ขอบเขตของการวิจัย. นารูปแบบการจด บริการการแพทย์ฉก เฉินที่มีความเป็นเอกลก ษณ์ในพืน ที่ ศกษาสถานการณ์การให้และการใช้บริการการแพทย์ฉก เฉินในพืน ที่ความมน คงชายแดนใต้ เป็น การศึกษาสถานการณ์การจัดระบบเพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพืนที่ที่มีความจ˚าเป็นต้องพัฒนา รูปแบบเฉพาะเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉก เฉินในพืน ที่ความมน คงชายแดนใต้ โดยการทบทวน วรรณกรรมและใช้ระเบียบวิธีการวิจัยทงั ้ เชิงปริมาณและคุณภาพ คัดเลือกพืนที่แบบเจาะจงในจังหวัด ชายแดนใต้ ได้ แก่ นราธิวาส ยะลา ปั ตตานี และ 4 อ˚าเภอในจังหวัดสงขลา ได้ แก่ อ˚าเภอจะนะ อ˚าเภอนาทวี อ˚าเภอเทพา และอ˚าเภอสะบ้าย้อย
ขอบเขตของการวิจัย. งานวิจัยนี้มุ่งศึกษามาตรการของรัฐเจ้าของท่าเรือในการแก้ไขปัญหาการท าประมงผิดกฎหมาย (IUU Fishing) ตามความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม (PSM Agreement) ตลอดจนหลักกฎหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการท า ประมงผิดกฎหมายของโลก และศึกษาเปรียบเทียบการด าเนินนโยบายและการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการประมงของ ประเทศไทย สาระส าคัญของความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (PSM Agreement) ประกอบไปด้วย
ขอบเขตของการวิจัย. การวิจัย “การสํารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วน ตําบลสงยาง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร” คณะผู้วิจัยได้กําหนดขอบเขตของการวิจัย ไว้ดังนี้
ขอบเขตของการวิจัย. การศึกษาแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอ บานคา จังหวัดราชบุรี ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตในการดําเนินงาน ดังนี้
ขอบเขตของการวิจัย. ขอบเขตของประชากร
ขอบเขตของการวิจัย. ศึกษาประวัติความเปนมาของการซื้อขายสินคาระหวางประเทศในอดีตจนถึงปจจุบัน รวมทั้งหลักเกณฑ เกี่ยวกับการซือขายสินคาระหวางประเทศตาม CISG, INCOTERMS และประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ของไทย โดยเนนในเรื่องการสงมอบเพื่อเปรียบเทียบใหเห็นถึงความไมสอดคลองของประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยของไทยกับCISG และ INCOTERMS อันเปนแนวปฏิบัติทางการคาระหวางประเทศซึ่งเปน มาตรฐานสากล
ขอบเขตของการวิจัย. การวิจัยนี้ได้ทําการศึกษาในระหว่างดําเนินการก่อสร้างซึ่งอาจมีความจําเป็นต้อง เปลี่ยนแปลงแก้ไขรูปแบบและรายการก่อสร้างตามสัญญาเพื่อความเหมาะสมสอดคล้องกับการใช้งาน และสภาพการก่อสร้างในระหว่างการปฏิบัติงานจริง การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง แก้ไขสัญญาระหว่างโครงการก่อสร้างในครั้งนี้จะใช้กรณีศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย มหาสารคามที่ดําเนินการก่อสร้างระหว่างปีงบประมาณ 2550-2560 (1 ตุลาคม 2549 – 30 กันยายน 2559)
ขอบเขตของการวิจัย. 1. ศึกษาโอกาสและอุปสรรคของไทยในการจัดตั้งองค์การและรูปแบบองค์การที่เหมาะสมที่มีความ เกี่ยวข๎องกับการอํานวยความสะดวกด๎านการค๎าและการขนสํงในการดําเนินการตามความตกลง ด๎านการค๎าและการขนสํงของไทยและอาเซียน อาทิ ความตกลงการค๎าสินค๎าในอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement – ATIGA) กรอบความตกลงอาเซียนวําด๎วยการขนสํงตํอเนื่อง หลายรูปแบบ (AFAMT) กรอบความตกลงอาเซียนวําด๎วยการอํานวยความสะดวกสินค๎าผํานแดน (AFAFGIT) กรอบความตกลงอาเซียนวําด๎วยการอํานวยความสะดวกการขนสํงข๎ามแดน (AFAFIST) ความตกลงการยอมรับหนังสือตรวจรับรองยานพาหนะที่ใช๎บรรทุกสินค๎าในอาเซียน ความตกลงจัดตั้งการให๎บริการเบ็ดเสร็จในที่เดียวของอาเซียน (ASEAN Single Window) ความ ตกลงการอํานวยความสะดวกในการขนสํงข๎ามแดนในกลุํมอนุภูมิภาคลุํมแมํน้ําโขง (GMS-CBTA) รวมทั้งความตกลงที่อาเซียนทํากับประเทศคูํเจรจา ได๎แกํ จีน และอินเดีย เป็นต๎น และความตก ลงด๎านการค๎าและโลจิสติกส์ในระดับพหุภาคีที่เกี่ยวข๎องภายใต๎องค์การการค๎าโลก องค์การ ศุลกากรโลก และสหประชาชาติ เพื่อระบุประเด็นที่เกี่ยวข๎องการอํานวยความสะดวกทางการค๎า และการขนสํง และหนํวยงานภาครัฐและเอกชนที่มีสํวนเกี่ยวข๎องของไทยและประเทศเพื่อนบ๎าน และอาเซียน
2. ศึกษารูปแบบตํางๆ ชองการจัดตั้งองค์การเพื่อการอํานวยความสะดวกทางการค๎าและการขนสํง ของนานาประเทศ โอกาส ปัญหาอุปสรรค และความพร๎อมของหนํวยงานภาครัฐและเอกชนทั้งใน สํวนกลางและสํวนภูมิภาค โดยเฉพาะจังหวัดชายแดนที่สําคัญในภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต๎ ซึ่งเป็นจุดผํานแดนที่สําคัญของ ไทยสูํประเทศเพื่อนบ๎าน เพื่อประเมินข๎อเท็จจริง ข๎อคิดเห็น และความพร๎อมในการปรับ กฎระเบียบและองค์การให๎เอื้อตํอการเคลื่อนย๎ายสินค๎าข๎ามแดนและผํานแดน ตลอดจน ประเมินผลดีและผลเสียจากการปรับกฎระเบียบและองค์การข๎างต๎น
3. จัดทําแผนแมํบทการจัดตั้งและดําเนินงานขององค์การที่เหมาะสมเพื่อหนํวยงานบูรณาการการ อํานวยความสะดวกการขนสํงสินค๎าข๎ามแดนและผํานแดนให๎เป็นไปอยํางมีระบบและมี ประสิทธิภาพ
ขอบเขตของการวิจัย. คณะผู้วิจัยได้กําหนดพื้นที่เปูาหมายในการศึกษา ประกอบไปด้วย เทศบาลนครซ่างไห่ (Shanghai) เขตจิ้งอัน (Jing’an) และมณฑลซื่อชวน (Sichuan) เมืองเฉิงตู (Chengdu) ซึ่งล้วนแต่เป๐นเมืองที่มีความ น่าสนใจในการศึกษาประเด็นระบบการจัดสวัสดิการสําหรับผู้สูงอายุ ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุ และกิจกรรม ทางสังคมของผู้สูงอายุในประเทศจีนทั้งสิ้น (ภาพประกอบ 4) 1) เทศบาลนครซ่างไห่ (Shanghai) เขตจิ้งอัน (Jing’an) จากข้อมูลสถิติปี ค.ศ.2009 เทศบาลนครซ่างไห่หรือเซี่ยงไฮ้ เป๐นเขตการปกครองที่มีอัตราส่วนพึ่งพิง ในวัยชราสูงที่สุด (ภาพประกอบ 5) เฉพาะในเขตจิ้งอันมีผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ทั้งหมดกว่า 82,700 คน จากประชากร 3 แสนกว่าคน ซึ่งถือว่าเป๐นพื้นที่ที่มีผู้สูงอายุมากที่สุดในเทศบาลนครซ่างไห่ ขณะเดียวกัน เขตจิ้งอันยังเป๐นเขตที่มีผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 100 ปี มากเป๐นอันดับหนึ่งอีกด้วย ในปี ค.ศ.2010 รัฐบาล เขตจิ้งอันได้ลงนามในสัญญาข้อตกลงกับรัฐบาลเทศบาลนครซ่างไห่ให้พัฒนาเขตจิ้งอันเป๐นเขตตัวอย่างในการ ดูแลผู้สูงอายุ รวมทั้งสร้าง “หมู่บ้านแสนสุข” สําหรับผู้สูงอายุขึ้น โดยจะทดลองนําร่องที่หมู่บ้านสานเปุยเพื่อ สร้างฐานข้อมูลด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ เพื่อเป๐นการติดตามและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับสถานีอนามัยในพื้นที่เพื่อเชื่อมต่อข้อมูลทั้ง 2 ส่วน ใน “หมู่บ้านแสนสุข” จะดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ เพียงลําพังในเรื่องของความปลอดภัย การส่งช่างตรวจสอบระบบน้ํา ไฟ แก๊ส เป๐นระยะ เพื่อปูองกันอันตราย ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในชุมชนหมู่บ้าน ชุมชนยังให้บริการด้านอาหาร สําหรับผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพน้อย ซึ่ง ทางเขตได้ขอการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชน อาทิ สนับสนุนอาหารกลางวันแก่ผู้สูงอายุที่มีรายรับ น้อย ซึ่ง ณ ป๎จจุบัน ในเขตมีผู้สูงอายุที่มีรายรับน้อยประมาณ 36 คน นอกจากนี้ยังมีการอบรมการหนีไฟ มี การจัดกิจกรรมความบันเทิงต่าง ๆ ให้แก่ผู้สูงอายุ กล่าวโดยสรุป “หมู่บ้านแสนสุข” มีบริการดูแลผู้สูงอายุใน ด้านอาหาร การอาบน้ํา ทําความสะอาดบ้าน เหตุการณ์ฉุกเฉิน การดูแลรักษาโรค การเดินทางซึ่งกล่าวได้ว่า ครอบคลุมในทุก ๆด้านของการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ ดังนั้นในพื้นที่นี้จึงถูกยกให้เป๐นต้นแบบที่ติดอันดับการดูแล ผู้สูงอายุในประเทศจีนมานานติดต่อกันหลายปี Aged 0-14 Aged 15-64 Aged 65 and Over Old Dependency Ratio (Unit: 10,000) 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 Ratio (Unit: 100) 18 14 12 10 8 2 0 (http://wenku.baidu.com/view/4510c57b168884868762d609.html สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2554) Beijing Tianjin Hebei Shanxi
ขอบเขตของการวิจัย