ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อกำหนดตัวอย่าง

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 1.5.1 สร้างอุปกรณ์เฝ้ าระวงสญ ญาณรบกวนในยานสื่อสารการบิน 1.5.2 อุปกรณ์เฝ้ าระวงสญ ญาณรบกวนในยานสื่อสารการบิน ยงทาใหป ระหยด ทางดาน งบประมาณ ประหยด ทางดานบุคลากร ประหยด เวลา 1.5.3 ไดร้ ับความรู้ทางดานการเขียนโปรแกรมลงบอร์ด Arduino UNO R3 1.5.4 สามารถบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ไดร้ ับมาจดทาโครงงาน 1.5.5 สามารถนําอุปกรณ์ท่ีประกอบแลวมาทดสอบใช้งานจริงเพื่อให้ได้ตามวตถปุ ระสงค
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 1. ทําให้ทราบถึงโครงสร้างและการบริหารงานของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐใน ประเทศไทยและต่างประเทศ 2. ทําให้ทราบถึงโครงสร้างและการบริหารงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. ทําให้ทราบถึงหลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสัญญาของ ฝุายปกครอง และหลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจาสัญญาทางปกครอง 4. ทําให้ทราบถึงสถานะสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย 5. สามารถนําหลักกฎหมายดังกล่าวมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาเขตอํานาจศาลแรงงาน และศาลปกครองในการพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ในประเทศไทย 6. ทําให้ทราบแนวทางในการเยียวยาพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐที่ได้รับ ผลกระทบจากการเลิกจ้างหรือไม่ต่อสัญญาจ้าง ให้ได้รับการวินิจฉัยคดีที่ถูกต้องเป็นไปตามหลัก กฎหมายและได้รับความเป็นธรรมจากศาลที่มีอํานาจวินิจฉัยคดีดังกล่าว
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. สําหรับประโยชน์ที่ได้รับจากการทําวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ด้านดังนี้ 1. ประโยชน์ต่อกลุ่มเป้ำหมำย 1.1 เยาวชนมีความเข้าใจและรู้เท่าทันการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดการเรียนรู้ และสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 1.5.1 ไดศึกษาระบบสายอากาศ รับสญ ญาณโทรทศ น์ภาคพน้ ดินระบบดิจิตอล 1.5.2 ไดส ายอากาศที่สามารถใช้งานไดต ามวต ถุประสงค์ที่มีโครงสร้างไม่ซ ซ้อน สามารถ นา˚ ไปใชไดง้ ่าย และตดิ ตง้ั ไดเ้ อง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. การศึกษาครั้งนี้ จะทําให้ทราบถึงผลกระทบที่มีต่อ อัตราผลตอบแทนของหุ้นสามัญในช่วงที่ มีการประกาศก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ซึ่งการศึกษานี้จะก่อให้เกิดประโยชน์กับนักลงทุน ใน การตัดสินใจลงทุน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงยังเป็นข้อมูลสําหรับนักลงทุนเพื่อช่วย ประกอบการตัดสินใจลงทุนในบริษัทกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างอีกด้วย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 1.7.1 ได้ทราบถึงปัญหาของการทําสัญญาจ้างที่มีกําหนดระยะเวลา 1.7.2 ได้ทราบถึงปัญหาเมื่อลูกจ้างตามสัญญาจ้างที่ไม่มีกําหนดระยะเวลาเมื่อถูกเลิก จ้างอย่างไม่เป็นระบบ 1.7.3 ได้ทราบถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อคุ้มครองลูกจ้างตามสัญญาจ้างที่ไม่มีกําหนดระยะเวลา เมื่อถูกเลิกจ้างอย่างไม่เป็นระบบ1.8 ทบทวนวรรณกรรม ประเด็นที่ได้ทําการศึกษามีบทความ สารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ วิทยานิพนธ์ เรื่อง “สัญญาจ้างแรงงานที่มีกําหนดระยะเวลาแน่นอน” โดย พัชรินทร์ บรรเทา18 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาในเรื่องความแตกต่างในผลของสัญญาจ้างที่มีกําหนดระยะเวลา และสัญญาจ้างที่ไม่มีกําหนดระยะเวลา ซึ่งผลที่แตกต่างกัน คือ สิทธิของลูกจ้างในการได้รับการบอก กล่าวล่วงหน้าก่อนเลิกจ้าง สิทธิในการได้รับค่าสินจ้างทดแทนจากการบอกกล่าวล่วงหน้าแล้วแต่กรณี และได้กล่าวถึงปัญหาของการทําสัญญาจ้างที่มีกําหนดระยะเวลาแน่นอนเอาไว้ คือ การที่ลูกจ้างที่มี สัญญาจ้างกําหนดระยะเวลาแน่นอนและถูกต่อสัญญาจ้างออกไปเรื่อย ๆ ทําให้ไม่ได้รับสิทธิการบอก กล่าวล่วงหน้าและไม่ได้รับความคุ้มครองในเรื่องของการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม แต่ เป็นเพียงการ กล่าวถึงปัญหาของการบอกกล่าวล่วงหน้าในการเลิกจ้างและความคุ้มครองในเรื่องของการเลิกจ้างที่ ไม่เป็นธรรมไว้ แต่ในสารนิพนธ์ฉบับนี้จะกล่าวถึงปัญหาของการบอกกล่าวล่วงหน้าของการเลิกจ้างใน เรื่องปัญหาของระยะเวลาการบอกกล่าวที่กําหนดไว้เพียงระยะเวลาเดียวและไม่ สอดคล้องกับ ระยะเวลาที่ลูกจ้างทํางานมาเป็นระยะเวลานาน รวมถึงการกําหนดเหตุผลอันสมควรเมื่อเลิกจ้างเพื่อ เป็นการคุ้มครองลูกจ้างอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้สารนิพนธ์ฉบับนี้จะกล่าวถึงกรณีของการที่ควร กําหนดให้สัญญาจ้างแรงงานควรทําเป็นสัญญาที่ไม่มีกําหนดระยะเวลาเป็นหลักเพื่อคุ้มครองลูกจ้าง จากปัญหาของการทําสัญญาจ้างแรงงานที่มีกําหนดระยะเวลาตามที่กล่าวมาอีกด้วย วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การเลิกจ้าง : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายแรงงานไทยและกฎหมาย แรงงานลาว” โดย บุญถึง สีทอนแก้วจําปา19 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาในเรื่องของการเลิกจ้าง ลูกจ้างตามกฎหมายแรงงานโดยได้กล่าวถึงปัญหาการเลิกจ้างตามกฎหมายแรงงานของไทยอันมี สาเหตุและแนวทางการศึกษาที่ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ มีการศึกษาเกี่ยวกับเหตุของการเลิกจ้างลูกจ้าง อย่างไม่เป็นธรรมและการเลิกจ้างลูกจ้างที่ชอบด้วยกฎหมาย โดยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาวิธีการ แก้ไขปัญหาพิจารณาเปรียบเทียบกฎหมายแรงงานของประเทศไทยกับกฎหมายแรงงานของประเทศ ลาว อันเป็นการเปรียบเทียบกับประเทศที่มีสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ใกล้เคียงกับประเทศไทย พบว่ากฎหมายแรงงานของประเทศไทยควรปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 โดยกฎหมายแรงงานประเทศลาวได้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 1. จังหวัดขอนแก่นได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีด้านผลิตภัณฑ์สิ่งทอชุมชน และ มี ภาพลักษณ์เป็นที่ยอมรับในเวทีสากล 2. ชุมชน มีความรู้ความสามารถในยกระดับการผลิตและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าในการ ตอบสนองความต้องการของตลาดและผู้บริโภคในทั้งและต่างประเทศ 3. พัฒนาศักยภาพให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญ ด้วยการยกระดับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่ม สร้างรายได้ และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของเกษตรกรผู้ทอผ้าต่อไป
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 1. แนวทางการสร้างความร่วมมือด้านการลงทุนระหว่างไทยกับประเทศในอาเซียน รวมถึงในอุตสาหกรรม ฮาลาล และการเงินอิสลาม 2. แนวทางที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย /กฎระเบียบ /ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียน และรวมถึงแนวทางการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย 3. องค์ความรู้ทางด้านนโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม การบริหารจัดการ รวมถึงพฤติกรรมทาง สังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน 4. องค์ความรู้ทางด้านการศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ของประเทศในอาเซียน ความร่วมมือด้านการศึกษา ระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วม ประชาคมอาเซียน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 6.1 เพ่ือทราบถึงความเปนมา แนวความคิด ทฤษฎีและหลกเกณฑเก่ียวกับสัญญาซือขายสินคาระหวาง ประเทศ 6.2 เพื่อทราบถึงกฎหมายเกี่ยวกับการสงมอบในสัญญาซือขายระหวางประเทศตาม CISG และ INCOTERMS 6.3 เพื่อทราบถึงกฎหมายเกี่ยวกับการสงมอบในสัญญาซื้อขายสินคาของไทยตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย 6.4 เพื่อทราบแนวทางในการแกไขปญหากฎหมายเกี่ยวกับการสงมอบในสัญญาซื้อขายระหวางประเทศ ของประเทศไทย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ. 1. ทราบรูปแบบตํางๆ ชองการจัดตั้งองค์การเพื่อการอํานวยความสะดวกทางการค๎าและการขนสํง ของนานาประเทศ และสามารถวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรคของไทยในการจัดตั้งองค์การและ รูปแบบองค์การที่เหมาะสมที่ได๎รับการยอมรับของภาคสํวนในไทยและตํางประเทศ 2. มีแผนแมํบทการจัดตั้งและการดําเนินงานขององค์การที่เหมาะสมเพื่อเป็นหนํวยงานบูรณาการ การอํานวยความสะดวกการขนสํงข๎ามแดนและผํานแดนให๎เป็นไปอยํางมีระบบและมี ประสิทธิภาพ