการเขียนข้อสัญญาที่ละเอียดและชัดเจนย่อมสามารถขจัดความกังวล หรือ ช่องโหว่ที่ว่ากฎหมายที่ใช้บังคับแก่สัญญานั้น อาจไม่มีบทบัญญัติที่สามารถรองรับ หรืออุดช่องว่างของ สัญญาได้ การศึกษาครั้งนี้ ผู้แปลเลือกที่จะแปลสัญญาประกันภัยต่อเพื่อความเสียหายส่วนเกิน ส˚าหรับการประกันอัคคีภัย (Fire Excess of Loss Reinsurance Agreement) ซึ่งเป็นสัญญา ประกันภัยต่อที่ให้ความคุ้มครองแก่บริษัทประกันภัย ส˚าหรับความเสียหายที่เกิดขึ้นเป็นจ˚านวนมาก ต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือจากปัญหาการสะสมของภัยในกรณีที่เกิดมหันตภัยขึ้น (Catastrophe Event) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวการณ์ที่สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของโลก ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มนุษย์ต้องเผชิญกับภัยพิบัติต่างๆ ซึ่งล้วนแต่ ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเมื่อเทียบกับเหตุการณ์ที่เคยเกิดในอดีต ท˚าให้การด˚าเนินธุรกิจของบริษัท ประกันภัยโดยทั่วไป ต้องเผชิญกับมหันตภัยบางอย่างที่ไม่สามารถคาดคะเนได้ เช่น น้˚าท่วม ลมพายุ แผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิ เป็นต้น ซึ่งสามารถท˚าความเสียหายต่อสิ่งที่บริษัทได้รับประกันภัยไว้ ภายใต้การประกันภัยประเภทเดียวกันพร้อมๆกันจากมหันตภัยเดียวกันโดยใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที หรือ ไม่กี่ชั่วโมง ท˚าให้บริษัทที่ได้รับประกันภัยเหล่านี้ไว้ต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนเป็นจ˚านวนเงินที่สูงมาก เนื่องจากมีการสะสมของความเสียหาย (Accumulation of Loss) ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเป็นจ˚านวนมาก การท˚าประกันภัยต่อเพื่อคุ้มครองความเสียหายส่วนเกิน (Excess of Loss Reinsurance) จึงมี บทบาทส˚าคัญในการช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นกับบริษัทประกันภัยซึ่งเป็นผู้เอาประกันภัยต่อ ที่จะ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ถือกรมธรรม์ประกันภัยประเภทต่างๆ ของบริษัทฯ ซึ่งได้รับการ คุ้มครองตามที่ได้มีการระบุไว้ในสัญญา อาทิเช่น การประกันอัคคีภัยที่มีการขยายความคุ้มครองถึง ภัยน้˚าท่วม แผ่นดินไหวและสึนามิ การประกันความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน การประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก เป็นต้น โดยสัญญานี้จะให้ความคุ้มครองแก่บริษัทผู้เอาประกันภัยต่อส˚าหรับความเสียหายส่วนที่เกิน กว่าจ˚านวนที่ก˚าหนดไว้ในสัญญา (Excess of Loss Cover) โดยบริษัทผู้รับประกันภัยต่อจะก˚าหนด จ˚านวนเงินความรับผิดสูงสุดตามสัญญาไว้ ในกรณีที่เกิดความเสียหายต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ในขณะที่บริษัทผู้เอาประกันภัยต่อจะรับผิดตามจ˚านวนเงินค่าเสียหายส่วนแรก (Deductible) ที่ระบุไ...
บทน˚า. 1.1 ความเป็ นมาและความสาค 1 ญ
1.2 ปัญหานาวิจยั 6
บทน˚า. ธนำคำรตระหนักดีว่ำกำรบริหำรควำมเสี่ยงที่มีประสิทธิภำพ และกำรก˚ำกับดูแลกิจกำรตำมหลักธรรมำภิบำลที่ดี เป็นส่วน ส˚ำคัญต่อควำมมั่นคงและควำมน่ำเชื่อถือของธนำคำรและบริษัทลูกในกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงินของธนำคำร (“กลุ่มธุรกิจทำงกำรเงินของ ธนำคำร”) ธนำคำรจึงมุ่งเน้นกำรพัฒนำระบบกำรบริหำรควำมเสี่ยงอย่ำงต่อเนื่องและให้ควำมส˚ำคัญว่ำ ธนำคำรและกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงิน ของธนำคำรมีเงินกองทุนเพียงพอเพื่อรองรับกำรประกอบธุรกิจ ธนำคำรเล็งเห็นว่ำกำรใช้กลไกตลำดในกำรก˚ำกับดูแล จะเป็นส่วนส˚ำคัญที่จะส่งเสริมให้มีกำรพัฒนำระบบกำรบริหำรควำม เสี่ยงอย่ำงต่อเนื่อง จึงมีกำรเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวกับเงินกองทุน ระดับควำมเสี่ยง กระบวนกำรประเมินควำมเสี่ยง และควำมเพียงพอขอ ง เงินกองทุนทั้งในระดับธนำคำร(Solo Basis) และระดับกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงินของธนำคำร (Full Consolidation Basis) ซึ่งกำรเปิดเผยข้อมูล ดังกล่ำวเป็นไปตำมแนวทำงกำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกำรด˚ำรงเงินกองทุนตำมประกำศของธนำคำรแห่งประเทศไทย (“ธปท.”) ธนำคำรมีกำรเปิดเผยข้อมูลกำรด˚ำรงเงินกองทุนตำม Basel III-หลักกำรที่ 3 โดยข้อมูลเชิงปริมำณเกี่ยวกับโครงสร้ำงและควำม เพียงพอของเงินกองทุน กำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนตลำด และกำรด˚ำรงสินทรัพย์สภำพคล่องเพื่อรองรับสถำนกำรณ์ด้ำนสภำพคล่องที่มี ควำมรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio : LCR) จะเปิดเผยเป็นรำยครึ่งปี ส˚ำหรับกำรเปิดเผยข้อมูลเชิงคุณภำพ ธนำคำรจะจัดให้มีกำร ทบทวนเป็นประจ˚ำทุกปีและทุกครั้งที่มีกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยกำรบริหำรควำมเสี่ยงอย่ำงมีนัยส˚ำคัญ ทั้งนี้ ธนำคำรมีแนวทำงกำร เปิดเผยเฉพำะข้อมูลที่มีนัยส˚ำคัญบนเว็บไซด์ของธนำคำรภำยใต้หัวข้อ “นักลงทุนสัมพันธ์” ภำยใน 4 เดือนนับจำกวันสิ้นงวด