วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565
1. ศึกษาหลกสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2562 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2. ศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ KWDL
3. ออกแบบและสร้างนวัตกรรมที่ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
4. นำแผนการจัดการเรียนรู้และสื่อการจัดการเรียนการสอนไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความ ถูกต้อง และนำกลับมาแก้ไขให้ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป
1. นำใบงานกิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
2. บันทึกผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรียนรู้ 3. นำข้อมูลที่ได้พัฒนาผลการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ ขั้นตอนที่ ๖
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 1. วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรายบุคคลในการเรียนเรื่อง การดูแลรักษาสุขภาพทางด้านร่างกาย เบื้องต้น รายวิชาสุขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565 พัฒนาหลักสูตร ออกแบบหน่วยการจัดการเรียนรู้ ศึกษาการจัดทำชุดการสอนตามหลักวิชาการ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565 นำชุดการสอนที่ได้จัดทำ นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ใน รายวิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 2.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
2.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.3 ศึกษาเอกสารที่หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลลาดยาว ฉบับปรับปรุงปีการศึกษา 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560), ศึกษา หลักสูตรแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์
2.4 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโมเดลการคิดขั้นสูงเชิงระบบ 5 ขั้น (GPAS 5 Steps)
2.5 วิเคราะห์เนื้อหา และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่องประเทศเพื่อน บ้านของไทย โดยใช้โมเดลการคิดขั้นสูงเชิงระบบ 5 ขั้น (GPAS 5 Steps) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
2.6 กำหนดวิธีการวัดผลประเมินผลทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ (P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) และวิธีการวัดผลประเมินผลทักษะการคิดวิเคราะห์
2.7 พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่องประเทศเพื่อนบ้านของไทย โดยใช้ โมเดลการคิดขั้นสูงเชิงระบบ 5 ขั้น (GPAS 5 Steps) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
2.8 นำกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่องประเทศเพื่อนบ้านของไทย โดยใช้โมเดล การคิดขั้นสูงเชิงระบบ 5 ขั้น (GPAS 5 Steps) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้ครูกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยตรวจสอบด้านการออกแบบกิจกรรม ด้านการใช้ภาษา และครู กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วยตรวจสอบด้านการวัดและประเมินผล หลังจากนั้นตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะ
2.9 ดำเนินการศึกษาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล วิเคราะห์ผู้เรียน ทดสอบก่อนเรียนและจัดกลุ่ม ผู้เรียน เป็น 3 กลุ่ม คือ เก่ง ปานกลาง อ่อน จากนั้นให้ผู้เรียนทุกคนเรียนรู้ตามกิจกรรมการเรียนรู้ สอบถาม ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ด้านเนื้อหา สื่อประกอบ ขนาดตัวอักษร การใช้ภาษา หลังจากนั้น นำแผน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ปรับแล้วมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับผู้เรียน
2.10 ดำเนินการบันทึกข้อมูลระหว่างและหลังการจัดการเรียนรู้ ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ปรับแนวคิด แนวปฏิบัติ และพฤติกรรมการสอน
2.11 ดำเนินการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้ จากผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับผู้เรียนโดย รายงานการพัฒนาเป็นนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 1) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 เพื่อออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตาม มาตรฐานคุณลักษณะและตัวบ่งชี้
2) ศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล ๑
3) ใช้กระบวนการ PLC เข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหา กิจกรรมเพื่อพัฒนาการกล้ามเนื้อมัด ใหญ่ของเด็ก
4) ออกแบบกิจกรรมในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การเต้นประกอบเพลง การเคลื่อนไหว ตามจังหวะ การออกกลังกายโดยใช้โยคะ เป็นต้น
5) จัดทำหาสื่ออุปกรณ์และเพลง ประกอบการเคลื่อนไหว ตามที่ได้ออกแบบไว้
6) นำไปทดลองใช้และนำผลที่ได้มาปรับปรุง พัฒนากิจกรรม ให้มีความน่าสนใจ สนุกสนาน และเหมาะสมกับวัยของเด็ก
7) นำผลสะท้อนในการใช้กิจกรรม บันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อประเมินการเรียนรู้ นำข้อมูลที่ได้พัฒนาผลการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 1 ตุลำคม 2564 ถึง 31 มีนำคม 2565
1. ศึกษาหล สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2562 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ของสํานักงาน Learning) คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2. ศึกษาการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน( Inquiry-Based
3. ออกแบบและสร้างนวัตกรรมที่ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
4. นําแผนการจัดการเรียนรู้และสื่อการจัดการเรียนการสอนไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความ ถูกต้อง และนํากลับมาแก้ไขให้ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/2 โดยใช้การจัดการเรียนร เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด และชุนชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) วิธีการดำเนินการวงรอบที่ 1
1. เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ตุลาคม 2564 - กันยายน 2565
2. ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและเลือกบทเรียนที่ต้องการพัฒนา - จัดทำหน่วยการเรียนรู้ - จัดทำกำหนดการเรียนรู้ ตุลาคม – พฤศจิกายน 2564
3. ออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด พฤศจิกายน 2564
4. ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ พฤศจิกายน 2564
5. จัดการเรียนรู้ตามแผน/สังเกตการสอน 8 ชั่วโมง ธันวาคม 2564 - มกราคม 2565
6. สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ธันวาคม 2564 - มกราคม 2565
7. สรุปและจัดทำรายงานผล กุมภาพันธ์ 2565
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล. 1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565
1. ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2562 สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ ของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2. ศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อและกระบวนการเรียนแบบร่วมมือ
3. ออกแบบและสร้างนวัตกรรมที่ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
4. นำแผนการจัดการเรียนรู้และสื่อการจัดการเรียนการสอนไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความ ถูกต้อง และนำกลับมาแก้ไขให้ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป