ขอบเขตการวิจัย ข้อกำหนดตัวอย่าง

ขอบเขตการวิจัย. ขอบเขตด้านเนื้อหา ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ขอบเขตพื้นที่
ขอบเขตการวิจัย. ขอบเขตเนื้อหา
ขอบเขตการวิจัย. ขอบเขตเนื้อหา 1. แนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยภาษากวย ได้แก่ กระบวนการ/ วิธีการสร้างการเรียนรูภาษาและวัฒนธรรมกวยสําหรับเด็กเล็ก, สื่อ/กิจกรรม ท่ีเหมาะสมสําหรับ กระบวนการสร้างการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมกวย และแนวทางการสร้างความเข้าใจและทัศนคติที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการสร้างกระบวนการเรียนรู้ภาษาและวฒนธรรมท้องถ่ินให้แก่ผู้ปกครองและชุมชน
ขอบเขตการวิจัย. ขอบเขตเนือหา 1. แนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยภาษากวย ได้แก่ กระบวนการ/ วิธีการสร้างการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมกวยสําหรับเด็กเล็ก, ส่ือ/กิจกรรม ที่เหมาะสม สําหรับกระบวนการสร้างการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมกวย และแนวทางการสร้างความเข้าใจและ ทัศนคติที่ถูกต้องเก่ียวกับการสร้างกระบวนการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่นให้แก่ผู้ปกครองและ ชุมชน 2. ปัจจัย / เง่ือนไขในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมกวยในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ได้แก่ เงื่อนไข/ปัจจัยภายใน เช่น ความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก ความรู้ความเข้าใจและ ทัศนคติของชุมชนและผู้ปกครองเด็ก เป็นต้น เงื่อนไข/ปัจจัยภายนอก เช่น สภาพพ้ืนท่ี วิถีชีวิต วัฒนธรรม สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของชุมชน เป็นต้น
ขอบเขตการวิจัย. ประชากรที่ใช้ในการศึกษานี้ ได้แก่ นักธุรกิจเครือข่ายในองค์การนักธุรกิจหนึ่งในเขต กรุงเทพ 1,000 คน งานวิจัยนี้ทําขึ้นเป็น 2 การวิเคราะห์ แต่ละการวิเคราะห์มีตัวแปรดังนี้ 1. การวิเคราะห์ที่ 1 ตัวแปรต้น คือ ความสามารถในการเผชิญและฝุาฟันอุปสรรค ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจในงาน ตัวแปรสื่อ คือ พันธสัญญากับเปูาหมาย 2. การวิเคราะห์ที่ 2 ตัวแปรต้น คือ ความฉลาดทางอารมณ์ ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจในงาน ตัวแปรสื่อ คือ พันธสัญญากับเปูาหมาย
ขอบเขตการวิจัย. 16 นิยามศัพท์ 17 ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ 17
ขอบเขตการวิจัย. 6.1 ขอบเขตด้านพื้นที่ พื้นที่ของโครงการนวัตกรรมการจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อพัฒนาจังหวัดลําปางใน ครั้งนี้ กระจายไปตามตําบล อําเภอต่างๆในจังหวัดลําปาง เนื่องจาก เป็นการยึดสถานที่ประกอบการ ของกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ 6.2 ขอบเขตด้านกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายของโครงการนวัตกรรมการจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อพัฒนาจังหวัด ลําปาง จําแนกได้ดังนี้ 1) ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ได้แก่ นายกสมาคมข้าวแต๋น ผู้ประกอบการข้าวแต๋น กลุ่มไข่เค็มพอกดินภูเขาไฟลุงอ้วน กลุ่มตีมีดหมู่บ้านขามแดง กลุ่มน้ําปู กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแมคคาเดเมีย กลุ่มวิสาหกิจเพาะเห็ดโรงเรือนบ้านเวียงหงส์ ล้านนา โรงงานศาลาทองเซรามิก กลุ่มผ้าทอบ้านไหล่หิน 2) หน่วยงานในพื้นที่ ได้แก่ ตัวแทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ โรงเรียน บางผลิตภัณฑ์มีตัวแทนจาก พัฒนาชุมชน กฟผ.แม่เมาะ นายอําเภอ แม่เมาะ เป็นต้น 3) ผู้นําชุมชน ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน
ขอบเขตการวิจัย. 1. ขอบเขตการศึกษา (ระบุขอบเขตในการศึกษาใ👉ช้ ัดเจน ว่าเน้นศึกษาประเด็นใดมีขอบเขต การศึกษาครอบคลุมเพียงใด) o ราคาปาล์มน้ํามัน จากตลาดท้องถิ่น ประกอบดวย จังหวัดกระบี่, จังหวัดชุมพร และ จังหวดสุราษฎร์ธานี o ราคานํามันปาล์มดิบ จากตลาดกรุงเทพฯ และตลาดมาเลเซีย - ข้อมูลท่ีใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลอนุกรมเวลา (time series) รายเดือนและเป็นแบบทุติยภูมิ (secondary data) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 ถึงเดือนธันวาคม 2556 โดยแหล่งท่ีมาของ ข้อมูลราคาของตลาดต่างๆ ไดจาก สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกรมการค้าภายใน - เครื่องมือท่ีใช้ในการจําลองพฤติกรรมการเคล่ือนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน คือ ระบบพลวัต (System Dynamics) จากการทฤษฎีและขอบเขตของการศึกษาสามารถสรุปเป็นกรอบแนวคิดของโครงการวิจัยได้ดังนี้ ⮚ ราคาปาล์มน้ํามันในตลาดท้องถ่ิน o จังหวัดกระบี่ o จงหวดชุมพร o จังหวัดสุราษฎร์ธานี ⮚ ราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดในประเทศ และนอกประเทศ o ตลาดกรุงเทพฯ o ตลาดมาเลเซีย ราคาปาล์มนํามัน ที่เกษตรกรขายได้ ⮚ ปัจจัยระยะส (เหตการณ์ุ ที่ทําใหราค้ า เกิดการผนผวนในช่วงเวลาท่ีผ่านมา) เช่น เหตุการณ์นาํ ท่วมที่ผ่านมา
ขอบเขตการวิจัย. กลุ่มเป้าหมาย 3.1.1 กลุ่มเป้าหมายหลัก - ชาวบ้านในชุมชนนาโสก 4 หมู่บ้าน จำนวน 500 คน - เด็กและเยาวชนในชุมชนนาโสก 4 หมู่บ้าน จำนวน 200 คน - คณะครูโรงเรียนชุมชนนาโสก จำนวน 14 คน - คณะสงฆ์วัดโพธิ์ศรีแก้ว จำนวน 7 รูป - เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลนาโสก และผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลนาโสก จำนวน 7 คน
ขอบเขตการวิจัย. ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยทําการรวบรวมข้อมูลชั้นปฐมภูมิ (Primary Sources) จากพระไตรปิฎก อรรถกถา ปกรณ์วิเสส และรวบรวมข้อมูลชั้นทุติยภูมิ (Secondary Sources) จากหนังสือ ตํารา เอกสารทาง วิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ โดยมีขอบเขตการทําวิจัย ดังต่อไปนี้ ee พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนำนุกรมพุทธศำสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ , (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ъ&&๔), หน้า &๖๐.